ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมวดหมู่:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 23: | บรรทัดที่ 23: | ||
กันยายน 2549 | กันยายน 2549 | ||
---- | |||
{|cellpadding="2" cellspacing="5" style="vertical-align:top;background-color:#ffffff;color:#000;width:100%" | |||
! style="background-color:#fffff; font-size: 100%; border: 1px solid #afa3bf; text-align: left; padding-left: 7px; -moz-border-radius:7px" |[[หน้าหลัก]] | |||
|} |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:18, 13 กรกฎาคม 2553
“ศัพท์บัญญัติเกี่ยวกับการจัดการและ แก้ไขความขัดแย้ง”
สำนักงานสันติวิธีและธรรมาภิบาล เป็นหน่วยงานหนึ่งภายใต้สถาบัน พระปกเกล้าที่มุ่งพัฒนาประชาธิปไตยเพื่อการสันติสุขสถาพร โดยเฉพาะการ ส่งเสริมการใช้กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติโดย วิธีการต่างๆ อาทิ การจัดหลักสูตรการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี หลักสูตร นักเจรจาไกล่เกลี่ย และหลักสูตรวิทยากรการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี การศึกษาวิจัยเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ตลอดจนการรวบรวม องค์ความรู้ด้านการแก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ อย่างเป็นระบบเพื่อเผยแพร่และ เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน
การจัดทำหนังสือ “ศัพท์บัญญัติเกี่ยวกับการจัดการและแก้ไขความขัดแย้ง” เกิดขึ้นจากคณะกรรมการฯ เล็งเห็นความสำคัญของการประมวลและอธิบายคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ที่ใช้ เป็นประจำ เกี่ยวกับการจัดการและแก้ไขความขัดแย้ง นำมารวมมาจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม
เนื่องจากพบว่าคณาจารย์และผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายยังมีความเข้าใจ หรือแปลคำ ศัพท์ที่ไม่ตรงกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะผู้ศึกษาฯ จึงได้รวบรวม ศึกษา แปล เรียบเรียง และอธิบายคำศัพท์เกี่ยวกับการจัดการและแก้ไขความขัดแย้งขึ้น เพื่อ ใช้เป็นประโยชน์เบื้องต้นสำหรับผู้สนใจทั่วไปและหวังว่าจะมีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมอีกในอนาคต
คณะผู้ศึกษาและจัดทำหนังสือ “ศัพท์บัญญัติเกี่ยวกับการจัดการและ แก้ไขความขัดแย้ง” ได้จัดทำรูปเล่มหนังสือให้สะดวก ต่อการค้นหาคำศัพท์และ ความหมายโดยแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ส่วนแรกจัดเรียงตามตัวอักษร ภาษาอังกฤษ A-Z พร้อมคำอธิบาย และในส่วนท้ายจัดเรียงตามตัวอักษร ภาษาไทย ก-ฮ ซึ่ง คณะผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ และสามารถช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ใช้เกิดความรู้ความเข้าใจมากขึ้น
คณะผู้ศึกษา ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สละเวลาช่วยอธิบายคำศัพท์ ในหนังสือเล่มนี้ ขอขอบคุณ นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม (ประธานคณะกรรมการ ศูนย์สันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า) ศ.นพ. วันชัย วัฒนศัพท์ (ผู้อำนวยการศูนย์สันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า) อาจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ อาจารย์โคทม อารียา อาจารย์มารค ตามไท และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ จากสถาบันการอุดมศึกษาที่ให้ความคิดเห็น ขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่ทุกคนที่ ช่วยดำเนินการให้หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม หากบกพร่องประการใด คณะผู้ศึกษาขอน้อมรับไว้เพื่อการปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป นอ.นภดล สุวรรณพงษ์ ประธานคณะทำงาน
หนังสือ “สารานุกรมการเมืองไทย” เล่มนี้ นับเป็นฉบับที่ ฉบับที่ 3 ต่อจากฉบับที่ 1 และ 2 ซึ่งสถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า ทำหน้าที่ เป็นบรรณาธิการ ร่วมกับคณาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวกับการเมืองไทย อาทิเช่น วาทะทางการเมือง สมญานามที่ใช้เรียกนักการเมือง เหตุการณ์ทางการเมือง ตลอดจนบุคคลสำคัญทางการเมือง สถาบันทางการเมือง เป็นต้น เพื่อเผยแพร่แก่สาธารณชน หนังสือนี้ได้รับการพิมพ์ซ้ำหลายหน
สถาบันพระปกเกล้าเห็นว่าควรจะเขียนศัพท์เพิ่มเติม จึงได้ตั้งคณะผู้ทำงาน หาศัพท์และกำหนดตัวผู้เขียนจนได้คำเพิ่มเติมมาอีกพอสมควร ในการรวบรวมคำศัพท์ในฉบับนี้ ได้เพิ่มเติมคำศัพท์ทางการเมืองร่วมสมัยอีกประมาณ 90 คำ ซึ่งจัดทำโดยคณะทำงานจัดทำสารานุกรมการเมืองไทย สถาบันพระปกเกล้า
สถาบันพระปกเกล้า หวังว่า สาระจากหนังสือเล่มนี้ จะช่วยส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้เรื่องการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทยแก่สาธารณชนและผู้สนใจทั่วไปได้เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการเรียนรู้และศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยผ่านหนังสือเล่มนี้ น่าจะช่วยให้เกิดการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของคนไทยเพื่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ยั่งยืนสถาพรต่อไป
กันยายน 2549
หน้าหลัก |
---|
หมวดหมู่ย่อย
หมวดหมู่นี้มี 3 หมวดหมู่ย่อยต่อไปนี้ จากทั้งหมด 3 หมวดหมู่
หน้าในหมวดหมู่ "สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ"
197 หน้าต่อไปนี้อยู่ในหมวดหมู่นี้ จากทั้งหมด 197 หน้า
(หน้าก่อนหน้า) (หน้าถัดไป)3
C
M
N
W
ก
- กระบวนการถวายสัตย์ปฏิญาณ
- กระบวนการลูกขุนพลเมือง (Citizens’ juries)
- กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)
- กลุ่มประชาชนคนไทย
- กลุ่มอาชีวะช่วยชาติ
- กลุ่มเกียมอุดมไม่ก้มหัวให้เผด็จการ
- กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
- กองทุนราษฎรประสงค์
- การคอลเอาท์กับการเมืองไทย
- การตีหม้อ เคาะภาชนะ
- การถอนทหารจากอัฟกานิสถาน
- การทูตวัคซีน
- การนำเกมมาใช้ในการสอนประชาธิปไตย
- การปกครองท้องถิ่นแบบสองชั้น (Two-tier system)
- การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- การปฏิบัติการข่าวสารสารสนเทศ (IO)
- การยืนอ่านหนังสือ
- การลงจอดของอพอลโล 11
- การลี้ภัยทางการเมือง
- การสาดสี
- การสานเสวนาพิจารณาทางเลือก (ChoiceWork Dialogue)
- การสื่อสารเพื่อความเข้าใจ : เพื่อนคู่คิด
- การหาได้รายของท้องถิ่นในประเทศไทย
- การอดอาหาร
- การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2565
- การออกเสียงประชามติ (Referendum)
- การเงินของพรรคการเมือง
- การเมืองสิ่งแวดล้อม
- การเมืองไทยบนโลกออนไลน์
- การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565
- การเลือกตั้งในระบอบอำนาจนิยม
- การเสวนาหาฉันทามติ (Consensus Conference)
- การแข่งขันด้านอวกาศ
- การโกนผมประท้วง
- การ์ดภาคีเพื่อประชาชน
- กิจกรรม ยืน หยุด ขัง
- กิจกรรม “เสกคาถาปกป้องประชาธิปไตย”
- ก่อตั้งกระทรวงสาธารณสุข
- ก้าวไก่
ช
น
ป
- ประชา-อธิปัตย์นิยม
- ประชาธิปไตยทางตรง (direct democracy)
- ประชาธิปไตยผ่านตัวแทน (representative democracy)
- ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (deliberative democracy)
- ประชาธิปไตยแบบพหุนิยม (pluralist democracy)
- ประชาธิปไตยโดยชนชั้นนำ (elitist democracy)
- ประชาพิจารณ์ (Public Hearings)
- ประเทศกูมี
- ปิดสวิตซ์ ส.ว. ข้อเรียกร้องทางการเมือง
- ป่ารอยต่อ
- ป้ายชัชชาติ
ผ
พ
- พรรคก้าวล่วง
- พรรคชาติพัฒนากล้า (Chartpattanakla Party)
- พรรคท้องที่ไทย
- พรรคประชาธิปไตยใหม่
- พรรคพลังบูรพา
- พรรคพลังสังคมใหม่
- พรรครวมไทยสร้างชาติ
- พรรคเป็นธรรม
- พรรคเพื่อไทรวมพลัง
- พรรคเศรษฐกิจไทย
- พรรคเส้นด้าย
- พรรคแนวกลุ่มสหพันธ์ธุรกิจ (Cartel Party)
- พรรคใหม่
- พรรคไทยสร้างสรรค์
- พรรคไทยสร้างไทย
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : ญี่ปุ่น
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : นอร์เวย์
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : ลักเซมเบิร์ก
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : สวีเดน
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : สเปน
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : อังกฤษ
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : เดนมาร์ก
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : เนเธอร์แลนด์
- พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย : เบลเยี่ยม
- พระยาบริรักษ์เวชชการ
- พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
- พลเมืองโลก (Global Citizen)
- พันธมิตรชานม (Milk Tea Alliance)
- พันธมิตรชานม - Milk Tea Alliance
- พูดแล้วทำ