ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำสั่งและประกาศของคณะ รสช. กับการเมืองไทย"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' กิตติพงศ์ กมลธรรมวงศ์ ---- '''ผู้ทรง...' |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
==คำสั่งและประกาศของคณะ รสช. กับการเมืองไทย== | ==คำสั่งและประกาศของคณะ รสช. กับการเมืองไทย== | ||
คณะ รสช. หรือในชื่อเต็ม คือ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ | [[คณะ รสช.]] หรือในชื่อเต็ม คือ [[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] เป็นคณะ[[รัฐประหาร]]ภายใต้การนำของพลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้นได้ทำการรัฐประหาร[[ยึดอำนาจการปกครอง]]ประเทศจาก[[รัฐบาล]]ที่มี[[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ]]เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] คนที่ 17 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ด้วยข้อกล่าวหาที่รุนแรงว่าเป็นรัฐบาลบุฟเฟ่คาร์บิเน็ต์ซึ่งมีการ[[ทุจริตคอร์รัปชั่น]]ในรัฐบาลอย่างมหาศาล โดยเป็นการรัฐประหารครั้งที่ 11 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย หลังจากที่ประเทศไทยได้ว่างเว้นการรัฐประหารมานานถึงสิบห้าปีนับจากการรัฐประหารของ[[คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน]]ที่นำโดย[[สงัด ชลออยู่|พลเรือเอก สงัด ชลออยู่]] เมื่อวันที่ [[6 ตุลาคม พ.ศ.2519]] | ||
การรัฐประหารครั้งนี้ได้ทำให้บรรยากาศ[[ประชาธิปไตยเต็มใบ]]ซึ่งเพิ่งเริ่มต้นได้ไม่นานสิ้นสุดลง ด้วยการพ้นจากตำแหน่งของ[[ชาติชาย ชุณหวัณ|พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ]] ที่เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] คนแรกในรอบสิบกว่าปีนับจากนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนล่าสุดคือ[[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] [[หัวหน้าพรรค]][[ประชาธิปปัตย์]] ที่ถูกรัฐประหารไปภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 โดยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหน้า[[ชาติไทย|พรรคชาติไทย]] ส.ส.นครราชสีมาได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 สืบต่อจากอดีตนายกรัฐมนตรี[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ที่ครองอำนาจมายาวนานถึงแปดปี อันเป็นการปิดฉากของ[[ประชาธิปไตยครึ่งใบ]]ของไทยลง | |||
ในสมัยของพลเอกชาติชายแม้จะได้บริหารประเทศ ซึ่งได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายเรื่องที่สำคัญ เช่น | ในสมัยของพลเอกชาติชายแม้จะได้บริหารประเทศ ซึ่งได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายเรื่องที่สำคัญ เช่น [[นโยบายเปลี่ยนสนามรบให้เป็นสนามการค้า]]ในความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน การพัฒนาประเทศที่มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจากผลบุญที่รัฐบาลเปรมได้วางรากฐานไว้ให้กับเศรษฐกิจไทย การยกเลิกประกาศคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 42 หรือที่รู้จักกันดีว่า ปร. 42 ที่ลดทอน[[เสรีภาพ]]ของสื่อมวลชนไทย แต่การเป็น[[รัฐบาล]]ก็ไม่ได้ราบรื่นนักด้วยสภาพของการเป็น[[รัฐบาลผสม]]ที่ประกอบด้วยหลาย[[พรรคการเมือง]] นอกจากนี้ยังปรากฏข่าวเรื่องการทุจริตและ[[ความขัดแย้ง]]ระหว่างบุคคลในรัฐบาลและกลุ่มทหาร โดยในที่สุดพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณได้แก้ปัญหาทางการเมืองที่รุมเร้าด้วยการลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2533 และจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่กลับเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2533 รวมระยะเวลาการบริหารสมัยแรกประมาณ 2 ปีกว่า แต่ทว่าในสมัยที่สองของรัฐบาลชาติชายก็บริหารงานได้ไม่นานนักเพียงสองเดือนกว่าก็ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยการรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 | ||
การรัฐประหารครั้งนี้แม้ในตอนแรกจะไม่ปรากฏเสียงคัดค้านมากนักจากสังคม เพราะเชื่อเหตุผลการทำรัฐประหารในเรื่องการทุจริต คอรัปชั่นของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่หลังจากนั้นเพียงหนึ่งปีความจริงหลายอย่างก็ปรากฎในความพยายามของการสืบทอดอำนาจของคณะรสช. | การรัฐประหารครั้งนี้แม้ในตอนแรกจะไม่ปรากฏเสียงคัดค้านมากนักจากสังคม เพราะเชื่อเหตุผลการทำรัฐประหารในเรื่องการทุจริต คอรัปชั่นของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่หลังจากนั้นเพียงหนึ่งปีความจริงหลายอย่างก็ปรากฎในความพยายามของการสืบทอดอำนาจของคณะรสช.ภายหลังจาก[[การเลือกตั้ง]]ทั่วไปวันที่ 22 มีนาคม 2535 เมื่อประเทศมี[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534]] โดยการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของ[[สุจินดา คราประยูร|พลเอกสุจินดา คราประยูร]] อดีตผู้บัญชาการทหารบกและเป็นหนึ่งในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ด้วยเหตุผลคำพูดที่ว่า “[[เสียสัตย์ เพื่อชาติ]]” ซึ่งในที่สุดได้กลายเป็นความขัดแย้งทางการเมืองมีการอดข้าวประท้วงของ รต. ฉลาด วรฉัตร หน้าอาคารรัฐสภา ต่อมา พลตรีจำลอง ศรีเมือง หัวหน้าพรรคพลังธรรมก็ได้เข้าร่วมอดข้าวประท้วงด้วย และต่อมาได้ลุกลามใหญ่โตไปเป็น[[การชุมนุม]][[ประท้วง]]ของประชาชนบนถนนราชดำเนินและจบลงด้วย[[เหตุการณ์พฤษภาคมทมิฬ 2535]] ที่มีการใช้กำลังอาวุธสลายการชุมนุมของประชาชนระหว่างวันที่ 17-20 พฤษภาคม | ||
“คงเป็นที่แปลกใจ ทำไมถึงเชิญให้ท่านมาพบกันอย่างนี้ เพราะว่าทุกคนก็ทราบว่า เหตุการณ์มีความยุ่งเหยิงอย่างไร และทำให้ประเทศชาติล่มจมได้. แต่ที่จะแปลกใจก็อาจมีว่า ทำไมเชิญพลเอกสุจินดา คราประยูร และ พลตรีจำลอง ศรีเมือง เพราะว่า อาจมีผู้ที่แสดงเป็นตัวละครมากกว่านี้ แต่ว่าที่เชิญมาเพราะว่า ตั้งแต่แรกที่มีเหตุการณ์ สองท่านเป็นผู้ที่เผชิญหน้ากัน, แล้วก็ในที่สุด เป็นการต่อสู้ หรือการเผชิญหน้ากว้างขวางขึ้น ถึงได้เชิญ 2 ท่านมา | ท้ายที่สุดด้วยพระบารมีปกเกล้าของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]เมื่อค่ำของวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 ได้ทรงมีพระราชดำรัสแก่คู่ขัดแย้งใน[[เหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง]]ที่เข้าเฝ้า ได้แก่ พลเอกสุจินดา คราประยูร พลตรีจำลอง ศรีเมือง โดยพระองค์ทรงมีพระราชดำรัสพระราชทานความว่า | ||
“คงเป็นที่แปลกใจ ทำไมถึงเชิญให้ท่านมาพบกันอย่างนี้ เพราะว่าทุกคนก็ทราบว่า เหตุการณ์มีความยุ่งเหยิงอย่างไร และทำให้ประเทศชาติล่มจมได้. แต่ที่จะแปลกใจก็อาจมีว่า ทำไมเชิญพลเอกสุจินดา คราประยูร และ [[จำลอง ศรีเมือง|พลตรีจำลอง ศรีเมือง]] เพราะว่า อาจมีผู้ที่แสดงเป็นตัวละครมากกว่านี้ แต่ว่าที่เชิญมาเพราะว่า ตั้งแต่แรกที่มีเหตุการณ์ สองท่านเป็นผู้ที่เผชิญหน้ากัน, แล้วก็ในที่สุด เป็นการต่อสู้ หรือการเผชิญหน้ากว้างขวางขึ้น ถึงได้เชิญ 2 ท่านมา | |||
การเผชิญหน้าตอนแรก ก็จะเห็นจุดประสงค์ของทั้ง 2 ฝ่ายได้ชัดเจนพอสมควร, แต่ต่อมาภายหลัง 10 กว่าวัน ก็เห็นแล้วว่า การเผชิญหน้านั้น เปลี่ยนโฉมหน้าไปอย่างมาก จนกระทั่งออกมาอย่างไรก็ตาม เสียทั้งนั้น, เพราะว่า ทำให้มีความเสียหาย ในทางชีวิต เลือดเนื้อของคนจำนวนมากพอสมควร แล้วก็ความเสียหายทางวัตถุ ซึ่งเป็นของส่วนราชการ และส่วนบุคคลเป็นมูลค่ามากมาย นอกจากนี้ก็มีความเสียหายในทางจิตใจ และในทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ อย่างที่จะนับพรรณนาไม่ได้ | การเผชิญหน้าตอนแรก ก็จะเห็นจุดประสงค์ของทั้ง 2 ฝ่ายได้ชัดเจนพอสมควร, แต่ต่อมาภายหลัง 10 กว่าวัน ก็เห็นแล้วว่า การเผชิญหน้านั้น เปลี่ยนโฉมหน้าไปอย่างมาก จนกระทั่งออกมาอย่างไรก็ตาม เสียทั้งนั้น, เพราะว่า ทำให้มีความเสียหาย ในทางชีวิต เลือดเนื้อของคนจำนวนมากพอสมควร แล้วก็ความเสียหายทางวัตถุ ซึ่งเป็นของส่วนราชการ และส่วนบุคคลเป็นมูลค่ามากมาย นอกจากนี้ก็มีความเสียหายในทางจิตใจ และในทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ อย่างที่จะนับพรรณนาไม่ได้ | ||
ฉะนั้นการที่จะเป็นไปอย่างนี้ต่อไป จะเป็นเหตุผลหรือต้นตออย่างไรก็ช่าง เพราะเดี๋ยวนี้เหตุผลเปลี่ยนไป | ฉะนั้นการที่จะเป็นไปอย่างนี้ต่อไป จะเป็นเหตุผลหรือต้นตออย่างไรก็ช่าง เพราะเดี๋ยวนี้เหตุผลเปลี่ยนไป ถ้าหากว่าเผชิญหน้ากันแบบนี้ต่อไป เมืองไทยมีแต่ล่มจมลงไป แล้วก็จะทำให้ประเทศไทย ที่เราสร้างเสริมขึ้นมาอย่างดี เป็นเวลานาน จะกลายเป็นประเทศที่ไม่มีความหมาย หรือมีความหมายในทางลบเป็นอย่างมาก ซึ่งก็เริ่มปรากฏผลแล้ว ฉะนั้นจะต้องแก้ไข โดยดูว่ามีข้อ[[ขัดแย้ง]]อย่างไร แล้วก็พยายามที่จะแก้ไขตามลำดับ เพราะว่าปัญหา ที่มีอยู่ทุกวันนี้ สองสามวันนี้มันเปลี่ยนไป ปัญหาไม่ใช่เรื่องเรียกว่า ของการเมือง หรือ เรียกว่า ของการดำรงตำแหน่ง เป็นปัญหาของการสึกหรอของประเทศชาติ ฉะนั้นจะต้องช่วยกันแก้ไข | ||
มีผู้ที่ส่งข้อแนะนำ ในการแก้ไขสถานการณ์มาหลายฉบับ หลายคนจำนวนเป็นร้อย แล้วก็ทั้งในเมืองไทย ทั้งต่างประเทศที่ส่งมา ที่เขาส่งมาการแก้ไข หรือข้อแนะนำว่า เราควรจะทำอะไรก็มี ก็มีต่างๆ นานา | มีผู้ที่ส่งข้อแนะนำ ในการแก้ไขสถานการณ์มาหลายฉบับ หลายคนจำนวนเป็นร้อย แล้วก็ทั้งในเมืองไทย ทั้งต่างประเทศที่ส่งมา ที่เขาส่งมาการแก้ไข หรือข้อแนะนำว่า เราควรจะทำอะไรก็มี ก็มีต่างๆ นานา ตั้งแต่ตอนแรกบอกว่าแก้ไขวิธี[[ยุบสภา]] ซึ่งก็ได้หารือกับทางทุกฝ่ายที่เป็นสภา หมายความว่า [[พรรคการเมือง]]ทั้งหมด 11 พรรคนี้ คำตอบมีว่าไม่ควรยุบสภา มี 1 รายที่บอกว่าควรยุบสภา ฉะนั้นการที่จะแก้ไข แบบที่เขาเสนอมานั้น ก็เป็นอันว่าตกไป นอกจากนั้นก็มีเป็น[[ฎีกา]] และแนะนำวิธีต่างๆ กัน ซึ่งได้พยายามเสนอไปตามปกติ คือเวลามีฎีกาขึ้นมา ก็ส่งไปให้ทาง [[สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี]] หรือ[[สำนักนายกรัฐมนตรี]] แต่ก็ไม่สามารถที่จะแก้ไขตามแบบนั้น ตกลงมีแบบยุบสภา และมีอีกแบบหนึ่ง ก็เป็นแบบ[[แก้ไขรัฐธรรมนูญ]] เพื่อให้ได้ตามประสงค์ที่ต้องการ หมายความว่าประสงค์เดิม ที่เกิดเผชิญหน้ากัน | ||
ความจริงวิธีนี้ถ้าจำได้ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2534 ก็ได้พูดต่อสมาคม ที่มาพบจำนวนหลายพันคน แล้วก็ดูเหมือนว่าพอฟังกัน ฟังกันโดยดี เพราะเหตุผลที่มีอยู่ในนั้น ดูจะแก้ปัญหาได้พอควร ตอนนี้ก็พอย้ำว่าทำไมพูดอย่างนั้น ว่าถ้าจะแก้ก่อนออกก็ได้ หรือออกก่อนแก้ก็ได้ (พระราชดำรัส 4 ธันวาคม 2534) อันนั้นทุกคนก็ทราบดีว่าเรื่องอะไร ก็เป็นเรื่องรัฐธรรมนูญ | ความจริงวิธีนี้ถ้าจำได้ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2534 ก็ได้พูดต่อสมาคม ที่มาพบจำนวนหลายพันคน แล้วก็ดูเหมือนว่าพอฟังกัน ฟังกันโดยดี เพราะเหตุผลที่มีอยู่ในนั้น ดูจะแก้ปัญหาได้พอควร ตอนนี้ก็พอย้ำว่าทำไมพูดอย่างนั้น ว่าถ้าจะแก้ก่อนออกก็ได้ หรือออกก่อนแก้ก็ได้ (พระราชดำรัส 4 ธันวาคม 2534) อันนั้นทุกคนก็ทราบดีว่าเรื่องอะไร ก็เป็นเรื่องรัฐธรรมนูญ ซึ่งครั้งนั้น การแก้รัฐธรรมนูญก็ได้ทำมาตลอด มากกว่าฉบับเดิมที่ตั้งเอาไว้ได้แก้ไข แล้วก็ก่อนที่ไปพูดที่ศาลาดุสิดาลัย ก็ได้พบพลเอกสุจินดา ก็ขออนุญาตเล่าให้ฟัง แล้วพลเอกสุจินดาก็เห็นด้วยว่า ควรจะประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และแก้ไขต่อไปได้ อันนี้ก็เป็นสิ่งที่ทำได้ และตอนหลังนี้ พลเอกสุจินดาก็ได้ยืนยันว่า แก้ไขได้ก็ค่อยๆ แก้เข้าระเบียบให้เป็นที่เรียกว่า ประชาธิปไตย อันนี้ก็ได้พูดมาตั้งหลายเดือนแล้ว ในวิธีการที่จะแก้ไข แล้วข้อสำคัญ ที่ทำไมอยากให้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ แม้จะถือว่ารัฐธรรมนูญนั้นยังไม่ครบถ้วน ก็เพราะเหตุว่ารัฐธรรมนูญนั้น มีคุณภาพพอใช้ได้ ดีกว่า[[ธรรมนูญการปกครองชั่วคราว]] ที่ใช้มาเกือบปี เพราะเหตุว่ามีบางข้อบางมาตราซึ่งเป็นอันตราย, แล้วก็ไม่ครบถ้วนในการที่จะปกครองประเทศ ฉะนั้นก็นึกว่า ถ้าหากว่าสามารถที่จะปฏิบัติตามที่ได้พูดในวันที่ 4 ธันวาคมนั้นก็นึกว่า เป็นการกลับไปดูปัญหาเดิม ไม่ใช่ปัญหาของวันนี้ | ||
ปัญหาของวันนี้ ไม่ใช่ปัญหาของการบัญญัติ หรือแก้ไขรัฐธรรมนูญ | ปัญหาของวันนี้ ไม่ใช่ปัญหาของการบัญญัติ หรือแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทุกวันนี้คือความปลอดภัย ขวัญดีของประชาชน. ซึ่งเดี๋ยวนี้ประชาชนทั่วไปทุกแห่งทุกหน มีความหวาดระแวงว่าจะเกิดอันตราย มีความหวาดระแวงว่า ประเทศชาติจะล่มจม โดยที่จะแก้ไขลำบากตามข่าวที่ได้ทราบมาจากต่างประเทศ เพราะเหตุว่าในขณะนี้ ทั้งลูกชายทั้งลูกสาวก็อยู่ต่างประเทศ ทั้งสองก็ทราบดี แล้วก็ได้พยายามที่จะแจ้งให้กับ คนที่อยู่ในประเทศเหล่านั้นว่า ประเทศไทยนี้ยังแก้ไขสถานการณ์ได้ แต่รู้สึกว่าจะเป็นความคิด ที่เป็นความคิดแบบหวังสูงไปหน่อย, ถ้าหากว่าเราไม่ทำให้สถานการณ์อย่าง 3 วันที่ผ่านมานี้สิ้นสุดไปได้. ฉะนั้นก็ขอให้โดยเฉพาะสองท่าน คือ พลเอกสุจินดา และพลตรีจำลองช่วยกันคิด คือ หันหน้าเข้าหากัน, ไม่ใช่เผชิญหน้ากัน เพราะว่าเป็นประเทศของเรา ไม่ใช่ประเทศของหนึ่งคนสองคน เป็นประเทศของทุกคน เข้าหากันไม่เผชิญหน้ากันแก้ไขปัญหา เพราะปัญหามีอยู่ที่เวลาเกิดจะใช้คำว่าบ้าเลือด, เวลาคนมีการปฏิบัติรุนแรงมันลืมตัว ลงท้ายเขาไม่รู้ว่าตีกันเพราะอะไร, แล้วก็จะแก้ปัญหาอะไร เพียงแต่ว่าจะต้องเอาชนะ แล้วก็ใครจะชนะ ไม่มีทาง อันตรายทั้งนั้น มีแต่แพ้ คือต่างคนต่างแพ้ ผู้ที่เผชิญหน้าก็แพ้ แล้วที่แพ้ที่สุดก็คือประเทศชาติ ประชาชนจะเป็นประชาชนทั้งประเทศ ไม่ใช่ประชาชน เฉพาะในกรุงเทพมหานคร ถ้าสมมติว่า เฉพาะในกรุงเทพมหานครเสียหายไป ประเทศก็เสียหายไปทั้งหมด แล้วก็จะมีประโยชน์อะไรที่จะทะนงตัวว่าชนะ เวลาอยู่บนกองซากปรักหักพัง | ||
ฉะนั้นจึงขอให้ทั้งสองท่านเข้ามา คือไม่เผชิญหน้ากัน แต่หันเข้าหากัน, และสองท่าน เท่ากับเป็นผู้แทนฝ่ายต่างๆ คือไม่ใช่สองฝ่าย | ฉะนั้นจึงขอให้ทั้งสองท่านเข้ามา คือไม่เผชิญหน้ากัน แต่หันเข้าหากัน, และสองท่าน เท่ากับเป็นผู้แทนฝ่ายต่างๆ คือไม่ใช่สองฝ่าย ฝ่ายต่างๆ ที่เผชิญหน้ากัน ให้ช่วยกันแก้ปัญหาปัจจุบันนี้ คือ[[ความรุนแรง]]ที่เกิดขึ้น แล้วก็เมื่อเยียวยาปัญหานี้ได้แล้ว จะมาพูดกัน ปรึกษากันว่าจะทำอย่างไร? สำหรับให้ประเทศไทย ได้มีการสร้างพัฒนาขึ้นมาได้ กลับคืนมาได้ด้วยดี อันนี้ก็เป็นเหตุผลที่เรียกท่านทั้งสองมา และก็เชื่อว่าทั้งสองท่าน ก็เข้าใจว่า จะเป็นผู้ที่ได้สร้างประเทศจากซากปรักหักพัง แล้วก็จะได้ผลในส่วนตัวมากว่าได้ทำดีิ แก้ไขอย่างไรก็แล้วแต่ที่จะปรึกษากัน ก็มีข้อสังเกตดังนี้ ท่าน[[สัญญา ธรรมศักดิ์]] ท่านเปรม ติณสูลานนท์ ก็เป็นผู้ใหญ่ ผู้พร้อมที่จะให้คำปรึกษาหารือกัน ด้วยความเป็นกลาง ด้วยความรักชาติ เพื่อสร้างสรรค์ประเทศ ให้เข้าสู่ความปลอดภัยในเร็ววัน ขอฝากให้ช่วยกันสร้างชาติ” | ||
หลังจากการเข้าเฝ้าครั้งนั้นที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ร่วมการเฉพาะกิจไม่นาน พลเอกสุจินดา คราประยูรก็ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 เป็นการปิดฉากอำนาจของคณะรสช. ที่ได้ทำการรัฐประหารและมีความพยายามในการสืบทอดอำนาจผ่านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี | หลังจากการเข้าเฝ้าครั้งนั้นที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ร่วมการเฉพาะกิจไม่นาน พลเอกสุจินดา คราประยูรก็ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 เป็นการปิดฉากอำนาจของคณะรสช. ที่ได้ทำการรัฐประหารและมีความพยายามในการสืบทอดอำนาจผ่านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี บุคคลในคณะรสช.ต่างเก็บตัวเองไม่ยุ่งเกี่ยวกับ[[การเมือง]] และจากการใช้กำลังความรุนแรงของทหารในเหตุการณ์เดือน[[พฤษภาคม 35]] ก็ได้ส่งผลให้กองทัพต้องกลับเข้ากรมกองไป ด้วยบาดแผลที่สังคมไทยตราหน้าว่าเป็นคนใช้อาวุธทำร้ายประชาชน | ||
==องค์ประกอบของคณะรสช.== | ==องค์ประกอบของคณะรสช.== | ||
นอกเหนือจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ คณะรสช.ยังประกอบด้วยบุคคลอื่นในคณะที่เป็นนายทหารระดับสูงทุกกองทัพ ได้แก่ พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก พลเรือเอกประพัฒน์ กฤษณะจันทร์ ผู้บัญชาการทหารเรือ พลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ โดยทั้งสามท่านดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าคณะ รสช. และพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก ดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะรสช.ซึ่งต่อมาได้มีการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการตามประกาศคณะรสช. ฉบับที่ 2 เรื่อง แต่งตั้งบุคคลสำคัญดำรงตำแหน่งในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 | นอกเหนือจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ คณะรสช.ยังประกอบด้วยบุคคลอื่นในคณะที่เป็นนายทหารระดับสูงทุกกองทัพ ได้แก่ พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก พลเรือเอกประพัฒน์ กฤษณะจันทร์ ผู้บัญชาการทหารเรือ พลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ โดยทั้งสามท่านดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าคณะ รสช. และพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก ดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะรสช. ซึ่งต่อมาได้มีการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการตามประกาศคณะรสช. ฉบับที่ 2 เรื่อง แต่งตั้งบุคคลสำคัญดำรงตำแหน่งในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 | ||
ในความสัมพันธ์ส่วนตัวของสมาชิกคณะรสช.นั้นหากสังเกตให้ดีก็จะพบว่ารองผู้บัญชาการแต่ละกองทัพที่ดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าคณะ รสช.นั้น ต่างก็เป็นเพื่อนรุ่นเดีนวกันที่สำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จ.ป.ร. 5) ทั้งสิ้น | ในความสัมพันธ์ส่วนตัวของสมาชิกคณะรสช.นั้นหากสังเกตให้ดีก็จะพบว่ารองผู้บัญชาการแต่ละกองทัพที่ดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าคณะ รสช.นั้น ต่างก็เป็นเพื่อนรุ่นเดีนวกันที่สำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จ.ป.ร. 5) ทั้งสิ้น | ||
ต่อมาภายหลังที่มีการประกาศใช้[[ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534]] คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติก็ได้เปลี่ยนสภาพไปเป็นสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 18 ของธรรมนูญประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นบุคคลตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 และประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 โดยประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ อาจแต่งตั้งกรรมการสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเพิ่มขึ้นได้อีกไม่เกินสิบห้าคน | |||
สำหรับอำนาจของสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นไปตามมาตรา 19 | สำหรับอำนาจของสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นไปตามมาตรา 19 ของธรรมนูญที่ให้มีอำนาจหน้าที่ร่วมกับ[[คณะรัฐมนตรี]]ในการกำหนดนโยบาย[[การบริหารราชการแผ่นดิน]]ที่คณะรัฐมนตรีจะแถลงต่อ[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] และเสนอแนะหรือให้ความคิดเห็นในเรื่องใดๆที่เห็นว่าจะเป็นประโยชน์แก่คณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดิน และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในธรรมนูญการปกครองนี้ ซึ่งอำนาจสำคัญมีอยู่ในมาตราอื่นๆได้แก่ | ||
มาตรา 20 การขอให้มีการประชุมร่วมกันของสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี เพื่อร่วมพิจารณาและแก้ไขปัญหาใดๆอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน ในกรณีที่เห็นสมควรโดยประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ | มาตรา 20 การขอให้มีการประชุมร่วมกันของสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี เพื่อร่วมพิจารณาและแก้ไขปัญหาใดๆอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน ในกรณีที่เห็นสมควรโดยประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ | ||
มาตรา 21 | มาตรา 21 ประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีกราบบังคมทูลให้[[พระมหากษัตริย์]]ทรงแต่งตั้ง และในมาตรา 22 มีอำนาจในการถวายคำแนะนำพระมหากษัตริย์ให้นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง | ||
==เหตุแห่งการเกิดการรัฐประหารโดย คณะ รสช.== | ==เหตุแห่งการเกิดการรัฐประหารโดย คณะ รสช.== | ||
การเกิดขึ้นของคณะรสช. | การเกิดขึ้นของคณะรสช. ที่ได้ทำการ[[รัฐประหาร]]เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 นั้น มีเค้าลางของสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่ปรกติมาก่อนหน้านี้พอสมควร ซึ่งปรากฏเป็น[[การขัดแย้ง]]และตอบโต้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มนายทหารและ[[นักการเมือง]]ได้แก่รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[เฉลิม อยู่บำรุง|รตอ.เฉลิม อยู่บำรุง]] ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ขณะนั้น ก็มีเหตุการณ์ที่สร้างความไม่ไว้วางใจกับกองทัพกรณีรถโมบายของช่อง 9 อสมท. แต่ทั้งนี้ชนวนความขัดแย้งระหว่างกองทัพและรัฐบาลได้มาถึงจุดแตกหักในวันที่ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณตัดสินใจที่จะให้[[อาทิตย์ กำลังเอก|พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก]] อดีตผู้บัญชาการทหารบก เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงกลาโหม]] ซึ่งพลเอกอาทิตย์ กำลังเอก นั้นเป็นบุคคลที่ผู้นำกองทัพขณะนั้นไม่สนับสนุน | ||
ในที่สุดการรัฐประหารก็เกิดขึ้น ด้วยการจับกุมตัวพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน พร้อมคณะผู้ติดตาม บนเครื่องบินซี 130 | |||
ในที่สุดการรัฐประหารก็เกิดขึ้น ด้วยการจับกุมตัวพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน พร้อมคณะผู้ติดตาม บนเครื่องบินซี 130 ของกองทัพพอากาศขณะที่จะทยายนำคณะบินไปจังหวัดเชียงใหม่เพื่อเข้าเฝ้า[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ที่พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ เมื่อเวลา 11 นาฬิกาของวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 โดยตอนแรกประชาชนทั่วไปได้รับทราบ เหตุผลของการรัฐประหารโดยคณะรสช.ที่มีการประกาศอย่างเป็นทางการในคำชี้แจงเหตุผลการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ ตามแถลงการณ์คณะรสช.ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 มีทั้งสิ้น 5 ประการ ได้แก่ | |||
'''ประการแรก พฤติการณ์การฉ้อราษฎร์บังหลวง''' | |||
คณะผู้บริหารประเทศ ได้ฉวยโอกาสอาศัยอำนาจตามตำแหน่งหน้าที่ทางการเมืองแสวงหาประโยชน์ให้กับตนเองและพรรคพวก อย่างรุนแรงที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนกลายเป็นเรื่องปกติธรรมดาของรัฐมนตรีเกือบทุกคน ที่จะต้องแสวงหาเงินเพื่อสร้างฐานะความร่ำรวยเป็นฐานอำนาจทางการเมืองของตนอง และพรรคพวกต่อไป ดังจะเห็นได้จากโครงการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง จะมี[[นักการเมือง]]ในระดับรัฐบาล เข้ามามีส่วนผลักดันให้เกิดขึ้นโดยอ้างถึงประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ แต่แท้ที่จริงแล้วเป็นการอำพรางการแสวงหาประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ เท่านั้น ทั้งๆ ที่รู้อยู่แก่ใจว่ามีการ[[ฉ้อราษฎร์บังหลวง]]กันอย่างกว้างขวางในกลุ่มนักการเมืองระดับรัฐมนตรี รวมทั้งข้าราชการ และพนักงาน[[รัฐวิสาหกิจ]]ระดับสูงบางท่านก็ตาม แต่นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลกลับไม่เอาใจใส่ที่จะแก้ไขอย่างจริงจัง นอกจากนั้นประพฤติมิชอบเสียเอง โดยอ้างเหตุผลต่างๆ นานา เป็นการบังหน้าและกลับแสดงความบริสุทธิ์ของผู้ถูกกล่าวหาด้วยยืนยันว่า หากพบเห็นผู้ใดประพฤติมิชอบ ให้นำใบเสร็จมายืนยันด้วย เมื่อการฉ้อราษฎร์บังหลวงได้เติบโตอย่างรวดเร็วและรุนแรง จนไม่สามารถจะหยุดยั้งได้ หากขืนปล่อยทิ้งไว้อาจสร้างความหายนะอย่างถึงที่สุดให้กับชาติบ้านเมืองได้ จึงเป็นเหตุผลความจำเป็นประการแรกที่จะต้องเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ | |||
'''ประการที่ 2 ข้าราชการการเมืองใช้อำนาจกดขี่ข่มแหงข้าราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต''' | |||
ประการที่ 2 ของการยึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ | จากการที่[[ข้าราชการการเมือง]] ได้เข้าไปมีบทบาทและอำนาจสูงสุดในแต่ละส่วนราชการ จึงได้ถือโอกาสนี้สร้างบารมีทางการเมือง หาสมัครพรรคพวกเพื่อเป็น[[ฐานคะแนนเสียง]] เพื่อแสวงหาประโยชน์ให้ตนเองและพรรคพวก จึงทำให้ช้าราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต ไม่ยอม ตกเป็นเครื่องมือของนักการเมือง รับราชการไม่เจริญก้าวหน้า ถูกข่มเหงรังแก หากมิยอมเป็นพรรคพวก หลายท่านต้องลาออกจากราชการ สิ่งเหล่านี้เป็นความเจ็บช้ำน้ำใจของข้าราชการประจำที่ไม่มีหนทางต่อสู้ จึงนับว่าเป็นการทำลายขวัญกำลังใจและขนบธรรมเนียมประเพณีของข้าราชการอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนในอดีต ปัญหาข้อนี้จึงเป็นเหตุผล ประการที่ 2 ของการยึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ | ||
ประการที่ 3 | '''ประการที่ 3 รัฐบาลเป็น[[เผด็จการทางรัฐสภา]]''' | ||
นายกรัฐมนตรี | นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลได้ร่วมมือกับ[[พรรคการเมืองร่วมรัฐบาล]]รวมทั้ง คณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี[[บ้านพิษณุโลก]] ได้ใช้อุบายอันแยบยลทางการเมืองโดยสร้างภาพ ลวงตาประชาชนว่าเป็นการปกครองตามระบอบ[[ประชาธิปไตย]] แล้วพลิกแพลงหาประโยชน์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วไปว่าแท้จริงแล้วเนื้อหาของการปฏิบัติทางการเมืองของรัฐบาลชุดนี้ได้ใช้ผลประโยชน์เป็นส่วนนำนักการเมืองระดับรัฐมนตรีที่ทำหน้าที่ฝ่ายบริหาร รวมทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ นำประเทศไปสู่การปกครองในรูปแบบเผด็จการทางรัฐสภา โดยมีประชาธิปไตยบังหน้า เป็นการรวมอำนาจการปกครองไว้ได้โดยสิ้นเชิง เมื่อเป็นเช่นนี้การวางตัวบุคคลในตำแหน่งสำคัญทั้งทางการเมือง และข้าราชการประจำ จึงตกอยู่กับพรรคพวกของนายกรัฐมนตรีทั้งสิ้น และเป็นช่องทางที่ก่อให้เกิดการกอบโกยผลประโยชน์อย่างมหาศาล ที่ไม่มีบุคคลใดจะสามารถต่อต้านหรือทัดทานได้ จึงนับว่าเป็นภัยอันตรายอย่างยิ่งต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข | ||
ประการที่ 4 การทำลายสถาบันทางทหาร | '''ประการที่ 4 การทำลายสถาบันทางทหาร''' | ||
สถาบันทางทหารเป็นสถาบันข้าราชการประจำเพียงสถาบันเดียวที่ไม่ยอมตกอยู่ใต้อิทธิพลทางการเมืองของนักการเมือง พรรคการเมือง ถึงแม้ว่ารัฐบาลชุดปัจจุบันจะได้ใช้ความพยายามนานัปการ เพื่อบีบบังคับทำลายเอกภาพ ความรัก ความสามัคคีภายในกองทัพอย่างต่อเนื่องตลอดมาก็ตาม แต่ก็ไม่อาจสามารถกระทำได้ จากภาพโดยส่วนรวมทั่ว ๆ ไป จะเห็นว่ารัฐบาลได้เผชิญหน้ากับฝ่ายทหารมาโดยตลอด | สถาบันทางทหารเป็นสถาบันข้าราชการประจำเพียงสถาบันเดียวที่ไม่ยอมตกอยู่ใต้อิทธิพลทางการเมืองของนักการเมือง พรรคการเมือง ถึงแม้ว่ารัฐบาลชุดปัจจุบันจะได้ใช้ความพยายามนานัปการ เพื่อบีบบังคับทำลายเอกภาพ ความรัก ความสามัคคีภายในกองทัพอย่างต่อเนื่องตลอดมาก็ตาม แต่ก็ไม่อาจสามารถกระทำได้ จากภาพโดยส่วนรวมทั่ว ๆ ไป จะเห็นว่ารัฐบาลได้เผชิญหน้ากับฝ่ายทหารมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็น[[กรณีลิตเติลดัก]] รถสื่อสารเคลื่อนที่ (รถโมไบล์) การไม่ปลดร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง จากการเป็นรัฐมนตรีตามสัญญาสุภาพบุรุษ การปล่อยข่าวการปลดผู้นำทางทหาร เป็นต้น จากการกระทำด้วยเล่ห์เพทุบายทำลายฝ่ายทหารดังกล่าว ฝ่ายทหารจึงไม่สามารถจะอดกลั้นอีกต่อไปได้ และเป็นเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการยึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศในครั้งนี้ขึ้น | ||
ประการที่ 5 การบิดเบือนคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ | '''ประการที่ 5 การบิดเบือนคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์''' | ||
เมื่อปี 2525 ประมาณ 9 ปีเศษที่ผ่านมา พลตรี มนูญ | เมื่อปี 2525 ประมาณ 9 ปีเศษที่ผ่านมา [[มนูญ รูปขจร|พลตรี มนูญ รูปขจร]]และพรรคพวกได้บังอาจคบคิดวางแผนทำลายล้าง[[ราชวงศ์จักร]] เพื่อล้มล้าง[[สถาบันพระมหากษัตริย์]]เปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู่แบบที่ตนเองและคณะกำหนดไว้ การวางแผนการชั่วร้ายดังกล่าวไม่สามารถกระทำได้สำเร็จ พลตรี มนูญฯ และพรรคพวก จำนวนถึง 43 คน ถูกจับกุมในที่สุด และได้รับการช่วยเหลือจากกลุ่มคณะบุคคลที่มีอิทธิพลทางการเมืองให้ได้รับการประกันตัว จนสามารถก่อการปฏิวัติได้อีกถึง 3 ครั้ง นอกจากนั้นยังได้รับการอุ้มชูจาก [[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ]] นายกรัฐมนตรี ให้ได้รับการเติบโตในอาชีพรับราชการทหารจนเป็นนายทหารชั้นนายพลโดยรวดเร็ว ทั้งที่กระทำผิดโทษฐานก่อการกบฏและต้องคดีลอบสังหารบุคคลสำคัญ | ||
โดยเฉพาะคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ก็พยายามที่จะเบี่ยงเบนความเป็นจริงและโยนความผิดให้ผู้อื่น ซึ่งสร้างความโกรธแค้นให้แก่พี่น้องประชาชน | โดยเฉพาะคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ก็พยายามที่จะเบี่ยงเบนความเป็นจริงและโยนความผิดให้ผู้อื่น ซึ่งสร้างความโกรธแค้นให้แก่พี่น้องประชาชน ผู้จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นอย่างยิ่ง การกระทำอันแสดงออกถึงความไม่จงรักภักดีเช่นนี้ เป็นเรื่องสำคัญที่สุดเหล่าทหารไม่สามารถจะอดทน อดกลั้นได้อีกต่อไป จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันทั้ง 3 เหล่าทัพ รวมทั้งฝ่ายพลเรือนและตำรวจ เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ | ||
เหตุผลในการรัฐประหารทั้ง 5 ประการ ข้างต้นของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ต่อมาสังคมไทยก็ได้รับรู้ถึงเบื้องหลังโดยมีการเปิดเผยความจริงจากการให้สัมภาษณ์ของบุคคลฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง | เหตุผลในการรัฐประหารทั้ง 5 ประการ ข้างต้นของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ต่อมาสังคมไทยก็ได้รับรู้ถึงเบื้องหลังโดยมีการเปิดเผยความจริงจากการให้สัมภาษณ์ของบุคคลฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง ว่าเหตุผลในเรื่องการ[[ทุจริตคอร์รัปชั่น]]ของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณนั้นที่เป็นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสาเหตุ ขณะที่เหตุผลหลักคือความขัดแย้งระหว่างกองทัพและรัฐบาลโดยมีความไม่มั่นใจของผู้นำกองทัพที่กลัวว่าตนเองอาจจะถูกปลดจากตำแหน่ง หากปล่อยให้พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก ได้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม | ||
==แถลงการณ์และประกาศของคณะ รสช. == | ==แถลงการณ์และประกาศของคณะ รสช. == | ||
การรัฐประหารครั้งนี้เช่นเดียวกับทุกครั้งที่ได้มีการออกแถลงการณ์ และประกาศของคณะรสช. เพื่อชี้แจงเหตุการณ์ การแต่งตั้งบุคคลดำรงตำแหน่งและบางฉบับก็มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย ซึ่งมีทั้งที่ประกาศใช้เป็นกฎหมายใหม่ การยกเลิก | การรัฐประหารครั้งนี้เช่นเดียวกับทุกครั้งที่ได้มีการออกแถลงการณ์ และประกาศของคณะรสช. เพื่อชี้แจงเหตุการณ์ การแต่งตั้งบุคคลดำรงตำแหน่งและบางฉบับก็มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย ซึ่งมีทั้งที่ประกาศใช้เป็นกฎหมายใหม่ การยกเลิก การแก้ไขเพิ่มเติม[[พระราชบัญญัติ]]และการออกคำสั่งทาง[[กฎหมาย]] ซึ่งมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 56 ฉบับ<ref>สามารถค้นหาข้อมูลทั้งหมดได้จาก หนังสือ รัฐธรรมนูญ บทกฎหมายและเอกสารสำคัญในทางการเมืองของประเทศไทย เล่ม 4 รวบรวมโดย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์และอาจารย์ ดร.เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2551 . หรือ ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองไทย บนเวบไซต์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (www.law.tu.ac.th)</ref> | ||
หากพิจารณาถึงแถลงการณ์และประกาศของคณะรสช.ที่สำคัญที่ส่งผลกับการเมืองไทยจะมีฉบับสำคัญๆ ดังนี้ | หากพิจารณาถึงแถลงการณ์และประกาศของคณะรสช.ที่สำคัญที่ส่งผลกับการเมืองไทยจะมีฉบับสำคัญๆ ดังนี้ | ||
บรรทัดที่ 85: | บรรทัดที่ 86: | ||
1. แถลงการณ์คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เรื่องคำชี้แจงเหตุผลการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534) | 1. แถลงการณ์คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เรื่องคำชี้แจงเหตุผลการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534) | ||
2. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เรื่อง | 2. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เรื่อง การสิ้นสุดของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] [[วุฒิสภา]][[สภาผู้แทนราษฎร]] [[คณะรัฐมนตรี]] และการปฏิบัติงานตามปรกติของ[[องค์มนตรี]]และ[[ศาล]]ทั่วประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534) | ||
3. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 20 เรื่อง พระราชบัญญัติ พรคคการเมือง ห้ามพรรคการเมืองประชุมหรือดำเนินกิจกรรมอื่นใดทางการเมือง (23 กุมภาพันธ์ 2534) | 3. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 20 เรื่อง พระราชบัญญัติ พรคคการเมือง ห้ามพรรคการเมืองประชุมหรือดำเนินกิจกรรมอื่นใดทางการเมือง (23 กุมภาพันธ์ 2534) | ||
บรรทัดที่ 107: | บรรทัดที่ 108: | ||
12.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 45 เรื่อง ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินเพิ่มเติม (28 กุมภาพันธ์ 2534) | 12.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 45 เรื่อง ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินเพิ่มเติม (28 กุมภาพันธ์ 2534) | ||
13.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 47 เรื่อง | 13.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 47 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของ[[คณะปฏิวัติ]] ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (28 กุมภาพันธ์ 2534) | ||
14.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 48 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (28 กุมภาพันธ์ 2534) | 14.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 48 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (28 กุมภาพันธ์ 2534) | ||
บรรทัดที่ 123: | บรรทัดที่ 124: | ||
==ผลกระทบของแถลงการณ์และประกาศคณะรสช. กับการเมืองไทย== | ==ผลกระทบของแถลงการณ์และประกาศคณะรสช. กับการเมืองไทย== | ||
อาจกล่าวได้ว่าการเมืองไทยได้รับผลกระทบจากการรัฐประหารของคณะ รสช.ในปี พ.ศ. 2534 มาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งในตอนแรกสังคมไทยขณะนั้นอาจไม่รู้สึกว่าเกิดผลกระทบขึ้นมากนัก | อาจกล่าวได้ว่าการเมืองไทยได้รับผลกระทบจากการรัฐประหารของคณะ รสช.ในปี พ.ศ. 2534 มาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งในตอนแรกสังคมไทยขณะนั้นอาจไม่รู้สึกว่าเกิดผลกระทบขึ้นมากนัก เพราะการรัฐประหารถือเป็นวิธีการหนึ่งในการแก้ไขปัญหา[[ความขัดแย้ง]]ทางการเมืองไทยในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นหลายครั้ง และสังคมไทยก็ยอมรับที่จะอยู่กับผู้ชนะ เนื่องจากภาวะความหวาดกลัวในอำนาจทหารที่มีความเด็ดขาด บรรยากาศ[[การมีส่วนร่วมทางการเมือง]]ของประชาชนที่ยังไม่ตื่นตัว และมีประเด็นที่น่าคิดว่าภายหลังเหตุการณ์ล้อมปรามนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ [[6 ตุลาคม 2519]] พลังของนักศึกษาในการเรียกร้องประชาธิปไตยก็ลดน้อยลงเป็นอันมาก ทั้งนี้ในการรัฐประหารแต่ละครั้งได้นำมาซึ่งผู้ปกครองที่เป็น[[กลุ่มอำนาจใหม่]]และตลอด[[การรัฐประหาร]]ที่ผ่านมา ก็คือ กลุ่มนายทหารจากกองทัพบกที่ใช้การรัฐประหารเป็นเครื่องมือในการต่อสู้แย่งชิงอำนาจทั้งจากทหารด้วยกัน หรือ[[รัฐบาลพลเรือน]] แต่การรัฐประหารโดยคณะ รสช. นี้กลับเป็นการรัฐประหารที่ไม่สามารถสืบทอดอำนาจได้ยืนยาวนัก เพราะประชาชนได้รู้ทันถึงเหตุผลเบื้องหลังการรัฐประหาร และต้องปิดฉากอย่างรวดเร็วในอีกหนึ่งปีต่อมาภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ที่ทหารตกเป็นจำเลยของสังคม ทำให้ทหารต้องยุติบทบาทในการเข้ามาเกี่ยวข้องกับทางการเมืองลง และมีความพยายามทุกภาคส่วนที่จะทำให้ทหารเป็นทหารอาชีพ ซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้เด่นชัดอาจสังเกตได้จากคำขวัญที่ปรากฏอยู่ ณ หน่วยทหารต่างๆ จากเดิมที่มีเพียง “เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” เปลี่ยนมาเป็น “เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน ” | ||
ผลกระทบของแถลงการณ์และประกาศคณะรสช. กับการเมืองไทย หากวิเคราะห์ให้ดีนั้นจะปรากฎอยู่ในสองลักษณะ กล่าวคือ | ผลกระทบของแถลงการณ์และประกาศคณะรสช. กับการเมืองไทย หากวิเคราะห์ให้ดีนั้นจะปรากฎอยู่ในสองลักษณะ กล่าวคือ | ||
1)ผลกระทบที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดลงในช่วงเวลาที่ไม่นานนัก จากอำนาจบังคับตามประกาศของคณะรสช. ที่ประกาศใช้และบางส่วนหมดก็ไปภายหลังที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 สำหรับประเด็นนี้จะพบว่าประกาศของคณะรสช.ฉบับสำคัญที่มีผลทางการเมืองไทย คือประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เรื่อง การสิ้นสุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรี และการปฏิบัติงานตามปรกติขององค์มนตรีและศาลทั่วประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534) นำมาซึ่งการสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ที่ใช้บังคับมานาน 13 ปี | 1)ผลกระทบที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดลงในช่วงเวลาที่ไม่นานนัก จากอำนาจบังคับตามประกาศของคณะรสช. ที่ประกาศใช้และบางส่วนหมดก็ไปภายหลังที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 สำหรับประเด็นนี้จะพบว่าประกาศของคณะรสช.ฉบับสำคัญที่มีผลทางการเมืองไทย คือประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เรื่อง การสิ้นสุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรี และการปฏิบัติงานตามปรกติขององค์มนตรีและศาลทั่วประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534) นำมาซึ่งการสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ที่ใช้บังคับมานาน 13 ปี และที่สิ้นสุดลงตามไปด้วยคือ[[วุฒิสภา]] สภาผู้แทนราษฎร และ[[คณะรัฐมนตรี]] ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนการรัฐประหาร แต่ทั้งนี้สถาบันทางการเมืองที่ไม่สิ้นสุดลงไปด้วย คือ คณะองค์มนตรีและศาลที่เป็นผู้ใช้[[อำนาจตุลาการ]] | ||
การสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและสถาบันทางการเมืองที่สำคัญใน[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]และ[[ฝ่ายบริหาร]]เป็นข้อเท็จจริงตามธรรมชาติของการรัฐประหารที่เป็นมาในประวัติศาสตร์ โดยคณะรัฐประหารผู้ยึดอำนาจจะเข้ามาเป็น[[รัฎฐาธิปัตย์]] แทน ซึ่งในระบบกฎหมายไทยก็ยอมรับในประด็นนี้ตามนัยคำพิพากษา[[ศาลฎีกา]]ที่มีการวินิจฉัยเกี่ยวกับ[[ความชอบด้วยกฎหมาย]]ของคำสั่งของรัฐประหาร เช่น | |||
คำพิพากษาฎีกาที่ 1662/2505 “ในพ.ศ.2501 คณะปฏิวัติได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยได้เป็นผลสำเร็จ หัวหน้าคณะปฏิวัติย่อมเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบ้านเมือง ข้อความใดที่หัวหน้าคณะปฏิวัติสั่งบังคับประชาชนก็ต้องถือว่าเป็นกฎหมาย แม้พระมหากษัตริย์จะมิได้ทรงตราออกด้วยคำแนะนำหรือยินยอมของสภาผู้แทนราษฎรก็ตาม” | คำพิพากษาฎีกาที่ 1662/2505 “ในพ.ศ.2501 คณะปฏิวัติได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยได้เป็นผลสำเร็จ หัวหน้าคณะปฏิวัติย่อมเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบ้านเมือง ข้อความใดที่หัวหน้าคณะปฏิวัติสั่งบังคับประชาชนก็ต้องถือว่าเป็นกฎหมาย แม้พระมหากษัตริย์จะมิได้ทรงตราออกด้วยคำแนะนำหรือยินยอมของสภาผู้แทนราษฎรก็ตาม” | ||
คำพิพากษาฎีกาที่ 1234/2523 “แม้จะมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยออกประกาศใช้แล้วก็ตาม แต่ก็หาได้มีกฎหมายยกเลิกประกาศหรือคำสั่งคณะปฏิวัติหรือคณะปฏิรูปการปกครองผ่นดินไม่ ประกาศหรือคำสั่งนั้นจึงยังคงเป็นกฎหมายใช้บังคับอยู่” | คำพิพากษาฎีกาที่ 1234/2523 “แม้จะมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยออกประกาศใช้แล้วก็ตาม แต่ก็หาได้มีกฎหมายยกเลิกประกาศหรือคำสั่งคณะปฏิวัติหรือคณะปฏิรูปการปกครองผ่นดินไม่ ประกาศหรือคำสั่งนั้นจึงยังคงเป็นกฎหมายใช้บังคับอยู่” | ||
ที่ผ่านมาการรัฐประหารย่อมนำมาซึ่งการสิ้นสุดรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับ นอกจากนั้นก็จะมีการยกเลิกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ | ที่ผ่านมาการรัฐประหารย่อมนำมาซึ่งการสิ้นสุดรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับ นอกจากนั้นก็จะมีการยกเลิกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ เช่น[[กฎหมายเลือกตั้ง]]และ[[กฎหมายพรรคการเมือง]] ตามไปด้วย แต่ทั้งนี้คณะรสช. ได้ทำการในสิ่งที่แตกต่างจากการรัฐประหารครั้งก่อนๆ ที่ไม่ได้ยกเลิกกฎหมายพรรคการเมือง โดยตามประกาศคณะรสช. ฉบับที่ 20 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 เรื่องพระราชบัญญัติ พรรคการเมือง ห้ามพรรคการเมืองประชุมหรือดำเนินกิจกรรมอื่นใดทางการเมือง ได้มีการชี้แจงเหตุผลในประกาศฉบับดังกล่าวว่า | ||
“ ... คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติมีเจตนารมณ์ที่จะให้การดำเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ภายหลังที่สถานการณ์เข้าสู่ปรกติแล้ว คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ | “ ... คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติมีเจตนารมณ์ที่จะให้การดำเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ภายหลังที่สถานการณ์เข้าสู่ปรกติแล้ว คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ จึงยังไม่ยกเลิก[[พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ.2524]] เพื่อให้พรรคการเมืองยังคงสภาพอยู่ได้ต่อไป แต่เพื่อประโยชน์ในการรักษาความสงบเรียบร้อย จึงห้ามมิให้พรรคการเมืองที่มีอยู่แล้วดำเนินการประชุมหรือดำเนินกิจกรรมใดๆทางการเมือง และการดำเนินการเพื่อการจัดตั้งหรือจดทะเบียนพรรคการเมืองให้ระงับไว้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้จนกว่าจะได้มีประกาศเป็นอย่างอื่น “ | ||
เมื่อพิจารณาถึงประกาศของคณะ รสช. อื่นๆประกาศรสช. ที่รู้จักกันดีและเป็นประเด็นปัญหากับการเมืองไทยและเป็นกรณีศึกษาที่สำคัญในทางกฎหมาย ก็คือ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2534 เรื่องให้อายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน ซึ่งตามประกาศดังกล่าวได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินขึ้น โดยมีอำนาจตามข้อ 2 ของประกาศ | เมื่อพิจารณาถึงประกาศของคณะ รสช. อื่นๆประกาศรสช. ที่รู้จักกันดีและเป็นประเด็นปัญหากับการเมืองไทยและเป็นกรณีศึกษาที่สำคัญในทางกฎหมาย ก็คือ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2534 เรื่องให้อายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน ซึ่งตามประกาศดังกล่าวได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินขึ้น โดยมีอำนาจตามข้อ 2 ของประกาศ ในการทำหน้าที่ในการพิจารณารายชื่อนักการเมืองที่มีพฤติการณ์อันส่อแสดงให้เห็นได้ว่ามีทรัพย์สิน[[ร่ำรวยผิดปรกติ]] ผิดวิสัยของผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริต และให้ประกาศรายชื่อบุคคลดังกล่าวให้สาธารณชนทราบและรวบรวมทรัพย์สินที่ถูกอายัดไว้ และทรัพย์สินอื่นๆที่น่าเชื่อว่าเป็นของบุคคลดังกล่าว และพิจารณาวินิจฉัยว่าบุคคลนั้นๆร่ำรวยผิดปรกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นปกติหรือไม่ และให้มีอำนาจออกคำสั่งอายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินทั้งปวงของบุคคลนั้นๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินบุคคลใดจะฟ้องร้องหรือดำเนินคดีแพ่ง หรืออาญาใดๆมิได้ | ||
สำหรับคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศ รสช.ฉบับที่ 26 ประกอบด้วย | สำหรับคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศ รสช.ฉบับที่ 26 ประกอบด้วย | ||
บรรทัดที่ 183: | บรรทัดที่ 185: | ||
การทำงานของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้มีการตรวจสอบทรัพย์สินอดีตรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณทั้งสิ้น 25 คน และมีผลสรุปให้ดำเนินการยึดทรัพย์สินของอดีตรัฐมนตรี 10 คน รวมทั้งสิ้น 1,969.38 ล้านบาท ซึ่งมีรายชื่อดังนี้ | การทำงานของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้มีการตรวจสอบทรัพย์สินอดีตรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณทั้งสิ้น 25 คน และมีผลสรุปให้ดำเนินการยึดทรัพย์สินของอดีตรัฐมนตรี 10 คน รวมทั้งสิ้น 1,969.38 ล้านบาท ซึ่งมีรายชื่อดังนี้ | ||
1.พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ 266 ล้านบาทเศษ | 1.[[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ]] 266 ล้านบาทเศษ | ||
2.นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ 335.8 ล้านบาท | 2.[[พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์|นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์]] 335.8 ล้านบาท | ||
3.นายประมวล สภาวสุ 70.7 ล้านบาท | 3.[[ประมวล สภาวสุ|นายประมวล สภาวสุ]] 70.7 ล้านบาท | ||
4.พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร 139.7 ล้านบาท | 4.[[ประมาณ อดิเรกสาร|พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร]] 139.7 ล้านบาท | ||
5.นายเสนาะ เทียนทอง 62.7 ล้านบาท | 5.[[เสนาะ เทียนทอง|นายเสนาะ เทียนทอง]] 62.7 ล้านบาท | ||
6.นายสุบิน ปิ่นขยัน 608 ล้านบาท | 6.[[สุบิน ปิ่นขยัน|นายสุบิน ปิ่นขยัน]] 608 ล้านบาท | ||
7.ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง 32 ล้านบาท | 7.[[เฉลิม อยู่บำรุง|ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง]] 32 ล้านบาท | ||
8.นายภิญญา ช่วยปลอด 61.8 ล้านบาท | 8.[[ภิญญา ช่วยปลอด|นายภิญญา ช่วยปลอด]] 61.8 ล้านบาท | ||
9.นายวัฒนา อัศวเหม 4 ล้านบาท และ | 9.[[วัฒนา อัศวเหม|นายวัฒนา อัศวเหม]] 4 ล้านบาท และ | ||
10.นายมนตรี พงษ์พานิช 336.5 ล้านบาท | 10.[[มนตรี พงษ์พานิช|นายมนตรี พงษ์พานิช]] 336.5 ล้านบาท | ||
แต่ต่อมาจากผลของการแก้ไขประกาศรสช.ฉบับที่ 26 ข้อ 6 โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 ที่ออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ | แต่ต่อมาจากผลของการแก้ไขประกาศรสช. ฉบับที่ 26 ข้อ 6 โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 ที่ออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ให้สิทธิอุทธรณ์ของผู้ถูกยึดทรัพย์ที่สามารถ[[อุทธรณ์]]คำสั่งยึดทรัพย์ไปที่ศาลฎีกาได้ บรรดานักการเมืองที่ถูกยึดทรัพย์ก็ได้ใช้สิทธิดังกล่าว และผลการพิจารณาของศาลได้ตัดสินออกมาเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2536 โดยศาลฎีกาวินิจฉัยคำร้องอุทธรณ์ของนักการเมืองที่ถูกยึดทรัพย์ว่า ประกาศรสช.ฉบับ 26 ข้อ 2 และข้อ 6 ให้ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ให้มีอำนาจสอบสวนและสั่งอายัดทรัพย์นักการเมืองนั้น ขัดต่อประเพณีการปกครองของไทยในระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็นการตั้งคณะบุคคลที่มิใช่ศาลมาทำการเช่นเดียวกับศาล ทรัพย์สินของนักการเมืองที่ถูกสั่งอายัดให้ตกเป็นของแผ่นดินเป็นทรัพย์ที่นักการเมืองได้มาก่อนประกาศรสช. ฉบับ 26 จะมีผลบังคับใช้ การยึดทรัพย์ที่เกิดขึ้นเป็นการออกและใช้กฎหมายที่มีโทษทางอาญาให้มีผลย้อนหลัง จึงขัดธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.2534 และใช้บังคับมิได้ | ||
== ผลกระทบของการใช้อำนาจของคณะรสช.ที่ส่งผลต่อเนื่องมาถึงการเมืองไทยปัจจุบัน == | == ผลกระทบของการใช้อำนาจของคณะรสช.ที่ส่งผลต่อเนื่องมาถึงการเมืองไทยปัจจุบัน == | ||
การรัฐประหารโดย คณะรสช.ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ได้กลายเป็นอีกหนึ่งเหตุการณ์ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ทุกคนต้องจดจำ ด้วยเหตุที่การสิ้นสุดอำนาจของคณะรัฐประหารที่พยายามสืบทอดอำนาจเป็นผลมาจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ที่มีการสูญเสียเลือดเนื้อและชีวิตของประชาชน การเมืองไทยมีเหตุการณ์ความรุนแรงให้จดจำมากขึ้นอีกหนึ่งครั้งนอกเหนือจาก | การรัฐประหารโดย คณะรสช.ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ได้กลายเป็นอีกหนึ่งเหตุการณ์ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ทุกคนต้องจดจำ ด้วยเหตุที่การสิ้นสุดอำนาจของคณะรัฐประหารที่พยายามสืบทอดอำนาจเป็นผลมาจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ที่มีการสูญเสียเลือดเนื้อและชีวิตของประชาชน การเมืองไทยมีเหตุการณ์ความรุนแรงให้จดจำมากขึ้นอีกหนึ่งครั้งนอกเหนือจาก เหตุการณ์วันที่[[14 ตุลาคม 2516]] และวันที่6 ตุลาคม 2519 | ||
ในช่วงเวลาสั้นๆ ของการครองอำนาจของคณะรสช. ผลที่เกิดขึ้นตามมาต่อสังคมไทยจากการใช้อำนาจของรสช.ก็มีบางกรณีที่ได้ส่งผลกระทบต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันในฐานะที่เป็นบทเรียนสำคัญทางการเมือง กล่าวคือ | ในช่วงเวลาสั้นๆ ของการครองอำนาจของคณะรสช. ผลที่เกิดขึ้นตามมาต่อสังคมไทยจากการใช้อำนาจของรสช.ก็มีบางกรณีที่ได้ส่งผลกระทบต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันในฐานะที่เป็นบทเรียนสำคัญทางการเมือง กล่าวคือ | ||
1)การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่ภายหลังการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 ซึ่งเป็นอำนาจของประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้เสนอชื่อให้นายอานันท์ ปันยารชุนเป็นนายกรัฐมนตรี นั้นก็ทำให้การเมืองไทยมีนายกรัฐมนตรีที่ได้รับการยอมรับในผลงานมากที่สุดท่านหนึ่ง ด้วยการบริหารงานที่เป็นตัวของตัวเองไม่ได้ยอมตามคณะรสช. ที่ได้เปลี่ยนรูปมาเป็นสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ตามมาตรา 18 ของธรรมนูญการปกครอง แต่อย่างใด ภายใต้การบริหารงานของรัฐบาลนายอานันท์ ได้สร้างให้สังคมไทยได้รู้จัก คำว่า | 1)การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่ภายหลังการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 ซึ่งเป็นอำนาจของประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้เสนอชื่อให้นายอานันท์ ปันยารชุนเป็นนายกรัฐมนตรี นั้นก็ทำให้การเมืองไทยมีนายกรัฐมนตรีที่ได้รับการยอมรับในผลงานมากที่สุดท่านหนึ่ง ด้วยการบริหารงานที่เป็นตัวของตัวเองไม่ได้ยอมตามคณะรสช. ที่ได้เปลี่ยนรูปมาเป็นสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ตามมาตรา 18 ของธรรมนูญการปกครอง แต่อย่างใด ภายใต้การบริหารงานของรัฐบาลนายอานันท์ ได้สร้างให้สังคมไทยได้รู้จัก คำว่า “[[ความโปร่งใส]]” การรื้อสัมปทานโทรศัพท์สามล้านเลขหมาย เพื่อรักษาผลประโยชน์ของประเทศ รัฐบาลนายอานันท์จึงได้สร้างมิติใหม่ของรัฐบาลที่มาจากคณะรัฐประหาร นอกจากนั้นยังได้ผลักดัน[[กฎหมาย]]สำคัญหลายฉบับให้ผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ การเสนอชื่อนาย[[อานันท์ ปันยารชุน]] จึงอาจเป็นความสำเร็จไม่กี่ประการของคณะรสช. | ||
2) บทเรียนของประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ที่ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน | 2) บทเรียนของประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ที่ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ซึ่งต่อมาศาลฎีกาได้พิพากษาว่า[[ไม่ชอบด้วยกฎหมาย]] ได้กลายเป็นกรณีศึกษาสำคัญทางการเมืองในการใช้อำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องมีความรอบคอบ และได้แสดงให้เห็นถึงบทบาทที่เข้มแข็งของฝ่ายตุลาการในการรักษาไว้ซึ่งหลัก[[นิติรัฐ]] โดยบทเรียนนี้ อีก15 ปีต่อมาก็ได้นำมาสู่การระมัดระวังในการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.)โดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามประกาศคปค.ฉบับที่ 30 วันที่ 30 กันยายน 2549 | ||
3) การรัฐประหารของคณะ รสช. อาจเป็นจุดเริ่มส่วนหนึ่งของการสร้างฐานอำนาจทางการเงินในธุรกิจสัมปทานดาวเทียมไทยคม | 3) การรัฐประหารของคณะ รสช. อาจเป็นจุดเริ่มส่วนหนึ่งของการสร้างฐานอำนาจทางการเงินในธุรกิจสัมปทานดาวเทียมไทยคม ของอดีตนายกรัฐมนตรี[[ทักษิณ ชินวัตร]]ในสมัยที่ยังประกอบธุรกิจด้านสื่อสารโทรคมนาคม ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบใดๆจากการรัฐประหาร ด้วยสายสัมพันธ์ที่ดีกับคณะรสช. ทั้งนี้ก็อดคิดไม่ได้ว่าหากคณะรสช. ได้ยกเลิกไม่ให้สัมปทานดาวเทียมไทยคม อดีตนายกฯทักษิณ ก็คงไม่มีอำนาจทุนอย่างเช่นทุกวันนี้ และก็คงไม่มีกรณีการขายหุ้นในกิจการของครอบครัวให้บริษัทต่างชาติ จนกลายเป็นอีกหนึ่งชนวนความขัดแย้งของผู้คนในสังคมเมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ที่ช่วยขับกระแสต่อต้านในตัวอดีตนายกฯ ทักษิณ ขึ้นสูงเพราะความไม่ไว้วางใจในพฤติกรรมการขายหุ้นโดยไม่ต้องเสียภาษีสักบาทเดียว | ||
4) ความพยายามในการสืบทอดอำนาจของคณะ รสช. | 4) ความพยายามในการสืบทอดอำนาจของคณะ รสช. ผ่านการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ[[สุจินดา คราประยูร|พลเอกสุจินดา คราประยูร]] รองหัวหน้าคณะรสช. ซึ่งทำให้เกิดกระแสต่อต้านอย่างกว้างขวางและจบลงด้วยเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 นับเป็นบทเรียนสำคัญต่อผู้ที่คิดจะทำการรัฐประหาร และพึ่งตระหนักว่าการรัฐประหารนับเป็นสิ่งที่ไม่เข้ากับยุคสมัยของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก อีกทั้งพลังของประชาชนชาวไทยก็พร้อมที่จะออกมาเมื่อเห็นว่ามีความไม่ชอบธรรมเกิดขึ้น ดังจะเห็นได้จากการชุมนุมของประชาชนจำนวนมากบนท้องถนนราชดำเนินที่ไม่เคยเห็นมานานนับตั้งแต่เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 | ||
==ที่มา== | ==ที่มา== | ||
รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:31, 20 เมษายน 2554
ผู้เรียบเรียง กิตติพงศ์ กมลธรรมวงศ์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
คำสั่งและประกาศของคณะ รสช. กับการเมืองไทย
คณะ รสช. หรือในชื่อเต็ม คือ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เป็นคณะรัฐประหารภายใต้การนำของพลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้นได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรัฐบาลที่มีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 17 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ด้วยข้อกล่าวหาที่รุนแรงว่าเป็นรัฐบาลบุฟเฟ่คาร์บิเน็ต์ซึ่งมีการทุจริตคอร์รัปชั่นในรัฐบาลอย่างมหาศาล โดยเป็นการรัฐประหารครั้งที่ 11 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย หลังจากที่ประเทศไทยได้ว่างเว้นการรัฐประหารมานานถึงสิบห้าปีนับจากการรัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่นำโดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
การรัฐประหารครั้งนี้ได้ทำให้บรรยากาศประชาธิปไตยเต็มใบซึ่งเพิ่งเริ่มต้นได้ไม่นานสิ้นสุดลง ด้วยการพ้นจากตำแหน่งของพลเอกชาติชาย ชุณหวัณ ที่เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คนแรกในรอบสิบกว่าปีนับจากนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนล่าสุดคือม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปปัตย์ ที่ถูกรัฐประหารไปภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 โดยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหน้าพรรคชาติไทย ส.ส.นครราชสีมาได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 สืบต่อจากอดีตนายกรัฐมนตรีพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ที่ครองอำนาจมายาวนานถึงแปดปี อันเป็นการปิดฉากของประชาธิปไตยครึ่งใบของไทยลง
ในสมัยของพลเอกชาติชายแม้จะได้บริหารประเทศ ซึ่งได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายเรื่องที่สำคัญ เช่น นโยบายเปลี่ยนสนามรบให้เป็นสนามการค้าในความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน การพัฒนาประเทศที่มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจากผลบุญที่รัฐบาลเปรมได้วางรากฐานไว้ให้กับเศรษฐกิจไทย การยกเลิกประกาศคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 42 หรือที่รู้จักกันดีว่า ปร. 42 ที่ลดทอนเสรีภาพของสื่อมวลชนไทย แต่การเป็นรัฐบาลก็ไม่ได้ราบรื่นนักด้วยสภาพของการเป็นรัฐบาลผสมที่ประกอบด้วยหลายพรรคการเมือง นอกจากนี้ยังปรากฏข่าวเรื่องการทุจริตและความขัดแย้งระหว่างบุคคลในรัฐบาลและกลุ่มทหาร โดยในที่สุดพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณได้แก้ปัญหาทางการเมืองที่รุมเร้าด้วยการลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2533 และจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่กลับเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2533 รวมระยะเวลาการบริหารสมัยแรกประมาณ 2 ปีกว่า แต่ทว่าในสมัยที่สองของรัฐบาลชาติชายก็บริหารงานได้ไม่นานนักเพียงสองเดือนกว่าก็ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยการรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534
การรัฐประหารครั้งนี้แม้ในตอนแรกจะไม่ปรากฏเสียงคัดค้านมากนักจากสังคม เพราะเชื่อเหตุผลการทำรัฐประหารในเรื่องการทุจริต คอรัปชั่นของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่หลังจากนั้นเพียงหนึ่งปีความจริงหลายอย่างก็ปรากฎในความพยายามของการสืบทอดอำนาจของคณะรสช.ภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 22 มีนาคม 2535 เมื่อประเทศมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 โดยการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตผู้บัญชาการทหารบกและเป็นหนึ่งในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ด้วยเหตุผลคำพูดที่ว่า “เสียสัตย์ เพื่อชาติ” ซึ่งในที่สุดได้กลายเป็นความขัดแย้งทางการเมืองมีการอดข้าวประท้วงของ รต. ฉลาด วรฉัตร หน้าอาคารรัฐสภา ต่อมา พลตรีจำลอง ศรีเมือง หัวหน้าพรรคพลังธรรมก็ได้เข้าร่วมอดข้าวประท้วงด้วย และต่อมาได้ลุกลามใหญ่โตไปเป็นการชุมนุมประท้วงของประชาชนบนถนนราชดำเนินและจบลงด้วยเหตุการณ์พฤษภาคมทมิฬ 2535 ที่มีการใช้กำลังอาวุธสลายการชุมนุมของประชาชนระหว่างวันที่ 17-20 พฤษภาคม
ท้ายที่สุดด้วยพระบารมีปกเกล้าของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อค่ำของวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 ได้ทรงมีพระราชดำรัสแก่คู่ขัดแย้งในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองที่เข้าเฝ้า ได้แก่ พลเอกสุจินดา คราประยูร พลตรีจำลอง ศรีเมือง โดยพระองค์ทรงมีพระราชดำรัสพระราชทานความว่า
“คงเป็นที่แปลกใจ ทำไมถึงเชิญให้ท่านมาพบกันอย่างนี้ เพราะว่าทุกคนก็ทราบว่า เหตุการณ์มีความยุ่งเหยิงอย่างไร และทำให้ประเทศชาติล่มจมได้. แต่ที่จะแปลกใจก็อาจมีว่า ทำไมเชิญพลเอกสุจินดา คราประยูร และ พลตรีจำลอง ศรีเมือง เพราะว่า อาจมีผู้ที่แสดงเป็นตัวละครมากกว่านี้ แต่ว่าที่เชิญมาเพราะว่า ตั้งแต่แรกที่มีเหตุการณ์ สองท่านเป็นผู้ที่เผชิญหน้ากัน, แล้วก็ในที่สุด เป็นการต่อสู้ หรือการเผชิญหน้ากว้างขวางขึ้น ถึงได้เชิญ 2 ท่านมา
การเผชิญหน้าตอนแรก ก็จะเห็นจุดประสงค์ของทั้ง 2 ฝ่ายได้ชัดเจนพอสมควร, แต่ต่อมาภายหลัง 10 กว่าวัน ก็เห็นแล้วว่า การเผชิญหน้านั้น เปลี่ยนโฉมหน้าไปอย่างมาก จนกระทั่งออกมาอย่างไรก็ตาม เสียทั้งนั้น, เพราะว่า ทำให้มีความเสียหาย ในทางชีวิต เลือดเนื้อของคนจำนวนมากพอสมควร แล้วก็ความเสียหายทางวัตถุ ซึ่งเป็นของส่วนราชการ และส่วนบุคคลเป็นมูลค่ามากมาย นอกจากนี้ก็มีความเสียหายในทางจิตใจ และในทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ อย่างที่จะนับพรรณนาไม่ได้
ฉะนั้นการที่จะเป็นไปอย่างนี้ต่อไป จะเป็นเหตุผลหรือต้นตออย่างไรก็ช่าง เพราะเดี๋ยวนี้เหตุผลเปลี่ยนไป ถ้าหากว่าเผชิญหน้ากันแบบนี้ต่อไป เมืองไทยมีแต่ล่มจมลงไป แล้วก็จะทำให้ประเทศไทย ที่เราสร้างเสริมขึ้นมาอย่างดี เป็นเวลานาน จะกลายเป็นประเทศที่ไม่มีความหมาย หรือมีความหมายในทางลบเป็นอย่างมาก ซึ่งก็เริ่มปรากฏผลแล้ว ฉะนั้นจะต้องแก้ไข โดยดูว่ามีข้อขัดแย้งอย่างไร แล้วก็พยายามที่จะแก้ไขตามลำดับ เพราะว่าปัญหา ที่มีอยู่ทุกวันนี้ สองสามวันนี้มันเปลี่ยนไป ปัญหาไม่ใช่เรื่องเรียกว่า ของการเมือง หรือ เรียกว่า ของการดำรงตำแหน่ง เป็นปัญหาของการสึกหรอของประเทศชาติ ฉะนั้นจะต้องช่วยกันแก้ไข
มีผู้ที่ส่งข้อแนะนำ ในการแก้ไขสถานการณ์มาหลายฉบับ หลายคนจำนวนเป็นร้อย แล้วก็ทั้งในเมืองไทย ทั้งต่างประเทศที่ส่งมา ที่เขาส่งมาการแก้ไข หรือข้อแนะนำว่า เราควรจะทำอะไรก็มี ก็มีต่างๆ นานา ตั้งแต่ตอนแรกบอกว่าแก้ไขวิธียุบสภา ซึ่งก็ได้หารือกับทางทุกฝ่ายที่เป็นสภา หมายความว่า พรรคการเมืองทั้งหมด 11 พรรคนี้ คำตอบมีว่าไม่ควรยุบสภา มี 1 รายที่บอกว่าควรยุบสภา ฉะนั้นการที่จะแก้ไข แบบที่เขาเสนอมานั้น ก็เป็นอันว่าตกไป นอกจากนั้นก็มีเป็นฎีกา และแนะนำวิธีต่างๆ กัน ซึ่งได้พยายามเสนอไปตามปกติ คือเวลามีฎีกาขึ้นมา ก็ส่งไปให้ทาง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี หรือสำนักนายกรัฐมนตรี แต่ก็ไม่สามารถที่จะแก้ไขตามแบบนั้น ตกลงมีแบบยุบสภา และมีอีกแบบหนึ่ง ก็เป็นแบบแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อให้ได้ตามประสงค์ที่ต้องการ หมายความว่าประสงค์เดิม ที่เกิดเผชิญหน้ากัน
ความจริงวิธีนี้ถ้าจำได้ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2534 ก็ได้พูดต่อสมาคม ที่มาพบจำนวนหลายพันคน แล้วก็ดูเหมือนว่าพอฟังกัน ฟังกันโดยดี เพราะเหตุผลที่มีอยู่ในนั้น ดูจะแก้ปัญหาได้พอควร ตอนนี้ก็พอย้ำว่าทำไมพูดอย่างนั้น ว่าถ้าจะแก้ก่อนออกก็ได้ หรือออกก่อนแก้ก็ได้ (พระราชดำรัส 4 ธันวาคม 2534) อันนั้นทุกคนก็ทราบดีว่าเรื่องอะไร ก็เป็นเรื่องรัฐธรรมนูญ ซึ่งครั้งนั้น การแก้รัฐธรรมนูญก็ได้ทำมาตลอด มากกว่าฉบับเดิมที่ตั้งเอาไว้ได้แก้ไข แล้วก็ก่อนที่ไปพูดที่ศาลาดุสิดาลัย ก็ได้พบพลเอกสุจินดา ก็ขออนุญาตเล่าให้ฟัง แล้วพลเอกสุจินดาก็เห็นด้วยว่า ควรจะประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และแก้ไขต่อไปได้ อันนี้ก็เป็นสิ่งที่ทำได้ และตอนหลังนี้ พลเอกสุจินดาก็ได้ยืนยันว่า แก้ไขได้ก็ค่อยๆ แก้เข้าระเบียบให้เป็นที่เรียกว่า ประชาธิปไตย อันนี้ก็ได้พูดมาตั้งหลายเดือนแล้ว ในวิธีการที่จะแก้ไข แล้วข้อสำคัญ ที่ทำไมอยากให้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ แม้จะถือว่ารัฐธรรมนูญนั้นยังไม่ครบถ้วน ก็เพราะเหตุว่ารัฐธรรมนูญนั้น มีคุณภาพพอใช้ได้ ดีกว่าธรรมนูญการปกครองชั่วคราว ที่ใช้มาเกือบปี เพราะเหตุว่ามีบางข้อบางมาตราซึ่งเป็นอันตราย, แล้วก็ไม่ครบถ้วนในการที่จะปกครองประเทศ ฉะนั้นก็นึกว่า ถ้าหากว่าสามารถที่จะปฏิบัติตามที่ได้พูดในวันที่ 4 ธันวาคมนั้นก็นึกว่า เป็นการกลับไปดูปัญหาเดิม ไม่ใช่ปัญหาของวันนี้
ปัญหาของวันนี้ ไม่ใช่ปัญหาของการบัญญัติ หรือแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทุกวันนี้คือความปลอดภัย ขวัญดีของประชาชน. ซึ่งเดี๋ยวนี้ประชาชนทั่วไปทุกแห่งทุกหน มีความหวาดระแวงว่าจะเกิดอันตราย มีความหวาดระแวงว่า ประเทศชาติจะล่มจม โดยที่จะแก้ไขลำบากตามข่าวที่ได้ทราบมาจากต่างประเทศ เพราะเหตุว่าในขณะนี้ ทั้งลูกชายทั้งลูกสาวก็อยู่ต่างประเทศ ทั้งสองก็ทราบดี แล้วก็ได้พยายามที่จะแจ้งให้กับ คนที่อยู่ในประเทศเหล่านั้นว่า ประเทศไทยนี้ยังแก้ไขสถานการณ์ได้ แต่รู้สึกว่าจะเป็นความคิด ที่เป็นความคิดแบบหวังสูงไปหน่อย, ถ้าหากว่าเราไม่ทำให้สถานการณ์อย่าง 3 วันที่ผ่านมานี้สิ้นสุดไปได้. ฉะนั้นก็ขอให้โดยเฉพาะสองท่าน คือ พลเอกสุจินดา และพลตรีจำลองช่วยกันคิด คือ หันหน้าเข้าหากัน, ไม่ใช่เผชิญหน้ากัน เพราะว่าเป็นประเทศของเรา ไม่ใช่ประเทศของหนึ่งคนสองคน เป็นประเทศของทุกคน เข้าหากันไม่เผชิญหน้ากันแก้ไขปัญหา เพราะปัญหามีอยู่ที่เวลาเกิดจะใช้คำว่าบ้าเลือด, เวลาคนมีการปฏิบัติรุนแรงมันลืมตัว ลงท้ายเขาไม่รู้ว่าตีกันเพราะอะไร, แล้วก็จะแก้ปัญหาอะไร เพียงแต่ว่าจะต้องเอาชนะ แล้วก็ใครจะชนะ ไม่มีทาง อันตรายทั้งนั้น มีแต่แพ้ คือต่างคนต่างแพ้ ผู้ที่เผชิญหน้าก็แพ้ แล้วที่แพ้ที่สุดก็คือประเทศชาติ ประชาชนจะเป็นประชาชนทั้งประเทศ ไม่ใช่ประชาชน เฉพาะในกรุงเทพมหานคร ถ้าสมมติว่า เฉพาะในกรุงเทพมหานครเสียหายไป ประเทศก็เสียหายไปทั้งหมด แล้วก็จะมีประโยชน์อะไรที่จะทะนงตัวว่าชนะ เวลาอยู่บนกองซากปรักหักพัง
ฉะนั้นจึงขอให้ทั้งสองท่านเข้ามา คือไม่เผชิญหน้ากัน แต่หันเข้าหากัน, และสองท่าน เท่ากับเป็นผู้แทนฝ่ายต่างๆ คือไม่ใช่สองฝ่าย ฝ่ายต่างๆ ที่เผชิญหน้ากัน ให้ช่วยกันแก้ปัญหาปัจจุบันนี้ คือความรุนแรงที่เกิดขึ้น แล้วก็เมื่อเยียวยาปัญหานี้ได้แล้ว จะมาพูดกัน ปรึกษากันว่าจะทำอย่างไร? สำหรับให้ประเทศไทย ได้มีการสร้างพัฒนาขึ้นมาได้ กลับคืนมาได้ด้วยดี อันนี้ก็เป็นเหตุผลที่เรียกท่านทั้งสองมา และก็เชื่อว่าทั้งสองท่าน ก็เข้าใจว่า จะเป็นผู้ที่ได้สร้างประเทศจากซากปรักหักพัง แล้วก็จะได้ผลในส่วนตัวมากว่าได้ทำดีิ แก้ไขอย่างไรก็แล้วแต่ที่จะปรึกษากัน ก็มีข้อสังเกตดังนี้ ท่านสัญญา ธรรมศักดิ์ ท่านเปรม ติณสูลานนท์ ก็เป็นผู้ใหญ่ ผู้พร้อมที่จะให้คำปรึกษาหารือกัน ด้วยความเป็นกลาง ด้วยความรักชาติ เพื่อสร้างสรรค์ประเทศ ให้เข้าสู่ความปลอดภัยในเร็ววัน ขอฝากให้ช่วยกันสร้างชาติ”
หลังจากการเข้าเฝ้าครั้งนั้นที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ร่วมการเฉพาะกิจไม่นาน พลเอกสุจินดา คราประยูรก็ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 เป็นการปิดฉากอำนาจของคณะรสช. ที่ได้ทำการรัฐประหารและมีความพยายามในการสืบทอดอำนาจผ่านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี บุคคลในคณะรสช.ต่างเก็บตัวเองไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง และจากการใช้กำลังความรุนแรงของทหารในเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 35 ก็ได้ส่งผลให้กองทัพต้องกลับเข้ากรมกองไป ด้วยบาดแผลที่สังคมไทยตราหน้าว่าเป็นคนใช้อาวุธทำร้ายประชาชน
องค์ประกอบของคณะรสช.
นอกเหนือจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ คณะรสช.ยังประกอบด้วยบุคคลอื่นในคณะที่เป็นนายทหารระดับสูงทุกกองทัพ ได้แก่ พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก พลเรือเอกประพัฒน์ กฤษณะจันทร์ ผู้บัญชาการทหารเรือ พลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ โดยทั้งสามท่านดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าคณะ รสช. และพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก ดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะรสช. ซึ่งต่อมาได้มีการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการตามประกาศคณะรสช. ฉบับที่ 2 เรื่อง แต่งตั้งบุคคลสำคัญดำรงตำแหน่งในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534
ในความสัมพันธ์ส่วนตัวของสมาชิกคณะรสช.นั้นหากสังเกตให้ดีก็จะพบว่ารองผู้บัญชาการแต่ละกองทัพที่ดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าคณะ รสช.นั้น ต่างก็เป็นเพื่อนรุ่นเดีนวกันที่สำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จ.ป.ร. 5) ทั้งสิ้น
ต่อมาภายหลังที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติก็ได้เปลี่ยนสภาพไปเป็นสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 18 ของธรรมนูญประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นบุคคลตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 และประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 5 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 โดยประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ อาจแต่งตั้งกรรมการสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเพิ่มขึ้นได้อีกไม่เกินสิบห้าคน
สำหรับอำนาจของสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นไปตามมาตรา 19 ของธรรมนูญที่ให้มีอำนาจหน้าที่ร่วมกับคณะรัฐมนตรีในการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินที่คณะรัฐมนตรีจะแถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเสนอแนะหรือให้ความคิดเห็นในเรื่องใดๆที่เห็นว่าจะเป็นประโยชน์แก่คณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดิน และมีอำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในธรรมนูญการปกครองนี้ ซึ่งอำนาจสำคัญมีอยู่ในมาตราอื่นๆได้แก่
มาตรา 20 การขอให้มีการประชุมร่วมกันของสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี เพื่อร่วมพิจารณาและแก้ไขปัญหาใดๆอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน ในกรณีที่เห็นสมควรโดยประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
มาตรา 21 ประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีกราบบังคมทูลให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และในมาตรา 22 มีอำนาจในการถวายคำแนะนำพระมหากษัตริย์ให้นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง
เหตุแห่งการเกิดการรัฐประหารโดย คณะ รสช.
การเกิดขึ้นของคณะรสช. ที่ได้ทำการรัฐประหารเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 นั้น มีเค้าลางของสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่ปรกติมาก่อนหน้านี้พอสมควร ซึ่งปรากฏเป็นการขัดแย้งและตอบโต้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มนายทหารและนักการเมืองได้แก่รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รตอ.เฉลิม อยู่บำรุง ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ขณะนั้น ก็มีเหตุการณ์ที่สร้างความไม่ไว้วางใจกับกองทัพกรณีรถโมบายของช่อง 9 อสมท. แต่ทั้งนี้ชนวนความขัดแย้งระหว่างกองทัพและรัฐบาลได้มาถึงจุดแตกหักในวันที่ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณตัดสินใจที่จะให้พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก อดีตผู้บัญชาการทหารบก เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งพลเอกอาทิตย์ กำลังเอก นั้นเป็นบุคคลที่ผู้นำกองทัพขณะนั้นไม่สนับสนุน
ในที่สุดการรัฐประหารก็เกิดขึ้น ด้วยการจับกุมตัวพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน พร้อมคณะผู้ติดตาม บนเครื่องบินซี 130 ของกองทัพพอากาศขณะที่จะทยายนำคณะบินไปจังหวัดเชียงใหม่เพื่อเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ เมื่อเวลา 11 นาฬิกาของวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 โดยตอนแรกประชาชนทั่วไปได้รับทราบ เหตุผลของการรัฐประหารโดยคณะรสช.ที่มีการประกาศอย่างเป็นทางการในคำชี้แจงเหตุผลการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ ตามแถลงการณ์คณะรสช.ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 มีทั้งสิ้น 5 ประการ ได้แก่
ประการแรก พฤติการณ์การฉ้อราษฎร์บังหลวง
คณะผู้บริหารประเทศ ได้ฉวยโอกาสอาศัยอำนาจตามตำแหน่งหน้าที่ทางการเมืองแสวงหาประโยชน์ให้กับตนเองและพรรคพวก อย่างรุนแรงที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนกลายเป็นเรื่องปกติธรรมดาของรัฐมนตรีเกือบทุกคน ที่จะต้องแสวงหาเงินเพื่อสร้างฐานะความร่ำรวยเป็นฐานอำนาจทางการเมืองของตนอง และพรรคพวกต่อไป ดังจะเห็นได้จากโครงการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง จะมีนักการเมืองในระดับรัฐบาล เข้ามามีส่วนผลักดันให้เกิดขึ้นโดยอ้างถึงประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ แต่แท้ที่จริงแล้วเป็นการอำพรางการแสวงหาประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ เท่านั้น ทั้งๆ ที่รู้อยู่แก่ใจว่ามีการฉ้อราษฎร์บังหลวงกันอย่างกว้างขวางในกลุ่มนักการเมืองระดับรัฐมนตรี รวมทั้งข้าราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจระดับสูงบางท่านก็ตาม แต่นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลกลับไม่เอาใจใส่ที่จะแก้ไขอย่างจริงจัง นอกจากนั้นประพฤติมิชอบเสียเอง โดยอ้างเหตุผลต่างๆ นานา เป็นการบังหน้าและกลับแสดงความบริสุทธิ์ของผู้ถูกกล่าวหาด้วยยืนยันว่า หากพบเห็นผู้ใดประพฤติมิชอบ ให้นำใบเสร็จมายืนยันด้วย เมื่อการฉ้อราษฎร์บังหลวงได้เติบโตอย่างรวดเร็วและรุนแรง จนไม่สามารถจะหยุดยั้งได้ หากขืนปล่อยทิ้งไว้อาจสร้างความหายนะอย่างถึงที่สุดให้กับชาติบ้านเมืองได้ จึงเป็นเหตุผลความจำเป็นประการแรกที่จะต้องเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ
ประการที่ 2 ข้าราชการการเมืองใช้อำนาจกดขี่ข่มแหงข้าราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต
จากการที่ข้าราชการการเมือง ได้เข้าไปมีบทบาทและอำนาจสูงสุดในแต่ละส่วนราชการ จึงได้ถือโอกาสนี้สร้างบารมีทางการเมือง หาสมัครพรรคพวกเพื่อเป็นฐานคะแนนเสียง เพื่อแสวงหาประโยชน์ให้ตนเองและพรรคพวก จึงทำให้ช้าราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต ไม่ยอม ตกเป็นเครื่องมือของนักการเมือง รับราชการไม่เจริญก้าวหน้า ถูกข่มเหงรังแก หากมิยอมเป็นพรรคพวก หลายท่านต้องลาออกจากราชการ สิ่งเหล่านี้เป็นความเจ็บช้ำน้ำใจของข้าราชการประจำที่ไม่มีหนทางต่อสู้ จึงนับว่าเป็นการทำลายขวัญกำลังใจและขนบธรรมเนียมประเพณีของข้าราชการอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนในอดีต ปัญหาข้อนี้จึงเป็นเหตุผล ประการที่ 2 ของการยึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ
ประการที่ 3 รัฐบาลเป็นเผด็จการทางรัฐสภา
นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลได้ร่วมมือกับพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลรวมทั้ง คณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีบ้านพิษณุโลก ได้ใช้อุบายอันแยบยลทางการเมืองโดยสร้างภาพ ลวงตาประชาชนว่าเป็นการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย แล้วพลิกแพลงหาประโยชน์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วไปว่าแท้จริงแล้วเนื้อหาของการปฏิบัติทางการเมืองของรัฐบาลชุดนี้ได้ใช้ผลประโยชน์เป็นส่วนนำนักการเมืองระดับรัฐมนตรีที่ทำหน้าที่ฝ่ายบริหาร รวมทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ นำประเทศไปสู่การปกครองในรูปแบบเผด็จการทางรัฐสภา โดยมีประชาธิปไตยบังหน้า เป็นการรวมอำนาจการปกครองไว้ได้โดยสิ้นเชิง เมื่อเป็นเช่นนี้การวางตัวบุคคลในตำแหน่งสำคัญทั้งทางการเมือง และข้าราชการประจำ จึงตกอยู่กับพรรคพวกของนายกรัฐมนตรีทั้งสิ้น และเป็นช่องทางที่ก่อให้เกิดการกอบโกยผลประโยชน์อย่างมหาศาล ที่ไม่มีบุคคลใดจะสามารถต่อต้านหรือทัดทานได้ จึงนับว่าเป็นภัยอันตรายอย่างยิ่งต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ประการที่ 4 การทำลายสถาบันทางทหาร
สถาบันทางทหารเป็นสถาบันข้าราชการประจำเพียงสถาบันเดียวที่ไม่ยอมตกอยู่ใต้อิทธิพลทางการเมืองของนักการเมือง พรรคการเมือง ถึงแม้ว่ารัฐบาลชุดปัจจุบันจะได้ใช้ความพยายามนานัปการ เพื่อบีบบังคับทำลายเอกภาพ ความรัก ความสามัคคีภายในกองทัพอย่างต่อเนื่องตลอดมาก็ตาม แต่ก็ไม่อาจสามารถกระทำได้ จากภาพโดยส่วนรวมทั่ว ๆ ไป จะเห็นว่ารัฐบาลได้เผชิญหน้ากับฝ่ายทหารมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นกรณีลิตเติลดัก รถสื่อสารเคลื่อนที่ (รถโมไบล์) การไม่ปลดร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง จากการเป็นรัฐมนตรีตามสัญญาสุภาพบุรุษ การปล่อยข่าวการปลดผู้นำทางทหาร เป็นต้น จากการกระทำด้วยเล่ห์เพทุบายทำลายฝ่ายทหารดังกล่าว ฝ่ายทหารจึงไม่สามารถจะอดกลั้นอีกต่อไปได้ และเป็นเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการยึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศในครั้งนี้ขึ้น
ประการที่ 5 การบิดเบือนคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
เมื่อปี 2525 ประมาณ 9 ปีเศษที่ผ่านมา พลตรี มนูญ รูปขจรและพรรคพวกได้บังอาจคบคิดวางแผนทำลายล้างราชวงศ์จักร เพื่อล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์เปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู่แบบที่ตนเองและคณะกำหนดไว้ การวางแผนการชั่วร้ายดังกล่าวไม่สามารถกระทำได้สำเร็จ พลตรี มนูญฯ และพรรคพวก จำนวนถึง 43 คน ถูกจับกุมในที่สุด และได้รับการช่วยเหลือจากกลุ่มคณะบุคคลที่มีอิทธิพลทางการเมืองให้ได้รับการประกันตัว จนสามารถก่อการปฏิวัติได้อีกถึง 3 ครั้ง นอกจากนั้นยังได้รับการอุ้มชูจาก พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรี ให้ได้รับการเติบโตในอาชีพรับราชการทหารจนเป็นนายทหารชั้นนายพลโดยรวดเร็ว ทั้งที่กระทำผิดโทษฐานก่อการกบฏและต้องคดีลอบสังหารบุคคลสำคัญ
โดยเฉพาะคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ก็พยายามที่จะเบี่ยงเบนความเป็นจริงและโยนความผิดให้ผู้อื่น ซึ่งสร้างความโกรธแค้นให้แก่พี่น้องประชาชน ผู้จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นอย่างยิ่ง การกระทำอันแสดงออกถึงความไม่จงรักภักดีเช่นนี้ เป็นเรื่องสำคัญที่สุดเหล่าทหารไม่สามารถจะอดทน อดกลั้นได้อีกต่อไป จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันทั้ง 3 เหล่าทัพ รวมทั้งฝ่ายพลเรือนและตำรวจ เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ
เหตุผลในการรัฐประหารทั้ง 5 ประการ ข้างต้นของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ต่อมาสังคมไทยก็ได้รับรู้ถึงเบื้องหลังโดยมีการเปิดเผยความจริงจากการให้สัมภาษณ์ของบุคคลฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง ว่าเหตุผลในเรื่องการทุจริตคอร์รัปชั่นของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณนั้นที่เป็นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสาเหตุ ขณะที่เหตุผลหลักคือความขัดแย้งระหว่างกองทัพและรัฐบาลโดยมีความไม่มั่นใจของผู้นำกองทัพที่กลัวว่าตนเองอาจจะถูกปลดจากตำแหน่ง หากปล่อยให้พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก ได้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
แถลงการณ์และประกาศของคณะ รสช.
การรัฐประหารครั้งนี้เช่นเดียวกับทุกครั้งที่ได้มีการออกแถลงการณ์ และประกาศของคณะรสช. เพื่อชี้แจงเหตุการณ์ การแต่งตั้งบุคคลดำรงตำแหน่งและบางฉบับก็มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย ซึ่งมีทั้งที่ประกาศใช้เป็นกฎหมายใหม่ การยกเลิก การแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติและการออกคำสั่งทางกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 56 ฉบับ[1]
หากพิจารณาถึงแถลงการณ์และประกาศของคณะรสช.ที่สำคัญที่ส่งผลกับการเมืองไทยจะมีฉบับสำคัญๆ ดังนี้
1. แถลงการณ์คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เรื่องคำชี้แจงเหตุผลการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534)
2. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เรื่อง การสิ้นสุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วุฒิสภาสภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรี และการปฏิบัติงานตามปรกติขององค์มนตรีและศาลทั่วประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534)
3. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 20 เรื่อง พระราชบัญญัติ พรคคการเมือง ห้ามพรรคการเมืองประชุมหรือดำเนินกิจกรรมอื่นใดทางการเมือง (23 กุมภาพันธ์ 2534)
4. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 เรื่อง ให้อายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน (25 กุมภาพันธ์ 2534)
5. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 34 เรื่อง ขอความร่วมมือแจ้งหลักฐานเบาะแสความร่ำรวยผิดปรกติของนักการเมืองเพิ่มเติม (28 กุมภาพันธ์2534)
6. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 35 เรื่อง ปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 (28 กุมภาพันธ์ 2534)
7. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 37 เรื่อง การแก้ไขประมวลรัษฎากร (28 กุมภาพันธ์ 2534)
8. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 38 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการตำรวจ (28 กุมภาพันธ์ 2534)
9. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 39 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก (28 กุมภาพันธ์ 2534)
10. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 40 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2520 (28 กุมภาพันธ์ 2534 )
11. ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 44 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ (28 กุมภาพันธ์ 2534)
12.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 45 เรื่อง ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินเพิ่มเติม (28 กุมภาพันธ์ 2534)
13.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 47 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (28 กุมภาพันธ์ 2534)
14.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 48 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (28 กุมภาพันธ์ 2534)
15.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 49 เรื่อง การแก้ไขกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ (28 กุมภาพันธ์ 2534)
16.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 51 เรื่อง การดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินของบุคคลที่ถูกอายัด (28 กุมภาพันธ์ 2534)
17.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 54 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 (28 กุมภาพันธ์ 2534)
18.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 55 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 (28 กุมภาพันธ์ 2534)
19.ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 56 เรื่อง กรรมการของรัฐวิสาหกิจ (28 กุมภาพันธ์ 2534)
ผลกระทบของแถลงการณ์และประกาศคณะรสช. กับการเมืองไทย
อาจกล่าวได้ว่าการเมืองไทยได้รับผลกระทบจากการรัฐประหารของคณะ รสช.ในปี พ.ศ. 2534 มาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งในตอนแรกสังคมไทยขณะนั้นอาจไม่รู้สึกว่าเกิดผลกระทบขึ้นมากนัก เพราะการรัฐประหารถือเป็นวิธีการหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองไทยในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นหลายครั้ง และสังคมไทยก็ยอมรับที่จะอยู่กับผู้ชนะ เนื่องจากภาวะความหวาดกลัวในอำนาจทหารที่มีความเด็ดขาด บรรยากาศการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่ยังไม่ตื่นตัว และมีประเด็นที่น่าคิดว่าภายหลังเหตุการณ์ล้อมปรามนักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 พลังของนักศึกษาในการเรียกร้องประชาธิปไตยก็ลดน้อยลงเป็นอันมาก ทั้งนี้ในการรัฐประหารแต่ละครั้งได้นำมาซึ่งผู้ปกครองที่เป็นกลุ่มอำนาจใหม่และตลอดการรัฐประหารที่ผ่านมา ก็คือ กลุ่มนายทหารจากกองทัพบกที่ใช้การรัฐประหารเป็นเครื่องมือในการต่อสู้แย่งชิงอำนาจทั้งจากทหารด้วยกัน หรือรัฐบาลพลเรือน แต่การรัฐประหารโดยคณะ รสช. นี้กลับเป็นการรัฐประหารที่ไม่สามารถสืบทอดอำนาจได้ยืนยาวนัก เพราะประชาชนได้รู้ทันถึงเหตุผลเบื้องหลังการรัฐประหาร และต้องปิดฉากอย่างรวดเร็วในอีกหนึ่งปีต่อมาภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ที่ทหารตกเป็นจำเลยของสังคม ทำให้ทหารต้องยุติบทบาทในการเข้ามาเกี่ยวข้องกับทางการเมืองลง และมีความพยายามทุกภาคส่วนที่จะทำให้ทหารเป็นทหารอาชีพ ซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้เด่นชัดอาจสังเกตได้จากคำขวัญที่ปรากฏอยู่ ณ หน่วยทหารต่างๆ จากเดิมที่มีเพียง “เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” เปลี่ยนมาเป็น “เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน ”
ผลกระทบของแถลงการณ์และประกาศคณะรสช. กับการเมืองไทย หากวิเคราะห์ให้ดีนั้นจะปรากฎอยู่ในสองลักษณะ กล่าวคือ
1)ผลกระทบที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดลงในช่วงเวลาที่ไม่นานนัก จากอำนาจบังคับตามประกาศของคณะรสช. ที่ประกาศใช้และบางส่วนหมดก็ไปภายหลังที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 สำหรับประเด็นนี้จะพบว่าประกาศของคณะรสช.ฉบับสำคัญที่มีผลทางการเมืองไทย คือประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เรื่อง การสิ้นสุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรี และการปฏิบัติงานตามปรกติขององค์มนตรีและศาลทั่วประเทศ (23 กุมภาพันธ์ 2534) นำมาซึ่งการสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 ที่ใช้บังคับมานาน 13 ปี และที่สิ้นสุดลงตามไปด้วยคือวุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร และคณะรัฐมนตรี ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนการรัฐประหาร แต่ทั้งนี้สถาบันทางการเมืองที่ไม่สิ้นสุดลงไปด้วย คือ คณะองค์มนตรีและศาลที่เป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการ
การสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและสถาบันทางการเมืองที่สำคัญในฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารเป็นข้อเท็จจริงตามธรรมชาติของการรัฐประหารที่เป็นมาในประวัติศาสตร์ โดยคณะรัฐประหารผู้ยึดอำนาจจะเข้ามาเป็นรัฎฐาธิปัตย์ แทน ซึ่งในระบบกฎหมายไทยก็ยอมรับในประด็นนี้ตามนัยคำพิพากษาศาลฎีกาที่มีการวินิจฉัยเกี่ยวกับความชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งของรัฐประหาร เช่น
คำพิพากษาฎีกาที่ 1662/2505 “ในพ.ศ.2501 คณะปฏิวัติได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยได้เป็นผลสำเร็จ หัวหน้าคณะปฏิวัติย่อมเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบ้านเมือง ข้อความใดที่หัวหน้าคณะปฏิวัติสั่งบังคับประชาชนก็ต้องถือว่าเป็นกฎหมาย แม้พระมหากษัตริย์จะมิได้ทรงตราออกด้วยคำแนะนำหรือยินยอมของสภาผู้แทนราษฎรก็ตาม”
คำพิพากษาฎีกาที่ 1234/2523 “แม้จะมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยออกประกาศใช้แล้วก็ตาม แต่ก็หาได้มีกฎหมายยกเลิกประกาศหรือคำสั่งคณะปฏิวัติหรือคณะปฏิรูปการปกครองผ่นดินไม่ ประกาศหรือคำสั่งนั้นจึงยังคงเป็นกฎหมายใช้บังคับอยู่”
ที่ผ่านมาการรัฐประหารย่อมนำมาซึ่งการสิ้นสุดรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับ นอกจากนั้นก็จะมีการยกเลิกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ เช่นกฎหมายเลือกตั้งและกฎหมายพรรคการเมือง ตามไปด้วย แต่ทั้งนี้คณะรสช. ได้ทำการในสิ่งที่แตกต่างจากการรัฐประหารครั้งก่อนๆ ที่ไม่ได้ยกเลิกกฎหมายพรรคการเมือง โดยตามประกาศคณะรสช. ฉบับที่ 20 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 เรื่องพระราชบัญญัติ พรรคการเมือง ห้ามพรรคการเมืองประชุมหรือดำเนินกิจกรรมอื่นใดทางการเมือง ได้มีการชี้แจงเหตุผลในประกาศฉบับดังกล่าวว่า
“ ... คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติมีเจตนารมณ์ที่จะให้การดำเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ภายหลังที่สถานการณ์เข้าสู่ปรกติแล้ว คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ จึงยังไม่ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ.2524 เพื่อให้พรรคการเมืองยังคงสภาพอยู่ได้ต่อไป แต่เพื่อประโยชน์ในการรักษาความสงบเรียบร้อย จึงห้ามมิให้พรรคการเมืองที่มีอยู่แล้วดำเนินการประชุมหรือดำเนินกิจกรรมใดๆทางการเมือง และการดำเนินการเพื่อการจัดตั้งหรือจดทะเบียนพรรคการเมืองให้ระงับไว้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้จนกว่าจะได้มีประกาศเป็นอย่างอื่น “
เมื่อพิจารณาถึงประกาศของคณะ รสช. อื่นๆประกาศรสช. ที่รู้จักกันดีและเป็นประเด็นปัญหากับการเมืองไทยและเป็นกรณีศึกษาที่สำคัญในทางกฎหมาย ก็คือ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2534 เรื่องให้อายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน ซึ่งตามประกาศดังกล่าวได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินขึ้น โดยมีอำนาจตามข้อ 2 ของประกาศ ในการทำหน้าที่ในการพิจารณารายชื่อนักการเมืองที่มีพฤติการณ์อันส่อแสดงให้เห็นได้ว่ามีทรัพย์สินร่ำรวยผิดปรกติ ผิดวิสัยของผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริต และให้ประกาศรายชื่อบุคคลดังกล่าวให้สาธารณชนทราบและรวบรวมทรัพย์สินที่ถูกอายัดไว้ และทรัพย์สินอื่นๆที่น่าเชื่อว่าเป็นของบุคคลดังกล่าว และพิจารณาวินิจฉัยว่าบุคคลนั้นๆร่ำรวยผิดปรกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นปกติหรือไม่ และให้มีอำนาจออกคำสั่งอายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินทั้งปวงของบุคคลนั้นๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินบุคคลใดจะฟ้องร้องหรือดำเนินคดีแพ่ง หรืออาญาใดๆมิได้ สำหรับคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศ รสช.ฉบับที่ 26 ประกอบด้วย
1.พลเอก สิทธิ จอรโรจน์ ประธานกรรมการ
2.นายสุธี อากาศฤกษ์ รองประธานกรรมการ
3.นายมงคล เปาอินทร์ กรรมการ
4.นายไพศาล กุมาลย์วิสัย กรรมการ
5.นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์ กรรมการ
6.พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ กรรมการ
7.นายชัยเชต สุนทรพิพิธ กรรมการและเลขานุการ
โดยต่อมาตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 45 เรื่อง ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินเพิ่มเติม ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2534 ได้มีการแต่งตั้งกรรมการเพิ่มอีกสองท่าน คือ นายอำนวย วงศ์วิเชียร และพลเอกเหรียญ ดิษฐบรรจง รวมมีจำนวนกรรมการทั้งสิ้น 9 คน
เหตุผลการจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินตามประกาศรสช.ฉบับที่ 26 สืบเนื่องจากเหตุผลการทำรัฐประหารที่คณะรสช.ได้ประกาศไว้ในแถลงการณ์ฉบับที่ 1 ถึงพฤติการณ์การฉ้อราษฎร์บังหลวงของคนในรัฐบาล ดังนั้นจึงทำให้ต้องมีการตรวจสอบข้อเท็จจริงและนำคนผิดมาลงโทษ อันเป็นการสร้างความชอบธรรมให้กับคณะ รสช.ว่ามิได้เป็นการรัฐประหารเพื่อกลุ่มของตนเองแต่ประการใด ตามอำนาจของคณะกรรมการที่ประกาศรสช.ฉบับนี้ให้ไว้ ในข้อ 6 บรรดาทรัพย์สินที่คณะกรรมการตรวจสอบวินิจฉัยว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้มาโดยมิชอบหรือมีเพิ่มขึ้นผิดปกติ ให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของแผ่นดิน เว้นแต่ผู้ถูกกล่าวหาสามารถนำพยานหลักฐานมาแสดงให้คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินเชื่อว่าทรัพย์สินดังกล่าวตนได้มาโดยชอบภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน
ประกาศรสช. ฉบับที่ 26 นี้ ภายหลังได้มีการตราพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 โดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติที่จัดตั้งโดยธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 แก้ไขประกาศในข้อ 6 และ เพิ่มเติมข้อความ ข้อ 7 ทวิ ซึ่งเหตุผลของการแก้ไขนั้นเป็นไปเพื่อให้บุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่ามีทรัพย์สินร่ำรวยผิดปรกติซึ่งถูกดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินตามประกาศรสช.ฉบับที่ 26 สามารถยื่นคำร้องคัดค้านคำวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินและนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ต่อศาลได้ ซึ่งสาระสำคัญในแก้ไขตามพระราชบัญญัติดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 แห่งประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ข้อ 6 เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยว่าบุคคลใดร่ำรวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติตามข้อ 2 แล้ว ให้บรรดาทรัพย์สินที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้มาโดยมิชอบหรือมีเพิ่มขึ้นผิดปกตินั้นตกเป็นของแผ่นดิน
บุคคลที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยว่าร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติมีสิทธิยื่นคำขอพิสูจน์ว่าตนได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยชอบ โดยยื่นต่อศาลแพ่งภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน
เมื่อศาลแพ่งได้รับคำร้องตามวรรคสองแล้ว ให้ส่งสำเนาคำร้องให้พนักงานอัยการเพื่อทำคำคัดค้านภายในสามสิบวัน และให้ศาลแพ่งดำเนินการพิจารณาต่อไปโดยไม่ชักช้าโดยนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้ทำความเห็นและส่งสำนวนไปยังศาลฎีกาเพื่อวินิจฉัย และให้ศาลฎีกามีอำนาจดังต่อไปนี้
(1) ถ้าผู้ร้องสามารถนำพยานหลักฐานมาแสดงให้ศาลเห็นว่า ตนได้ทรัพย์สินใดมาโดยชอบ ให้มีคำสั่งเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินนั้น
(2) ถ้าผู้ร้องไม่สามารถนำพยานหลักฐานมาแสดงให้ศาลเห็นว่าทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สินที่ตนได้มาโดยชอบ ให้ยกคำร้องนั้นเสีย
ในการวินิจฉัยของศาลฎีกาตามวรรคสาม ให้ประธานศาลฎีกาดำเนินการให้มีการวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ตามมาตรา 140 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง”
มาตรา 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 7 ทวิ แห่งประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 “ข้อ 7 ทวิ เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้วินิจฉัยว่าบุคคลใดร่ำรวยยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติแล้วให้คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินสั่งเพิกถอนการอายัด การสั่งห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินรวมตลอดทั้งการสั่งยึดบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานต่าง ๆ ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้มาโดยมิชอบหรือมีเพิ่มขึ้นผิดปกติ”
มาตรา 5 เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินตามข้อ 1 แห่งประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 และประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 45 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ได้พิจารณาวินิจฉัยกรณีของบุคคลทั้งหมดที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้ประกาศรายชื่อไว้แล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้ในข้อ 2 แห่งประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติดังกล่าวแล้ว ให้ยุบเลิกคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินดังกล่าว
เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินถูกยุบเลิกตามวรรคหนึ่งแล้ว การดำเนินการที่จำต้องกระทำตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้วินิจฉัยว่าร่ำรวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติก่อนที่ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินจะถูกยุบเลิกตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ การทำงานของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้มีการตรวจสอบทรัพย์สินอดีตรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณทั้งสิ้น 25 คน และมีผลสรุปให้ดำเนินการยึดทรัพย์สินของอดีตรัฐมนตรี 10 คน รวมทั้งสิ้น 1,969.38 ล้านบาท ซึ่งมีรายชื่อดังนี้
1.พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ 266 ล้านบาทเศษ
2.นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ 335.8 ล้านบาท
3.นายประมวล สภาวสุ 70.7 ล้านบาท
4.พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร 139.7 ล้านบาท
5.นายเสนาะ เทียนทอง 62.7 ล้านบาท
6.นายสุบิน ปิ่นขยัน 608 ล้านบาท
7.ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง 32 ล้านบาท
8.นายภิญญา ช่วยปลอด 61.8 ล้านบาท
9.นายวัฒนา อัศวเหม 4 ล้านบาท และ
10.นายมนตรี พงษ์พานิช 336.5 ล้านบาท
แต่ต่อมาจากผลของการแก้ไขประกาศรสช. ฉบับที่ 26 ข้อ 6 โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 ที่ออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ให้สิทธิอุทธรณ์ของผู้ถูกยึดทรัพย์ที่สามารถอุทธรณ์คำสั่งยึดทรัพย์ไปที่ศาลฎีกาได้ บรรดานักการเมืองที่ถูกยึดทรัพย์ก็ได้ใช้สิทธิดังกล่าว และผลการพิจารณาของศาลได้ตัดสินออกมาเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2536 โดยศาลฎีกาวินิจฉัยคำร้องอุทธรณ์ของนักการเมืองที่ถูกยึดทรัพย์ว่า ประกาศรสช.ฉบับ 26 ข้อ 2 และข้อ 6 ให้ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ให้มีอำนาจสอบสวนและสั่งอายัดทรัพย์นักการเมืองนั้น ขัดต่อประเพณีการปกครองของไทยในระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็นการตั้งคณะบุคคลที่มิใช่ศาลมาทำการเช่นเดียวกับศาล ทรัพย์สินของนักการเมืองที่ถูกสั่งอายัดให้ตกเป็นของแผ่นดินเป็นทรัพย์ที่นักการเมืองได้มาก่อนประกาศรสช. ฉบับ 26 จะมีผลบังคับใช้ การยึดทรัพย์ที่เกิดขึ้นเป็นการออกและใช้กฎหมายที่มีโทษทางอาญาให้มีผลย้อนหลัง จึงขัดธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.2534 และใช้บังคับมิได้
ผลกระทบของการใช้อำนาจของคณะรสช.ที่ส่งผลต่อเนื่องมาถึงการเมืองไทยปัจจุบัน
การรัฐประหารโดย คณะรสช.ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ได้กลายเป็นอีกหนึ่งเหตุการณ์ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ทุกคนต้องจดจำ ด้วยเหตุที่การสิ้นสุดอำนาจของคณะรัฐประหารที่พยายามสืบทอดอำนาจเป็นผลมาจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ที่มีการสูญเสียเลือดเนื้อและชีวิตของประชาชน การเมืองไทยมีเหตุการณ์ความรุนแรงให้จดจำมากขึ้นอีกหนึ่งครั้งนอกเหนือจาก เหตุการณ์วันที่14 ตุลาคม 2516 และวันที่6 ตุลาคม 2519
ในช่วงเวลาสั้นๆ ของการครองอำนาจของคณะรสช. ผลที่เกิดขึ้นตามมาต่อสังคมไทยจากการใช้อำนาจของรสช.ก็มีบางกรณีที่ได้ส่งผลกระทบต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันในฐานะที่เป็นบทเรียนสำคัญทางการเมือง กล่าวคือ
1)การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่ภายหลังการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 ซึ่งเป็นอำนาจของประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้เสนอชื่อให้นายอานันท์ ปันยารชุนเป็นนายกรัฐมนตรี นั้นก็ทำให้การเมืองไทยมีนายกรัฐมนตรีที่ได้รับการยอมรับในผลงานมากที่สุดท่านหนึ่ง ด้วยการบริหารงานที่เป็นตัวของตัวเองไม่ได้ยอมตามคณะรสช. ที่ได้เปลี่ยนรูปมาเป็นสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ตามมาตรา 18 ของธรรมนูญการปกครอง แต่อย่างใด ภายใต้การบริหารงานของรัฐบาลนายอานันท์ ได้สร้างให้สังคมไทยได้รู้จัก คำว่า “ความโปร่งใส” การรื้อสัมปทานโทรศัพท์สามล้านเลขหมาย เพื่อรักษาผลประโยชน์ของประเทศ รัฐบาลนายอานันท์จึงได้สร้างมิติใหม่ของรัฐบาลที่มาจากคณะรัฐประหาร นอกจากนั้นยังได้ผลักดันกฎหมายสำคัญหลายฉบับให้ผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ การเสนอชื่อนายอานันท์ ปันยารชุน จึงอาจเป็นความสำเร็จไม่กี่ประการของคณะรสช.
2) บทเรียนของประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 26 ที่ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ซึ่งต่อมาศาลฎีกาได้พิพากษาว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย ได้กลายเป็นกรณีศึกษาสำคัญทางการเมืองในการใช้อำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องมีความรอบคอบ และได้แสดงให้เห็นถึงบทบาทที่เข้มแข็งของฝ่ายตุลาการในการรักษาไว้ซึ่งหลักนิติรัฐ โดยบทเรียนนี้ อีก15 ปีต่อมาก็ได้นำมาสู่การระมัดระวังในการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.)โดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามประกาศคปค.ฉบับที่ 30 วันที่ 30 กันยายน 2549
3) การรัฐประหารของคณะ รสช. อาจเป็นจุดเริ่มส่วนหนึ่งของการสร้างฐานอำนาจทางการเงินในธุรกิจสัมปทานดาวเทียมไทยคม ของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรในสมัยที่ยังประกอบธุรกิจด้านสื่อสารโทรคมนาคม ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบใดๆจากการรัฐประหาร ด้วยสายสัมพันธ์ที่ดีกับคณะรสช. ทั้งนี้ก็อดคิดไม่ได้ว่าหากคณะรสช. ได้ยกเลิกไม่ให้สัมปทานดาวเทียมไทยคม อดีตนายกฯทักษิณ ก็คงไม่มีอำนาจทุนอย่างเช่นทุกวันนี้ และก็คงไม่มีกรณีการขายหุ้นในกิจการของครอบครัวให้บริษัทต่างชาติ จนกลายเป็นอีกหนึ่งชนวนความขัดแย้งของผู้คนในสังคมเมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ที่ช่วยขับกระแสต่อต้านในตัวอดีตนายกฯ ทักษิณ ขึ้นสูงเพราะความไม่ไว้วางใจในพฤติกรรมการขายหุ้นโดยไม่ต้องเสียภาษีสักบาทเดียว
4) ความพยายามในการสืบทอดอำนาจของคณะ รสช. ผ่านการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา คราประยูร รองหัวหน้าคณะรสช. ซึ่งทำให้เกิดกระแสต่อต้านอย่างกว้างขวางและจบลงด้วยเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 นับเป็นบทเรียนสำคัญต่อผู้ที่คิดจะทำการรัฐประหาร และพึ่งตระหนักว่าการรัฐประหารนับเป็นสิ่งที่ไม่เข้ากับยุคสมัยของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก อีกทั้งพลังของประชาชนชาวไทยก็พร้อมที่จะออกมาเมื่อเห็นว่ามีความไม่ชอบธรรมเกิดขึ้น ดังจะเห็นได้จากการชุมนุมของประชาชนจำนวนมากบนท้องถนนราชดำเนินที่ไม่เคยเห็นมานานนับตั้งแต่เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ที่มา
บุญชนะ อัตถากร . การปฏิวัติของคณะ รสช.2534 กับประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุณชนะ อัตถากร , 2536.
วาสนา นาน่วม . บันทึกคำให้การสุจินดา คราประยูร : กำเนิดและอวสาน รสช. กรุงเทพฯ : มติชน,2545.
สมคิด เลิศไพฑูรย์ และเอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล (ผู้รวบรวม) .บทกฎหมายและเอกสารสำคัญในทางการเมืองของประเทศไทย เล่ม 4 . กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2551.
สุลักษณ์ ศิวรักษ์ . วิพากษ์ รสช. ลอกคราบนายอานันท์ ปันยารชุน : บทปาฐกถา 6 เดือน รสช. ความถดถอยของประชาธิปไตย . กรุงเทพฯ : สมาพันธ์ฯ , 2535.
อ้างอิง
- ↑ สามารถค้นหาข้อมูลทั้งหมดได้จาก หนังสือ รัฐธรรมนูญ บทกฎหมายและเอกสารสำคัญในทางการเมืองของประเทศไทย เล่ม 4 รวบรวมโดย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์และอาจารย์ ดร.เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2551 . หรือ ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองไทย บนเวบไซต์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (www.law.tu.ac.th)