ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประภาส จารุเสถียร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ ผู้ทรงคุณว..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์
ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
'''จอมพลประภาส จารุเสถียร'''
'''จอมพลประภาส จารุเสถียร'''


          จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทยตั้งปี พ.ศ.2490 ขณะเป็นผู้บังคับกองพันที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยนำกำลังเข้ายึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือตรีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ จากนั้นก็มีบทบาทในการปราบกบฎวังหลวง พ.ศ.2492 ปราบกบฎแมนฮัตตัน พ.ศ.2494 ยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม พ.ศ.2500 จากนั้นก็มีบทบาทในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้บัญชาการทหารบก อธิบดีกรมตำรวจ และอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนหมดบทบาททางการเมืองหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516
          จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทยตั้งปี พ.ศ.2490 ขณะเป็นผู้บังคับกองพันที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยนำกำลังเข้า[[ยึดอำนาจ|ยึดอำนาจ]]การปกครองจาก[[รัฐบาลพลเรือตรีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์|รัฐบาลพลเรือตรีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]] จากนั้นก็มีบทบาทในการปราบ[[กบฎวังหลวง|กบฎวังหลวง]] พ.ศ.2492 ปราบ[[กบฎแมนฮัตตัน|กบฎแมนฮัตตัน]] พ.ศ.2494 ยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาล[[จอมพล_ป.พิบูลสงคราม|จอมพล_ป.พิบูลสงคราม]] พ.ศ.2500 จากนั้นก็มีบทบาทในฐานะรอง[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]และ[[รัฐมนตรี|รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้บัญชาการทหารบก อธิบดีกรมตำรวจ และอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนหมดบทบาททางการเมืองหลัง[[14_ตุลาคม_พ.ศ._2516|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516]]


 
 
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 22:
'''เหตุการณ์สำคัญ'''
'''เหตุการณ์สำคัญ'''


          จอมพลประภาส  จารุเสถียร ได้เข้าร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ขณะเป็นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่ 6 โดยได้รับการชักชวนจากนายร้อยเอก หลวงสวัสดิ์รณรงค์ (สวัสดิ์ ดาระสวัสดิ์)  ซึ่งเป็นผู้บังคับกองร้อย พร้อมเพื่อนนักเรียนนายร้อยชั้นสูงอีกไม่น้อยกว่า 50 คน ที่ทราบเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยนายร้อยเอก หลวงสวัสดิ์รณรงค์ และบรรดานายทหารผู้ใหญ่หลายคนได้ กล่าวกับนักเรียนนายร้อยว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อความเสมอภาคมีสิทธิเท่าเทียมกันและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ยังได้รับการยกย่องเช่นเดิม โดยมิให้มีผลกระทบกระเทือนหรือลดตำแหน่งฐานะลงแต่อย่างใด ทำให้นักเรียนนายร้อยมีความคิดเอนเอียงที่จะร่วมมือในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเป็นหัวแรงสำคัญในการชักชวนพวกพ้องให้เข้าร่วมด้วย[[#_ftn2|[2]]] วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2475 นายร้อยเอกหลวงสวัสดิ์รณรงค์ ได้เรียกประชุมและแจ้งกับนักเรียนนายร้อยว่าในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 กองทัพบกจะมีการแสดงการรบพิเศษ ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า โดยนักเรียนนายร้อยทุกกองร้อยจะได้เข้าร่วมการฝึกโดยวิธีสังเกตุการณ์ นี่คือแผนการนำนักเรียนนายร้อยทหารบกเข้าร่วมการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
          จอมพลประภาส  จารุเสถียร ได้เข้าร่วมใน[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_24_มิถุนายน_2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] เมื่อวันที่ [[24_มิถุนายน_พ.ศ._2475|24 มิถุนายน พ.ศ.2475]] ขณะเป็นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่ 6 โดยได้รับการชักชวนจากนายร้อยเอก หลวงสวัสดิ์รณรงค์ (สวัสดิ์ ดาระสวัสดิ์)  ซึ่งเป็นผู้บังคับกองร้อย พร้อมเพื่อนนักเรียนนายร้อยชั้นสูงอีกไม่น้อยกว่า 50 คน ที่ทราบเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยนายร้อยเอก หลวงสวัสดิ์รณรงค์ และบรรดานายทหารผู้ใหญ่หลายคนได้ กล่าวกับนักเรียนนายร้อยว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อความเสมอภาคมีสิทธิเท่าเทียมกันและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ยังได้รับการยกย่องเช่นเดิม โดยมิให้มีผลกระทบกระเทือนหรือลดตำแหน่งฐานะลงแต่อย่างใด ทำให้นักเรียนนายร้อยมีความคิดเอนเอียงที่จะร่วมมือในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเป็นหัวแรงสำคัญในการชักชวนพวกพ้องให้เข้าร่วมด้วย[[#_ftn2|[2]]] วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2475 นายร้อยเอกหลวงสวัสดิ์รณรงค์ ได้เรียกประชุมและแจ้งกับนักเรียนนายร้อยว่าในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 กองทัพบกจะมีการแสดงการรบพิเศษ ณ บริเวณ[[ลานพระบรมรูปทรงม้า|ลานพระบรมรูปทรงม้า]] โดยนักเรียนนายร้อยทุกกองร้อยจะได้เข้าร่วมการฝึกโดยวิธีสังเกตุการณ์ นี่คือแผนการนำนักเรียนนายร้อยทหารบกเข้าร่วมการเปลี่ยนแปลงการปกครอง


          วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เมื่อนายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาได้อ่านประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีคำสั่งให้ทหารนำกำลังไปยึดสถานที่สำคัญต่างๆ นักเรียนนายร้อยหมู่ของนักเรียนนายร้อยประภาส จารุเสถียรได้รับมอบหมายให้ตามนายร้อยโทเสมอ วงศาโรจน์ ซึ่งเป็นครูวิชาแผนที่ โรงเรียนนายร้อยทหารบกให้เข้ายึดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ[[#_ftn3|[3]]] และในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2475 นักเรียนนายร้อยประภาส ได้รับมอบหมายให้ติดตามพระวิภาคภูวดล เข้ายึดกรมรถไฟพร้อมควบคุมตัวอธิบดีกรมรถไฟไปยังพระที่นั่งอนันตสมาคมซึ่งเป็นกองอำนวยการคณะราษฎร นักเรียนนายร้อยประภาสได้รับมอบหมายให้ควบคุมรักษาสถานีรถไฟหัวลำโพง ทำหน้าที่ตรวจตรารถไฟที่เข้าออก เพื่อมิให้ฝ่ายตรงข้ามนำกำลังบุกเข้ามาทางรถไฟได้[[#_ftn4|[4]]]
          วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เมื่อ[[พระยาพหลพลพยุหเสนา|นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]]ได้อ่านประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีคำสั่งให้ทหารนำกำลังไปยึดสถานที่สำคัญต่างๆ นักเรียนนายร้อยหมู่ของนักเรียนนายร้อยประภาส จารุเสถียรได้รับมอบหมายให้ตามนายร้อยโท[[เสมอ_วงศาโรจน์|เสมอ_วงศาโรจน์]] ซึ่งเป็นครูวิชาแผนที่ โรงเรียนนายร้อยทหารบกให้เข้ายึดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ[[#_ftn3|[3]]] และในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2475 นักเรียนนายร้อยประภาส ได้รับมอบหมายให้ติดตาม[[พระวิภาคภูวดล|พระวิภาคภูวดล]] เข้ายึดกรมรถไฟพร้อมควบคุมตัวอธิบดีกรมรถไฟไปยัง[[พระที่นั่งอนันตสมาคม|พระที่นั่งอนันตสมาคม]]ซึ่งเป็นกองอำนวยการ[[คณะราษฎร|คณะราษฎร]] นักเรียนนายร้อยประภาสได้รับมอบหมายให้ควบคุมรักษาสถานีรถไฟหัวลำโพง ทำหน้าที่ตรวจตรารถไฟที่เข้าออก เพื่อมิให้ฝ่ายตรงข้ามนำกำลังบุกเข้ามาทางรถไฟได้[[#_ftn4|[4]]]


          พ.ศ.2476 เมื่อเกิดกบฏบวรเดช จอมพลประภาสขณะเป็นนักเรียนทำการนายร้อยได้รับมอบหมายให้นำกำลังทหารในบังคับบัญชาติดตามโจมตีข้าศึกที่กำลังล่าถอยไปจนถึงนครราชสีมาและสามารถยิงนายพันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม เสนาธิการคณะกู้บ้านกู้เมืองจนถึงแก่ความตายที่สถานีรถไฟหินลับ ผลงานครั้งนี้ทำให้ได้รับเหรียญกล้าหาญและบำเหน็จ 4 ขั้น พ.ศ.2479 ได้ย้ายไปรับราชการในกรมตำรวจ รับพระราชทานยศนายร้อยตำรวจเอกจากนั้นย้ายกลับกองทัพบกมาเป็นผู้บังคับหมวด กองพันทหารราบที่ 7 ขึ้นเป็นรองผู้บังคับกองร้อยที่ 2 กองพันทหารราบที่ 22 จังหวัดอุดรธานี จนได้เป็นรองผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 22 เมื่อพ.ศ.2484[[#_ftn5|[5]]]
          พ.ศ.2476 เมื่อเกิด[[กบฎบวรเดช|กบฏบวรเดช]] จอมพลประภาสขณะเป็นนักเรียนทำการนายร้อยได้รับมอบหมายให้นำกำลังทหารในบังคับบัญชาติดตามโจมตีข้าศึกที่กำลังล่าถอยไปจนถึงนครราชสีมาและสามารถยิง[[นายพันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม|นายพันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม]] เสนาธิการ[[คณะกู้บ้านกู้เมือง|คณะกู้บ้านกู้เมือง]]จนถึงแก่ความตายที่สถานีรถไฟหินลับ ผลงานครั้งนี้ทำให้ได้รับเหรียญกล้าหาญและบำเหน็จ 4 ขั้น พ.ศ.2479 ได้ย้ายไปรับราชการในกรมตำรวจ รับพระราชทานยศนายร้อยตำรวจเอกจากนั้นย้ายกลับกองทัพบกมาเป็นผู้บังคับหมวด กองพันทหารราบที่ 7 ขึ้นเป็นรองผู้บังคับกองร้อยที่ 2 กองพันทหารราบที่ 22 จังหวัดอุดรธานี จนได้เป็นรองผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 22 เมื่อพ.ศ.2484[[#_ftn5|[5]]]


          พ.ศ.2489 พันโทประภาส (ยศขณะนั้น) ได้ย้ายเข้าคุมหน่วยทหารในกรุงเทพฯโดยขึ้นเป็นผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์โดยมีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์
          พ.ศ.2489 พันโทประภาส (ยศขณะนั้น) ได้ย้ายเข้าคุมหน่วยทหารในกรุงเทพฯโดยขึ้นเป็นผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์โดยมี[[สฤษดิ์_ธนะรัชต์|จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]]ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์


          สภาวะหลังสงครามโลกครั้งที่สองทำให้ประชาชนเดือดร้อนจากการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและเกิดภาวะเงินเฟ้อ นอกจากนี้ทหารบกมีความไม่พอใจรัฐบาลตั้งแต่สงครามโลกสิ้นสุดลง เพราะอำนาจของกองทัพบกลดลง ทหารไม่สามารถเข้าไปมีบทบาททางการเมืองเพราะข้อห้ามในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 เช่น สมาชิกพฤตสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ[[#_ftn6|[6]]] วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2490 เวลา 23.30 น. คณะรัฐประหารนำโดยพลโทผิน ชุณหะวัณได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ โดยผู้ก่อการรัฐประหารครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการภายใต้การนำของพลโทผิน ชุณหะวัณ พลโท กาจ กาจสงคราม (หลวงกาจสงคราม)  พันโทก้าน จำนงภูมิเวท พันเอกสวัสดิ์ สวัสดิ์เกียรติ[[#_ftn7|[7]]]โดยทหารจากกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ภายใต้การนำของพันเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (ยศขณะนั้น) ผู้บังคับการกรม และพันโทประภาส (ยศขณะนั้น) ผู้บังคับกองพันที่ 1 เป็นหน่วยกำลังหลักในการปฏิบัติการยึดอำนาจ[[#_ftn8|[8]]]
          สภาวะหลัง[[สงครามโลกครั้งที่_2|สงครามโลกครั้งที่สอง]]ทำให้ประชาชนเดือดร้อนจากการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและเกิดภาวะเงินเฟ้อ นอกจากนี้ทหารบกมีความไม่พอใจ[[รัฐบาล|รัฐบาล]]ตั้งแต่สงครามโลกสิ้นสุดลง เพราะอำนาจของกองทัพบกลดลง ทหารไม่สามารถเข้าไปมีบทบาททางการเมืองเพราะข้อห้ามใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พ.ศ._2489|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489]] เช่น [[สมาชิกพฤตสภา|สมาชิกพฤตสภา]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]และรัฐมนตรีต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ[[#_ftn6|[6]]] วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2490 เวลา 23.30 น. คณะรัฐประหารนำโดยพลโท[[ผิน_ชุณหะวัณ]]ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ โดยผู้ก่อการรัฐประหารครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการภายใต้การนำของพลโทผิน ชุณหะวัณ พลโท [[กาจ_กาจสงคราม]] (หลวงกาจสงคราม)  พันโท[[ก้าน_จำนงภูมิเวท]] พันเอก[[สวัสดิ์_สวัสดิ์เกียรติ]][[#_ftn7|[7]]]โดยทหารจากกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ภายใต้การนำของพันเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (ยศขณะนั้น) ผู้บังคับการกรม และพันโทประภาส (ยศขณะนั้น) ผู้บังคับกองพันที่ 1 เป็นหน่วยกำลังหลักในการปฏิบัติการยึดอำนาจ[[#_ftn8|[8]]]


          ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ.2490 พันโทประภาสเลื่อนขึ้นเป็นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 และในปีถัดมาได้เลื่อนยศเป็นพันเอกและย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์
          ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ.2490 พันโทประภาสเลื่อนขึ้นเป็นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 และในปีถัดมาได้เลื่อนยศเป็นพันเอกและย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์


          วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2492 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับฝ่ายทหารเรือบางส่วนที่มีพลเรือตรีทหาร ขำหิรัญ ผู้บัญชาการมณฑลทหารเรือที่ 2 และรักษาการผู้บังคับกองพลนาวิกโยธินสนับสนุน นายปรีดีได้ทำการยึดอำนาจ โดยเข้ายึดพระบรมมหาราชวังเป็นกองบัญชาการที่เรียกว่ากบฎวังหลวง[[#_ftn9|[9]]] พันเอกประภาสในฐานะผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 ได้เป็นกำลังหลักในการปราบปรามกบฎวังหลวง ในปีถัดมาได้เลื่อนขึ้นเป็นรองผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์และ พ.ศ.2494 ก็เลื่อนขึ้นเป็นผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์และผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 1[[#_ftn10|[10]]]
          วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2492 นาย[[ปรีดี_พนมยงค์]] ได้ร่วมกับฝ่ายทหารเรือบางส่วนที่มีพลเรือตรี[[ทหาร_ขำหิรัญ]] ผู้บัญชาการมณฑลทหารเรือที่ 2 และรักษาการผู้บังคับกองพลนาวิกโยธินสนับสนุน นายปรีดีได้ทำการยึดอำนาจ โดยเข้ายึดพระบรมมหาราชวังเป็นกองบัญชาการที่เรียกว่ากบฎวังหลวง[[#_ftn9|[9]]] พันเอกประภาสในฐานะผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 ได้เป็นกำลังหลักในการปราบปรามกบฎวังหลวง ในปีถัดมาได้เลื่อนขึ้นเป็นรองผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์และ พ.ศ.2494 ก็เลื่อนขึ้นเป็นผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์และผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 1[[#_ftn10|[10]]]


          วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 นาวาตรีมนัส จารุภา ร.น.ได้นำทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะกู้ชาติ" ทำการจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอน"แมนฮัตตัน"ซึ่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกามอบให้รัฐบาลไทยที่ท่าราชวรดิฐ โดยควบคุมตัวไว้ในเรือรบหลวง"ศรีอยุธยา"[[#_ftn11|[11]]] พลตรีประภาส (ยศขณะนั้น) ในฐานะผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์เป็นผู้มีบทบาทในการปราบกบฎแมนฮัตตัน จอมพลประภาสได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ตำแหน่งทางทหารเลื่อนขึ้นเป็นรองแม่ทัพภาค 1 รักษาราชการผู้บัญชาการกองพลที่ 1 และขึ้นเป็นที่ปรึกษากองทัพบกเมื่อ พ.ศ.2499 [[#_ftn12|[12]]]
          วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 นาวาตรี[[มนัส_จารุภา]] ร.น.ได้นำทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "[[คณะกู้ชาติ]]" ทำการจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอน"แมนฮัตตัน"ซึ่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกามอบให้รัฐบาลไทยที่[[ท่าราชวรดิฐ]] โดยควบคุมตัวไว้ในเรือรบหลวง"ศรีอยุธยา"[[#_ftn11|[11]]] พลตรีประภาส (ยศขณะนั้น) ในฐานะผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์เป็นผู้มีบทบาทในการปราบกบฎแมนฮัตตัน จอมพลประภาสได้รับแต่งตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่_2]] ตำแหน่งทางทหารเลื่อนขึ้นเป็นรองแม่ทัพภาค 1 รักษาราชการผู้บัญชาการกองพลที่ 1 และขึ้นเป็นที่ปรึกษากองทัพบกเมื่อ พ.ศ.2499 [[#_ftn12|[12]]]


          ภายหลังการเลือกตั้งวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งพรรคเสรีมนังคศิลาที่มีจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าพรรค ได้จำนวนที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 (เลือกตั้ง)  86 จาก 180 ที่นั่ง แต่ถูกกล่าวหาว่าโกงการเลือกตั้ง[[#_ftn13|[13]]] วันที่ 2 มีนาคม นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประชาชนได้เดินขบวนประท้วงการเลือกตั้งสกปรก ในการจัดตั้งรัฐบาล จอมพลประภาสได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2500 แต่ความแตกแยกกันระหว่างจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก กับ พลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ ทำให้ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก ได้ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีพร้อมด้วยรัฐมนตรีอีก 4 ท่าน อันประกอบด้วย พลโทถนอม กิตติขจร (ยศขณะนั้น) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลโทประภาส จารุเสถียร (ยศขณะนั้น) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย พลตรี ศิริ สิริโยธิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์และจอมพลอากาศเฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร
          ภายหลังการเลือกตั้งวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่ง[[เสรีมนังคศิลา|พรรคเสรีมนังคศิลา]]ที่มีจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็น[[หัวหน้าพรรค]] ได้จำนวนที่นั่งสมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่_1]] (เลือกตั้ง)  86 จาก 180 ที่นั่ง แต่ถูกกล่าวหาว่าโกงการเลือกตั้ง[[#_ftn13|[13]]] วันที่ 2 มีนาคม นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประชาชนได้เดินขบวน[[ประท้วง]]การเลือกตั้งสกปรก ในการจัดตั้งรัฐบาล จอมพลประภาสได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2500 แต่ความแตกแยกกันระหว่างจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก กับ พลตำรวจเอก[[เผ่า_ศรียานนท์]] อธิบดีกรมตำรวจ ทำให้ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก ได้ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีพร้อมด้วยรัฐมนตรีอีก 4 ท่าน อันประกอบด้วย พลโท[[ถนอม_กิตติขจร]] (ยศขณะนั้น) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลโทประภาส จารุเสถียร (ยศขณะนั้น) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย พลตรี [[ศิริ_สิริโยธิน]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์และจอมพลอากาศ[[เฉลิมเกียรติ_วัฒนางกูร]] รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร


          วันที่ 15 กันยายน จอมพลสฤษดิ์ได้ประชุมนายทหารที่คุมกำลังเรียกร้องให้ จอมพล ป.พิบูลสงครามและพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ ลาออกจากตำแหน่ง ท่ามกลางความตึงเครียดทางการเมือง วันที่ 16 กันยายน จอมพลสฤษดิ์ได้ทำการยึดอำนาจการปกครอง จอมพล ป.และพลตำรวจเอกเผ่าถูกกดดันและบังคับเดินทางออกนอกประเทศ
          วันที่ 15 กันยายน จอมพลสฤษดิ์ได้ประชุมนายทหารที่คุมกำลังเรียกร้องให้ จอมพล ป.พิบูลสงครามและพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ ลาออกจากตำแหน่ง ท่ามกลางความตึงเครียดทางการเมือง วันที่ 16 กันยายน จอมพลสฤษดิ์ได้ทำการยึดอำนาจการปกครอง จอมพล ป.และพลตำรวจเอกเผ่าถูกกดดันและบังคับเดินทางออกนอกประเทศ
บรรทัดที่ 44: บรรทัดที่ 44:
          หลังการปฏิวัติ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2500 พลโทประภาสได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยและอยู่ในตำแหน่งนี้อย่างต่อเนื่องถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516
          หลังการปฏิวัติ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2500 พลโทประภาสได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยและอยู่ในตำแหน่งนี้อย่างต่อเนื่องถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516


          ตำแหน่งทางทหารพลโทประภาสได้ขึ้นเป็นแม่ทัพภาคที่ 1 เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2500 เป็น ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ พ.ศ.2503 เป็นรองผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ พ.ศ.2507 ได้รับโปรดเกล้าพระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศเมื่อพ.ศ.2516 เมื่อพลตำรวจเอกประเสริฐ รุจิรวงศ์ได้เกษียณอายุราชการจากตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจในพ.ศ.2515 จอมพลประภาสได้รับการแต่งตั้งให้รักษาราชการตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจอีกตำแหน่งหนึ่ง ในฐานะผู้บัญชาการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ภายในประเทศ จอมพล ประภาสได้จัดตั้งกองบัญชาการปราบปรามคอมมิวนิสต์เมื่อพ.ศ.2508[[#_ftn14|[14]]]
          ตำแหน่งทางทหารพลโทประภาสได้ขึ้นเป็นแม่ทัพภาคที่ 1 เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2500 เป็น ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ พ.ศ.2503 เป็นรองผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ พ.ศ.2507 ได้รับโปรดเกล้าพระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศเมื่อพ.ศ.2516 เมื่อพลตำรวจเอก[[ประเสริฐ_รุจิรวงศ์]]ได้เกษียณอายุราชการจากตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจในพ.ศ.2515 จอมพลประภาสได้รับการแต่งตั้งให้รักษาราชการตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจอีกตำแหน่งหนึ่ง ในฐานะผู้บัญชาการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ภายในประเทศ จอมพล ประภาสได้จัดตั้งกองบัญชาการปราบปรามคอมมิวนิสต์เมื่อพ.ศ.2508[[#_ftn14|[14]]]


          ตำแหน่งทางการเมืองจอมพลประภาสได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501
          ตำแหน่งทางการเมืองจอมพลประภาสได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501


          วันที่ 20 มิถุนายน พุทธศักราช 2511 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้ระยะเวลาในการร่างนานที่สุด[[#_ftn15|[15]]]ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญประกาศใช้จอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียรได้จัดตั้งพรรคพรรคสหประชาไทยขึ้น โดยมีจอมพลถนอมเป็นหัวหน้าพรรค จอมพลประภาสเป็นรองหัวหน้าพรรค และพลอากาศเอก ทวี จุลทรัพย์ เป็นเลขาธิการพรรค  ในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พรรคสหประชาไทยได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งจำนวน 218 คน แต่ได้รับเลือกตั้งมาเพียง 76 คน ซึ่งไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องตั้งรัฐบาลผสมทำให้การบริหารงานของจอมพลถนอมเผชิญกับปัญหามากมาย จอมพลถนอมจึงแก้ปัญหาโดยการปฏิวัติตนเองในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2514 โดยประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญและรัฐสภา [[#_ftn16|[16]]]
          วันที่ 20 มิถุนายน พุทธศักราช 2511 มีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2511]] ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้ระยะเวลาในการร่างนานที่สุด[[#_ftn15|[15]]]ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญประกาศใช้จอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียรได้จัดตั้ง[[พรรคสหประชาไทย]]ขึ้น โดยมีจอมพลถนอมเป็นหัวหน้าพรรค จอมพลประภาสเป็นรองหัวหน้าพรรค และพลอากาศเอก [[ทวี_จุลทรัพย์]] เป็นเลขาธิการพรรค  ในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พรรคสหประชาไทยได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งจำนวน 218 คน แต่ได้รับเลือกตั้งมาเพียง 76 คน ซึ่งไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องตั้ง[[รัฐบาลผสม]]ทำให้การบริหารงานของจอมพลถนอมเผชิญกับปัญหามากมาย จอมพลถนอมจึงแก้ปัญหาโดยการปฏิวัติตนเองในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2514 โดยประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญและรัฐสภา [[#_ftn16|[16]]]


          การเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมไทยนับตั้งแต่มีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเมื่อ พ.ศ.2504 ทำให้สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จึงมีประชาชนกลุ่มต่างๆ เรียกร้องให้มีรัฐธรรมนูญ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ2516 เวลา 16.00 น. สมาชิกกลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญประมาณ 10 คน นำโดยนายธีรยุทธ บุญมี นายประสาร มฤคพิทักษ์ นายประพันธ์ศักดิ์ กมลเพชร นายธัญญา ชุนชฎาธาร ได้แถลงข่าวการรณรงค์เรียกร้องรัฐธรรมนูญ ณ บริเวณอนุสาวรีย์ทหารอาสา วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2516 สมาชิกของกลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญได้เดินแจกเอกสารเรียกร้องรัฐธรรมนูญแล้วถูกจับในครั้งแรก 11 คนและต่อมาจับเพิ่มอีก 2 คน รวมเป็น 13 คน วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2516 นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดการชุมนุมที่ลานโพธิ์เรียกร้องให้ปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้ง 13 คน จอมพลถนอม กิตติขจรได้ประกาศใช้มาตรา 17 ของธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน เพื่อควบคุมผู้ต้องหาทั้ง 13 คน จนกว่าจะเสร็จสิ้นการสอบสวน แต่จำนวนผู้ชุมนุมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
          การเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมไทยนับตั้งแต่มีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเมื่อ พ.ศ.2504 ทำให้สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จึงมีประชาชนกลุ่มต่างๆ เรียกร้องให้มีรัฐธรรมนูญ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ2516 เวลา 16.00 น. สมาชิกกลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญประมาณ 10 คน นำโดยนาย[[ธีรยุทธ_บุญมี]] นาย[[ประสาร_มฤคพิทักษ์]] นาย[[ประพันธ์ศักดิ์_กมลเพชร]] นาย[[ธัญญา_ชุนชฎาธาร]] ได้แถลงข่าวการรณรงค์เรียกร้องรัฐธรรมนูญ ณ บริเวณอนุสาวรีย์ทหารอาสา วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2516 สมาชิกของกลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญได้เดินแจกเอกสารเรียกร้องรัฐธรรมนูญแล้วถูกจับในครั้งแรก 11 คนและต่อมาจับเพิ่มอีก 2 คน รวมเป็น 13 คน วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2516 นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดการชุมนุมที่[[ลานโพธิ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|ลานโพธิ์]]เรียกร้องให้ปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้ง 13 คน จอมพลถนอม กิตติขจรได้ประกาศใช้มาตรา 17 ของธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน เพื่อควบคุมผู้ต้องหาทั้ง 13 คน จนกว่าจะเสร็จสิ้นการสอบสวน แต่จำนวนผู้ชุมนุมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ


          ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2516 ตอนสาย จอมพลประภาสได้เจรจากับเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยแต่การเจรจาตกลงกันไม่ได้ โดยรัฐบาลยืนกรานจะดำเนินการตามมาตรา 17 ในคืนวันที่ 11 ตุลาคมมีการประชุมคณะรัฐมนตรีเป็นการด่วนแล้วจัดตั้งศูนย์ปราบปรามจลาจลโดยมีจอมพลประภาสเป็นผู้อำนวยการ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2516 ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ยืนยันให้รัฐบาลปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้ง 13 คนโดยไม่มีเงื่อนไขภายในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2516 เวลา 12.00 น.มิเช่นนั้นจะได้พิจารณาใช้มาตรการในขั้นเด็ดขาดต่อไป แต่เมื่อถึงเวลาตามเงื่อนไขยังไม่มีคำตอบใดๆจากรัฐบาล ขบวนนักศึกษาและประชาชนได้เคลื่อนขบวนออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างนั้นตัวแทนของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ได้เข้าพบ เจรจาขั้นสุดท้ายกับจอมพลประภาส จารุเสถียร เมื่อได้รับคำตอบว่าจะปล่อยผู้ต้องหาทั้ง 13 คน และจะร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน 1 ปี สถานการณ์ดูเหมือนจะคลี่คลาย แต่ในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ระหว่างที่ประชาชนเดินทางกลับทางถนนราชวิถี ได้ถูกสกัดกั้นด้วยตำรวจคอมมานโดและเกิดการปะทะกันที่บริเวณข้างพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน โดยเหตุการณ์ลุกลามบานปลายอย่างรวดเร็วกลายเป็นการจลาจล จนในที่สุดจอมพลถนอมได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี วันที่ 15 ตุลาคม จอมพลประภาส และพันเอกณรงค์ กิตติขจร บุตรเขยและเป็นบุตรชายจอมพลถนอม พร้อมครอบครัวและผู้ติดตามได้เดินทางไปลี้ภัยการเมืองที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน [[#_ftn17|[17]]]
          ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2516 ตอนสาย จอมพลประภาสได้เจรจากับเลขาธิการ[[ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย]]แต่การเจรจาตกลงกันไม่ได้ โดยรัฐบาลยืนกรานจะดำเนินการตามมาตรา 17 ในคืนวันที่ 11 ตุลาคมมีการประชุมคณะรัฐมนตรีเป็นการด่วนแล้วจัดตั้งศูนย์ปราบปรามจลาจลโดยมีจอมพลประภาสเป็นผู้อำนวยการ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2516 ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ยืนยันให้รัฐบาลปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้ง 13 คนโดยไม่มีเงื่อนไขภายในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2516 เวลา 12.00 น.มิเช่นนั้นจะได้พิจารณาใช้มาตรการในขั้นเด็ดขาดต่อไป แต่เมื่อถึงเวลาตามเงื่อนไขยังไม่มีคำตอบใดๆจากรัฐบาล ขบวนนักศึกษาและประชาชนได้เคลื่อนขบวนออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างนั้นตัวแทนของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ได้เข้าพบ เจรจาขั้นสุดท้ายกับจอมพลประภาส จารุเสถียร เมื่อได้รับคำตอบว่าจะปล่อยผู้ต้องหาทั้ง 13 คน และจะร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน 1 ปี สถานการณ์ดูเหมือนจะคลี่คลาย แต่ในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ระหว่างที่ประชาชนเดินทางกลับทางถนนราชวิถี ได้ถูกสกัดกั้นด้วยตำรวจคอมมานโดและเกิดการปะทะกันที่บริเวณข้างพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน โดยเหตุการณ์ลุกลามบานปลายอย่างรวดเร็วกลายเป็นการจลาจล จนในที่สุดจอมพลถนอมได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี วันที่ 15 ตุลาคม จอมพลประภาส และพันเอกณรงค์ กิตติขจร บุตรเขยและเป็นบุตรชายจอมพลถนอม พร้อมครอบครัวและผู้ติดตามได้เดินทางไปลี้ภัยการเมืองที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน [[#_ftn17|[17]]]


          หลังจากลี้ภัยอยู่ในต่างประเทศได้ระยะหนึ่ง จอมพลประภาสได้เดินทางกลับประเทศไทยในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2519 โดยไม่ได้ผ่านขั้นตอนของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่าจอมพลประภาส จารุเสถียรเดินทางกลับเข้าเมืองไทยจริง ทำให้ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยได้จัดการชุมนุมเพื่อขับไล่จอมพลประภาสในวันที่ 17 สิงหาคม รัฐบาลได้ส่ง ผู้แทนคือ พล.อ. ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา และ พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์ ไปเจรจากับจอมพลประภาส โดยจอมพลประภาสแจ้งว่าเดินทางกลับมาเพื่อรักษาโรคต้อหินและโรคหัวใจโตจึงขอกลับมารักษาที่ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีความประสงค์ที่จะพิสูจน์ข้อกล่าวหา ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 การชุมนุมมีความรุนแรงมากขึ้นโดยมีการขว้างระเบิดพลาสติคใส่ที่ชุมนุม จนในที่สุดวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2519 จอมพลประภาสได้ยินยอมออกเดินทางจากประเทศไทยกลับไปพำนักที่กรุงไทเป[[#_ftn18|[18]]]
          หลังจากลี้ภัยอยู่ในต่างประเทศได้ระยะหนึ่ง จอมพลประภาสได้เดินทางกลับประเทศไทยในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2519 โดยไม่ได้ผ่านขั้นตอนของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง หม่อมราชวงศ์[[เสนีย์_ปราโมช]] นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่าจอมพลประภาส จารุเสถียรเดินทางกลับเข้าเมืองไทยจริง ทำให้ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยได้จัดการชุมนุมเพื่อขับไล่จอมพลประภาสในวันที่ 17 สิงหาคม รัฐบาลได้ส่ง ผู้แทนคือ พล.อ. [[ทวิช_เสนีย์วงศ์]] ณ อยุธยา และ พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์ ไปเจรจากับจอมพลประภาส โดยจอมพลประภาสแจ้งว่าเดินทางกลับมาเพื่อรักษาโรคต้อหินและโรคหัวใจโตจึงขอกลับมารักษาที่ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีความประสงค์ที่จะพิสูจน์ข้อกล่าวหา ในเหตุการณ์ [[14_ตุลาคม_พ.ศ._2516]] การชุมนุมมีความรุนแรงมากขึ้นโดยมีการขว้างระเบิดพลาสติคใส่ที่ชุมนุม จนในที่สุดวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2519 จอมพลประภาสได้ยินยอมออกเดินทางจากประเทศไทยกลับไปพำนักที่กรุงไทเป[[#_ftn18|[18]]]


          ภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 จอมพลประภาสได้เดินทางกลับมาพำนักในประเทศไทยและถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540
          ภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 จอมพลประภาสได้เดินทางกลับมาพำนักในประเทศไทยและถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540
บรรทัดที่ 70: บรรทัดที่ 70:
กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm%20เมื่อ10%20กันยายน%202559 http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559].
กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm%20เมื่อ10%20กันยายน%202559 http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559].


เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองของไทย 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ใน '''จาก 14 ถึง 6 ตุลา''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2544,พิมพ์ครั้งที่ 3), หน้า 380-383.
เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองของไทย 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ใน '''จาก 14 ถึง 6 ตุลา''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2544,พิมพ์ครั้งที่ 3), หน้า 380-383.


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.14 ตุลา : บันทึกประวัติศาสตร์, ใน  '''ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทยกับความรุนแรงทางการเมือง''',(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2556 พิมพ์ครั้งที่ 5),หน้า68
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.14 ตุลา : บันทึกประวัติศาสตร์, ใน  '''ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทยกับความรุนแรงทางการเมือง''',(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2556 พิมพ์ครั้งที่ 5),หน้า68


ประภาส  จารุเสถียร, '''ฝากเรื่องราวไว้ให้ลูกหลาน '''''': จอมพลประภาส  จารุเสถียร ''',(กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2535) หน้า 71, 75.
ประภาส  จารุเสถียร, '''ฝากเรื่องราวไว้ให้ลูกหลาน '''''': จอมพลประภาส  จารุเสถียร ''',(กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2535) หน้า 71, 75.


ประทีป สายเสน, '''กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : บริษัทฐานการพิมพ์ จำกัด, 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 122-123.
ประทีป สายเสน, '''กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : บริษัทฐานการพิมพ์ จำกัด, 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 122-123.


นรนิติ เศรษฐบุตร, '''วันการเมือง''', (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 165.
นรนิติ เศรษฐบุตร, '''วันการเมือง''', (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 165.
บรรทัดที่ 82: บรรทัดที่ 82:
นรนิติ เศรษฐบุตร,'''พรรคสหประชาไทย,''' เข้าถึงจาก [file:///C:\Users\Nok\Downloads\file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf file:///C:/Users/Nok/Downloads/file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf] เมื่อ10 กันยายน 2559
นรนิติ เศรษฐบุตร,'''พรรคสหประชาไทย,''' เข้าถึงจาก [file:///C:\Users\Nok\Downloads\file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf file:///C:/Users/Nok/Downloads/file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf] เมื่อ10 กันยายน 2559


สุชิน ตันติกุล,'''รัฐประหาร พ.ศ.2490,''' (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2557), หน้า 72.
สุชิน ตันติกุล,'''รัฐประหาร พ.ศ.2490,''' (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2557), หน้า 72.


 
 
บรรทัดที่ 88: บรรทัดที่ 88:
[[#_ftnref1|[1]]]กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm%20เมื่อ10 http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10] กันยายน 2559
[[#_ftnref1|[1]]]กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm%20เมื่อ10 http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10] กันยายน 2559
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] ประภาส&nbsp; จารุเสถียร, '''ฝากเรื่องราวไว้ให้ลูกหลาน '''''': จอมพลประภาส&nbsp; จารุเสถียร ''',(กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2535) หน้า 71, 75.
[[#_ftnref2|[2]]] ประภาส&nbsp; จารุเสถียร, '''ฝากเรื่องราวไว้ให้ลูกหลาน '''''': จอมพลประภาส&nbsp; จารุเสถียร ''',(กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน, 2535) หน้า 71, 75.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] ประภาส&nbsp; จารุเสถียร, หน้า 78-84&nbsp;&nbsp;&nbsp;
[[#_ftnref3|[3]]] ประภาส&nbsp; จารุเสถียร, หน้า 78-84&nbsp;&nbsp;&nbsp;
บรรทัดที่ 94: บรรทัดที่ 94:
[[#_ftnref4|[4]]] ประภาส&nbsp; จารุเสถียร, หน้า 88-89&nbsp;&nbsp;&nbsp;
[[#_ftnref4|[4]]] ประภาส&nbsp; จารุเสถียร, หน้า 88-89&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559
[[#_ftnref5|[5]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm http://www.rta.mi.th/command/command18.htm] เมื่อ10 กันยายน 2559
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] สุชิน ตันติกุล,'''รัฐประหาร พ.ศ.2490,''' (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2557), หน้า 72.
[[#_ftnref6|[6]]] สุชิน ตันติกุล,'''รัฐประหาร พ.ศ.2490,''' (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน, 2557), หน้า 72.
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] สุชิน ตันติกุล, หน้า 97.
[[#_ftnref7|[7]]] สุชิน ตันติกุล, หน้า 97.
บรรทัดที่ 102: บรรทัดที่ 102:
[[#_ftnref8|[8]]] สุชิน ตันติกุล, หน้า 171.
[[#_ftnref8|[8]]] สุชิน ตันติกุล, หน้า 171.
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] ประทีป สายเสน, '''กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : บริษัทฐานการพิมพ์ จำกัด, 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 122-123.
[[#_ftnref9|[9]]] ประทีป สายเสน, '''กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ&nbsp;: บริษัทฐานการพิมพ์ จำกัด, 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 122-123.
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559
[[#_ftnref10|[10]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm http://www.rta.mi.th/command/command18.htm] เมื่อ10 กันยายน 2559
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, '''วันการเมือง''', (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 165.
[[#_ftnref11|[11]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, '''วันการเมือง''', (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 165.
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559
[[#_ftnref12|[12]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm http://www.rta.mi.th/command/command18.htm] เมื่อ10 กันยายน 2559
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, หน้า 64.
[[#_ftnref13|[13]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, หน้า 64.
</div> <div id="ftn14">
</div> <div id="ftn14">
[[#_ftnref14|[14]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559
[[#_ftnref14|[14]]] กองทัพบก,'''จอมพล ประภาส จารุเสถียร''', เข้าถึงจาก [http://www.rta.mi.th/command/command18.htm http://www.rta.mi.th/command/command18.htm] เมื่อ10 กันยายน 2559
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, หน้า 146.
[[#_ftnref15|[15]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, หน้า 146.
บรรทัดที่ 120: บรรทัดที่ 120:
[[#_ftnref17|[17]]] &nbsp;ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.14 ตุลา&nbsp;:&nbsp;บันทึกประวัติศาสตร์, ใน &nbsp;'''ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทยกับความรุนแรงทางการเมือง''',(กรุงเทพฯ&nbsp;:&nbsp;มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2556 พิมพ์ครั้งที่ 5),หน้า68
[[#_ftnref17|[17]]] &nbsp;ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.14 ตุลา&nbsp;:&nbsp;บันทึกประวัติศาสตร์, ใน &nbsp;'''ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทยกับความรุนแรงทางการเมือง''',(กรุงเทพฯ&nbsp;:&nbsp;มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2556 พิมพ์ครั้งที่ 5),หน้า68
</div> <div id="ftn18">
</div> <div id="ftn18">
[[#_ftnref18|[18]]] เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองของไทย 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ใน '''จาก 14 ถึง 6 ตุลา''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2544,พิมพ์ครั้งที่ 3), หน้า 380-383.
[[#_ftnref18|[18]]] เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองของไทย 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ใน '''จาก 14 ถึง 6 ตุลา''', (กรุงเทพฯ&nbsp;: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2544,พิมพ์ครั้งที่ 3), หน้า 380-383.
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:58, 5 กรกฎาคม 2561

ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


จอมพลประภาส จารุเสถียร

          จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทยตั้งปี พ.ศ.2490 ขณะเป็นผู้บังคับกองพันที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยนำกำลังเข้ายึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือตรีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ จากนั้นก็มีบทบาทในการปราบกบฎวังหลวง พ.ศ.2492 ปราบกบฎแมนฮัตตัน พ.ศ.2494 ยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลจอมพล_ป.พิบูลสงคราม พ.ศ.2500 จากนั้นก็มีบทบาทในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้บัญชาการทหารบก อธิบดีกรมตำรวจ และอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนหมดบทบาททางการเมืองหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516

 

ประวัติส่วนบุคคล

          จอมพลประภาส จารุเสถียร เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2455 ณ ตำบลหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี เป็นบุตรของอำมาตย์เอก พระยาพายัพพิริยะกิจ (เป้า จารุเสถียร) และนางบัวตอง ณ ลำปาง เมื่ออายุ 6 ปี ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนมหาดเล็กหลวง จังหวัดเชียงใหม่ จากนั้นเข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดสามพระยาจนสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 3  ย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส 1 ปีแล้วกลับมาศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดสามพระยาจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเมื่อ พ.ศ.2472 จากนั้นออกเป็นนักเรียนทำการนายร้อยประจำกองพันทหารราบที่ 6 เมื่อ พ.ศ.2476 [1]

          ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิง ไสว จารุเสถียร บุตรีของเรือตรี วอน และนางฮวย ปานประสิทธิ์

 

เหตุการณ์สำคัญ

          จอมพลประภาส  จารุเสถียร ได้เข้าร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ขณะเป็นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่ 6 โดยได้รับการชักชวนจากนายร้อยเอก หลวงสวัสดิ์รณรงค์ (สวัสดิ์ ดาระสวัสดิ์)  ซึ่งเป็นผู้บังคับกองร้อย พร้อมเพื่อนนักเรียนนายร้อยชั้นสูงอีกไม่น้อยกว่า 50 คน ที่ทราบเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยนายร้อยเอก หลวงสวัสดิ์รณรงค์ และบรรดานายทหารผู้ใหญ่หลายคนได้ กล่าวกับนักเรียนนายร้อยว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อความเสมอภาคมีสิทธิเท่าเทียมกันและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ยังได้รับการยกย่องเช่นเดิม โดยมิให้มีผลกระทบกระเทือนหรือลดตำแหน่งฐานะลงแต่อย่างใด ทำให้นักเรียนนายร้อยมีความคิดเอนเอียงที่จะร่วมมือในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเป็นหัวแรงสำคัญในการชักชวนพวกพ้องให้เข้าร่วมด้วย[2] วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2475 นายร้อยเอกหลวงสวัสดิ์รณรงค์ ได้เรียกประชุมและแจ้งกับนักเรียนนายร้อยว่าในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 กองทัพบกจะมีการแสดงการรบพิเศษ ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า โดยนักเรียนนายร้อยทุกกองร้อยจะได้เข้าร่วมการฝึกโดยวิธีสังเกตุการณ์ นี่คือแผนการนำนักเรียนนายร้อยทหารบกเข้าร่วมการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

          วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เมื่อนายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาได้อ่านประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีคำสั่งให้ทหารนำกำลังไปยึดสถานที่สำคัญต่างๆ นักเรียนนายร้อยหมู่ของนักเรียนนายร้อยประภาส จารุเสถียรได้รับมอบหมายให้ตามนายร้อยโทเสมอ_วงศาโรจน์ ซึ่งเป็นครูวิชาแผนที่ โรงเรียนนายร้อยทหารบกให้เข้ายึดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ[3] และในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2475 นักเรียนนายร้อยประภาส ได้รับมอบหมายให้ติดตามพระวิภาคภูวดล เข้ายึดกรมรถไฟพร้อมควบคุมตัวอธิบดีกรมรถไฟไปยังพระที่นั่งอนันตสมาคมซึ่งเป็นกองอำนวยการคณะราษฎร นักเรียนนายร้อยประภาสได้รับมอบหมายให้ควบคุมรักษาสถานีรถไฟหัวลำโพง ทำหน้าที่ตรวจตรารถไฟที่เข้าออก เพื่อมิให้ฝ่ายตรงข้ามนำกำลังบุกเข้ามาทางรถไฟได้[4]

          พ.ศ.2476 เมื่อเกิดกบฏบวรเดช จอมพลประภาสขณะเป็นนักเรียนทำการนายร้อยได้รับมอบหมายให้นำกำลังทหารในบังคับบัญชาติดตามโจมตีข้าศึกที่กำลังล่าถอยไปจนถึงนครราชสีมาและสามารถยิงนายพันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม เสนาธิการคณะกู้บ้านกู้เมืองจนถึงแก่ความตายที่สถานีรถไฟหินลับ ผลงานครั้งนี้ทำให้ได้รับเหรียญกล้าหาญและบำเหน็จ 4 ขั้น พ.ศ.2479 ได้ย้ายไปรับราชการในกรมตำรวจ รับพระราชทานยศนายร้อยตำรวจเอกจากนั้นย้ายกลับกองทัพบกมาเป็นผู้บังคับหมวด กองพันทหารราบที่ 7 ขึ้นเป็นรองผู้บังคับกองร้อยที่ 2 กองพันทหารราบที่ 22 จังหวัดอุดรธานี จนได้เป็นรองผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 22 เมื่อพ.ศ.2484[5]

          พ.ศ.2489 พันโทประภาส (ยศขณะนั้น) ได้ย้ายเข้าคุมหน่วยทหารในกรุงเทพฯโดยขึ้นเป็นผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์โดยมีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

          สภาวะหลังสงครามโลกครั้งที่สองทำให้ประชาชนเดือดร้อนจากการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและเกิดภาวะเงินเฟ้อ นอกจากนี้ทหารบกมีความไม่พอใจรัฐบาลตั้งแต่สงครามโลกสิ้นสุดลง เพราะอำนาจของกองทัพบกลดลง ทหารไม่สามารถเข้าไปมีบทบาททางการเมืองเพราะข้อห้ามในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 เช่น สมาชิกพฤตสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ[6] วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2490 เวลา 23.30 น. คณะรัฐประหารนำโดยพลโทผิน_ชุณหะวัณได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ โดยผู้ก่อการรัฐประหารครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการภายใต้การนำของพลโทผิน ชุณหะวัณ พลโท กาจ_กาจสงคราม (หลวงกาจสงคราม)  พันโทก้าน_จำนงภูมิเวท พันเอกสวัสดิ์_สวัสดิ์เกียรติ[7]โดยทหารจากกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ภายใต้การนำของพันเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (ยศขณะนั้น) ผู้บังคับการกรม และพันโทประภาส (ยศขณะนั้น) ผู้บังคับกองพันที่ 1 เป็นหน่วยกำลังหลักในการปฏิบัติการยึดอำนาจ[8]

          ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ.2490 พันโทประภาสเลื่อนขึ้นเป็นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 และในปีถัดมาได้เลื่อนยศเป็นพันเอกและย้ายมาดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

          วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2492 นายปรีดี_พนมยงค์ ได้ร่วมกับฝ่ายทหารเรือบางส่วนที่มีพลเรือตรีทหาร_ขำหิรัญ ผู้บัญชาการมณฑลทหารเรือที่ 2 และรักษาการผู้บังคับกองพลนาวิกโยธินสนับสนุน นายปรีดีได้ทำการยึดอำนาจ โดยเข้ายึดพระบรมมหาราชวังเป็นกองบัญชาการที่เรียกว่ากบฎวังหลวง[9] พันเอกประภาสในฐานะผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 ได้เป็นกำลังหลักในการปราบปรามกบฎวังหลวง ในปีถัดมาได้เลื่อนขึ้นเป็นรองผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์และ พ.ศ.2494 ก็เลื่อนขึ้นเป็นผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์และผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 1[10]

          วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 นาวาตรีมนัส_จารุภา ร.น.ได้นำทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะกู้ชาติ" ทำการจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอน"แมนฮัตตัน"ซึ่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกามอบให้รัฐบาลไทยที่ท่าราชวรดิฐ โดยควบคุมตัวไว้ในเรือรบหลวง"ศรีอยุธยา"[11] พลตรีประภาส (ยศขณะนั้น) ในฐานะผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์เป็นผู้มีบทบาทในการปราบกบฎแมนฮัตตัน จอมพลประภาสได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่_2 ตำแหน่งทางทหารเลื่อนขึ้นเป็นรองแม่ทัพภาค 1 รักษาราชการผู้บัญชาการกองพลที่ 1 และขึ้นเป็นที่ปรึกษากองทัพบกเมื่อ พ.ศ.2499 [12]

          ภายหลังการเลือกตั้งวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งพรรคเสรีมนังคศิลาที่มีจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าพรรค ได้จำนวนที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่_1 (เลือกตั้ง)  86 จาก 180 ที่นั่ง แต่ถูกกล่าวหาว่าโกงการเลือกตั้ง[13] วันที่ 2 มีนาคม นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประชาชนได้เดินขบวนประท้วงการเลือกตั้งสกปรก ในการจัดตั้งรัฐบาล จอมพลประภาสได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2500 แต่ความแตกแยกกันระหว่างจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก กับ พลตำรวจเอกเผ่า_ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ ทำให้ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารบก ได้ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีพร้อมด้วยรัฐมนตรีอีก 4 ท่าน อันประกอบด้วย พลโทถนอม_กิตติขจร (ยศขณะนั้น) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลโทประภาส จารุเสถียร (ยศขณะนั้น) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย พลตรี ศิริ_สิริโยธิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์และจอมพลอากาศเฉลิมเกียรติ_วัฒนางกูร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร

          วันที่ 15 กันยายน จอมพลสฤษดิ์ได้ประชุมนายทหารที่คุมกำลังเรียกร้องให้ จอมพล ป.พิบูลสงครามและพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ ลาออกจากตำแหน่ง ท่ามกลางความตึงเครียดทางการเมือง วันที่ 16 กันยายน จอมพลสฤษดิ์ได้ทำการยึดอำนาจการปกครอง จอมพล ป.และพลตำรวจเอกเผ่าถูกกดดันและบังคับเดินทางออกนอกประเทศ

          หลังการปฏิวัติ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2500 พลโทประภาสได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยและอยู่ในตำแหน่งนี้อย่างต่อเนื่องถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516

          ตำแหน่งทางทหารพลโทประภาสได้ขึ้นเป็นแม่ทัพภาคที่ 1 เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2500 เป็น ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ พ.ศ.2503 เป็นรองผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ พ.ศ.2507 ได้รับโปรดเกล้าพระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศเมื่อพ.ศ.2516 เมื่อพลตำรวจเอกประเสริฐ_รุจิรวงศ์ได้เกษียณอายุราชการจากตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจในพ.ศ.2515 จอมพลประภาสได้รับการแต่งตั้งให้รักษาราชการตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจอีกตำแหน่งหนึ่ง ในฐานะผู้บัญชาการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ภายในประเทศ จอมพล ประภาสได้จัดตั้งกองบัญชาการปราบปรามคอมมิวนิสต์เมื่อพ.ศ.2508[14]

          ตำแหน่งทางการเมืองจอมพลประภาสได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501

          วันที่ 20 มิถุนายน พุทธศักราช 2511 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2511 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้ระยะเวลาในการร่างนานที่สุด[15]ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญประกาศใช้จอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียรได้จัดตั้งพรรคสหประชาไทยขึ้น โดยมีจอมพลถนอมเป็นหัวหน้าพรรค จอมพลประภาสเป็นรองหัวหน้าพรรค และพลอากาศเอก ทวี_จุลทรัพย์ เป็นเลขาธิการพรรค  ในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พรรคสหประชาไทยได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งจำนวน 218 คน แต่ได้รับเลือกตั้งมาเพียง 76 คน ซึ่งไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องตั้งรัฐบาลผสมทำให้การบริหารงานของจอมพลถนอมเผชิญกับปัญหามากมาย จอมพลถนอมจึงแก้ปัญหาโดยการปฏิวัติตนเองในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2514 โดยประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญและรัฐสภา [16]

          การเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมไทยนับตั้งแต่มีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเมื่อ พ.ศ.2504 ทำให้สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จึงมีประชาชนกลุ่มต่างๆ เรียกร้องให้มีรัฐธรรมนูญ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ2516 เวลา 16.00 น. สมาชิกกลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญประมาณ 10 คน นำโดยนายธีรยุทธ_บุญมี นายประสาร_มฤคพิทักษ์ นายประพันธ์ศักดิ์_กมลเพชร นายธัญญา_ชุนชฎาธาร ได้แถลงข่าวการรณรงค์เรียกร้องรัฐธรรมนูญ ณ บริเวณอนุสาวรีย์ทหารอาสา วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2516 สมาชิกของกลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญได้เดินแจกเอกสารเรียกร้องรัฐธรรมนูญแล้วถูกจับในครั้งแรก 11 คนและต่อมาจับเพิ่มอีก 2 คน รวมเป็น 13 คน วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2516 นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดการชุมนุมที่ลานโพธิ์เรียกร้องให้ปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้ง 13 คน จอมพลถนอม กิตติขจรได้ประกาศใช้มาตรา 17 ของธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน เพื่อควบคุมผู้ต้องหาทั้ง 13 คน จนกว่าจะเสร็จสิ้นการสอบสวน แต่จำนวนผู้ชุมนุมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

          ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2516 ตอนสาย จอมพลประภาสได้เจรจากับเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยแต่การเจรจาตกลงกันไม่ได้ โดยรัฐบาลยืนกรานจะดำเนินการตามมาตรา 17 ในคืนวันที่ 11 ตุลาคมมีการประชุมคณะรัฐมนตรีเป็นการด่วนแล้วจัดตั้งศูนย์ปราบปรามจลาจลโดยมีจอมพลประภาสเป็นผู้อำนวยการ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2516 ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ยืนยันให้รัฐบาลปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้ง 13 คนโดยไม่มีเงื่อนไขภายในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2516 เวลา 12.00 น.มิเช่นนั้นจะได้พิจารณาใช้มาตรการในขั้นเด็ดขาดต่อไป แต่เมื่อถึงเวลาตามเงื่อนไขยังไม่มีคำตอบใดๆจากรัฐบาล ขบวนนักศึกษาและประชาชนได้เคลื่อนขบวนออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างนั้นตัวแทนของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาฯ ได้เข้าพบ เจรจาขั้นสุดท้ายกับจอมพลประภาส จารุเสถียร เมื่อได้รับคำตอบว่าจะปล่อยผู้ต้องหาทั้ง 13 คน และจะร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน 1 ปี สถานการณ์ดูเหมือนจะคลี่คลาย แต่ในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ระหว่างที่ประชาชนเดินทางกลับทางถนนราชวิถี ได้ถูกสกัดกั้นด้วยตำรวจคอมมานโดและเกิดการปะทะกันที่บริเวณข้างพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน โดยเหตุการณ์ลุกลามบานปลายอย่างรวดเร็วกลายเป็นการจลาจล จนในที่สุดจอมพลถนอมได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี วันที่ 15 ตุลาคม จอมพลประภาส และพันเอกณรงค์ กิตติขจร บุตรเขยและเป็นบุตรชายจอมพลถนอม พร้อมครอบครัวและผู้ติดตามได้เดินทางไปลี้ภัยการเมืองที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน [17]

          หลังจากลี้ภัยอยู่ในต่างประเทศได้ระยะหนึ่ง จอมพลประภาสได้เดินทางกลับประเทศไทยในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2519 โดยไม่ได้ผ่านขั้นตอนของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง หม่อมราชวงศ์เสนีย์_ปราโมช นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่าจอมพลประภาส จารุเสถียรเดินทางกลับเข้าเมืองไทยจริง ทำให้ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยได้จัดการชุมนุมเพื่อขับไล่จอมพลประภาสในวันที่ 17 สิงหาคม รัฐบาลได้ส่ง ผู้แทนคือ พล.อ. ทวิช_เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา และ พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์ ไปเจรจากับจอมพลประภาส โดยจอมพลประภาสแจ้งว่าเดินทางกลับมาเพื่อรักษาโรคต้อหินและโรคหัวใจโตจึงขอกลับมารักษาที่ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีความประสงค์ที่จะพิสูจน์ข้อกล่าวหา ในเหตุการณ์ 14_ตุลาคม_พ.ศ._2516 การชุมนุมมีความรุนแรงมากขึ้นโดยมีการขว้างระเบิดพลาสติคใส่ที่ชุมนุม จนในที่สุดวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2519 จอมพลประภาสได้ยินยอมออกเดินทางจากประเทศไทยกลับไปพำนักที่กรุงไทเป[18]

          ภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 จอมพลประภาสได้เดินทางกลับมาพำนักในประเทศไทยและถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540

 

ผลงานอื่นๆ

          จอมพลประภาสดำรงตำแหน่งอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน พ.ศ.2506 ถึงพ.ศ.2512

         

บรรณานุกรม

กองทัพบก,จอมพล ประภาส จารุเสถียร, เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559.

เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองของไทย 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ใน จาก 14 ถึง 6 ตุลา, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2544,พิมพ์ครั้งที่ 3), หน้า 380-383.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.14 ตุลา : บันทึกประวัติศาสตร์, ใน  ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทยกับความรุนแรงทางการเมือง,(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2556 พิมพ์ครั้งที่ 5),หน้า68

ประภาส  จารุเสถียร, 'ฝากเรื่องราวไว้ให้ลูกหลาน ': จอมพลประภาส  จารุเสถียร ,(กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2535) หน้า 71, 75.

ประทีป สายเสน, กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค์, (กรุงเทพฯ : บริษัทฐานการพิมพ์ จำกัด, 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 122-123.

นรนิติ เศรษฐบุตร, วันการเมือง, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 165.

นรนิติ เศรษฐบุตร,พรรคสหประชาไทย, เข้าถึงจาก [file:///C:\Users\Nok\Downloads\file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf file:///C:/Users/Nok/Downloads/file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf] เมื่อ10 กันยายน 2559

สุชิน ตันติกุล,รัฐประหาร พ.ศ.2490, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2557), หน้า 72.

 

อ้างอิง

[1]กองทัพบก,จอมพล ประภาส จารุเสถียร, เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559

[2] ประภาส  จารุเสถียร, 'ฝากเรื่องราวไว้ให้ลูกหลาน ': จอมพลประภาส  จารุเสถียร ,(กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2535) หน้า 71, 75.

[3] ประภาส  จารุเสถียร, หน้า 78-84   

[4] ประภาส  จารุเสถียร, หน้า 88-89   

[5] กองทัพบก,จอมพล ประภาส จารุเสถียร, เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559

[6] สุชิน ตันติกุล,รัฐประหาร พ.ศ.2490, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2557), หน้า 72.

[7] สุชิน ตันติกุล, หน้า 97.

[8] สุชิน ตันติกุล, หน้า 171.

[9] ประทีป สายเสน, กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค์, (กรุงเทพฯ : บริษัทฐานการพิมพ์ จำกัด, 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 122-123.

[10] กองทัพบก,จอมพล ประภาส จารุเสถียร, เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559

[11] นรนิติ เศรษฐบุตร, วันการเมือง, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 165.

[12] กองทัพบก,จอมพล ประภาส จารุเสถียร, เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559

[13] นรนิติ เศรษฐบุตร, หน้า 64.

[14] กองทัพบก,จอมพล ประภาส จารุเสถียร, เข้าถึงจาก http://www.rta.mi.th/command/command18.htm เมื่อ10 กันยายน 2559

[15] นรนิติ เศรษฐบุตร, หน้า 146.

[16] นรนิติ เศรษฐบุตร,พรรคสหประชาไทย, เข้าถึงจาก [file:///C:\Users\Nok\Downloads\file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf file:///C:/Users/Nok/Downloads/file_b213e89dae629707d67c99a20db1087f.pdf] เมื่อ10 กันยายน 2559

[17]  ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.14 ตุลา : บันทึกประวัติศาสตร์, ใน  ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทยกับความรุนแรงทางการเมือง,(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2556 พิมพ์ครั้งที่ 5),หน้า68

[18] เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองของไทย 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ใน จาก 14 ถึง 6 ตุลา, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2544,พิมพ์ครั้งที่ 3), หน้า 380-383.