ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ธิกานต์ ศรีนารา ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
== เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม ==
== เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม ==
   
   
ในประกาศของคณะราษฎรเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งได้วิจารณ์การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น มีข้อความตอนหนึ่งว่า คณะราษฎรจะดำเนินการปกครองโดยวางโครงการที่อาศัยหลักวิชา ไม่ทำไปเหมือนคนตาบอดเช่นรัฐบาลเก่า ผู้ร่างคำประกาศฉบับนั้น คือ ปรีดี พนมยงค์ หรือที่รู้จักกันดีโดยบรรดาศักดิ์ขณะนั้นว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ผู้ซึ่งเป็น “มันสมอง” ของคณะราษฎร ปรีดีได้รับการศึกษาทางกฎหมายและเศรษฐศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาได้รับอิทธิพลทางความคิดด้านสังคมนิยมจากการศึกษาประวัติลัทธิเศรษฐกิจ และมีความเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น จะเป็นเพียงการรัฐประหาร ถ้าปราศจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  ดังนั้น ในสัปดาห์แรกของเดือนมีนาคม พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์ จึงได้เสนอเอกสาร “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ที่เขาร่างขึ้นต่อสมาชิกคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” และรัฐบาลตามหลักการข้อที่ 3 ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักทั้ง 6 ประการที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้ว่า “จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก”   
ในประกาศของ[[คณะราษฎร]]เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน พ.ศ. 2475]] ซึ่งได้วิจารณ์การปกครองระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]นั้น มีข้อความตอนหนึ่งว่า คณะราษฎรจะดำเนินการปกครองโดยวางโครงการที่อาศัยหลักวิชา ไม่ทำไปเหมือนคนตาบอดเช่น[[รัฐบาล]]เก่า ผู้ร่างคำประกาศฉบับนั้น คือ [[ปรีดี พนมยงค์]] หรือที่รู้จักกันดีโดยบรรดาศักดิ์ขณะนั้นว่า [[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] ผู้ซึ่งเป็น “มันสมอง” ของคณะราษฎร ปรีดีได้รับการศึกษาทาง[[กฎหมาย]]และ[[เศรษฐศาสตร์]]จากประเทศฝรั่งเศส เขาได้รับอิทธิพลทางความคิดด้านสังคมนิยมจากการศึกษาประวัติลัทธิเศรษฐกิจ และมีความเชื่อว่า [[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น จะเป็นเพียงการ[[รัฐประหาร]] ถ้าปราศจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. '''เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 - 2477.''' (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2518) หน้า 235.</ref> ดังนั้น ในสัปดาห์แรกของเดือนมีนาคม พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์ จึงได้เสนอเอกสาร [[“เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ”]] ที่เขาร่างขึ้นต่อสมาชิกคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” และรัฐบาลตามหลักการข้อที่ 3 ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักทั้ง 6 ประการที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้ว่า “จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก”  <ref>หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2542) หน้า 4.</ref>


แต่ปัญหาก็คือว่า ในเวลานั้น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ในฐานะนายกรัฐมนตรีคนแรกของระบอบใหม่ มีแนวความคิดทางเศรษฐกิจที่สวนทางกับ ปรีดี พนมยงค์ มาตั้งแต่ก่อนที่ ปรีดี พนมยงค์ จะเสนอ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” เสียอีก ดังจะเห็นได้ว่า ในการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2475 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา กล่าวว่า  
แต่ปัญหาก็คือว่า ในเวลานั้น [[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] ในฐานะ[[นายกรัฐมนตรี]]คนแรกของระบอบใหม่ มีแนวความคิดทางเศรษฐกิจที่สวนทางกับ ปรีดี พนมยงค์ มาตั้งแต่ก่อนที่ ปรีดี พนมยงค์ จะเสนอ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” เสียอีก ดังจะเห็นได้ว่า ในการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2475 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา กล่าวว่า  


มีเถียงกันอยู่เป็น 2 ทาง ทางหนึ่งรัฐบาลเข้าจัดทำเองเสียทั้งหมด ซึ่งเป็นการตึงเกินไป...อีกทางหนึ่งก็คือรัฐบาลไม่ทำอะไรเลย  ปล่อยให้ราษฎรทำกันเอง...ดังนี้ก็เป็นการหย่อนเกินไป...ฉะนั้นจุดที่หมายของรัฐบาลนี้ จึงคิดมีส่วนในกิจการที่เห็นเป็นสำคัญ...(และ) ในเรื่องกรรมสิทธิแห่งทรัพย์สินนั้น...รัฐบาลนี้ก็ยังจะพูดและถือต่อไปว่า ทรัพย์สินของราษฎรทั้งหลายจะได้รับความคุ้มครอง  
:::'''มีเถียงกันอยู่เป็น 2 ทาง ทางหนึ่งรัฐบาลเข้าจัดทำเองเสียทั้งหมด ซึ่งเป็นการตึงเกินไป...อีกทางหนึ่งก็คือรัฐบาลไม่ทำอะไรเลย  ปล่อยให้ราษฎรทำกันเอง...ดังนี้ก็เป็นการหย่อนเกินไป...ฉะนั้นจุดที่หมายของรัฐบาลนี้ จึงคิดมีส่วนในกิจการที่เห็นเป็นสำคัญ...(และ) ในเรื่องกรรมสิทธิแห่งทรัพย์สินนั้น...รัฐบาลนี้ก็ยังจะพูดและถือต่อไปว่า ทรัพย์สินของราษฎรทั้งหลายจะได้รับความคุ้มครอง'''<ref>ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (พ.ศ. 2475 - 2517). (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชุมนุมช่าง, 2517), หน้า 23 – 24.</ref>


ความคิดเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจดังที่เกือบจะไม่แตกต่างจากนโยบายเศรษฐกิจในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ดังกล่าว และการที่รัฐมนตรีที่รับผิดชอบในด้านนี้เป็นผู้ที่ไม่มีความชำนาญในด้านเศรษฐกิจเลย เช่น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง เจ้าพระยาวงษานุประพันธ์ เป็นรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรพาณิชยการ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ปัญหาทางเศรษฐกิจไม่ได้รับการพิจารณาอย่างกระตือรือร้นตามหลัก 6 ประการ หรือ การดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลได้แถลงไว้ไม่เป็นจริงโดยทันที
ความคิดเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจดังที่เกือบจะไม่แตกต่างจากนโยบายเศรษฐกิจในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ดังกล่าว และการที่[[รัฐมนตรี]]ที่รับผิดชอบในด้านนี้เป็นผู้ที่ไม่มีความชำนาญในด้านเศรษฐกิจเลย เช่น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นรัฐมนตรี[[กระทรวงการคลัง]] [[เจ้าพระยาวงษานุประพันธ์]] เป็นรัฐมนตรี[[กระทรวงเกษตรพาณิชยการ]] เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ปัญหาทางเศรษฐกิจไม่ได้รับการพิจารณาอย่างกระตือรือร้นตามหลัก 6 ประการ หรือ การดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลได้แถลงไว้ไม่เป็นจริงโดยทันที


อย่างไรก็ตาม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำที่เกิดขึ้นทั่วโลกในเวลานั้น ได้ส่งผลให้เกิดแนวความคิดที่จะต้องมีการวางแผนเศรษฐกิจ แทนที่จะปล่อยให้เป็นไปตามระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมซึ่งเป็นเป็นกระแสหลักของโลก ขณะที่การจัดการกับเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพในประเทศค่ายสังคมนิยม อย่าง สหภาพโซเวียต และประเทศค่ายอำนาจฟาสซิสต์ อย่าง เยอรมนีและญี่ปุ่น รวมทั้ง นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยมซึ่งมีการตั้งกำแพงภาษี ขจัดอิทธิพลของต่างชาติในทางเศรษฐกิจ ก็เป็นสิ่งที่ท้าทายรัฐบาลสยามในเวลานั้นอย่างยิ่ง สภาพการณ์ดังกล่าว ได้ทำให้แนวคิดทางเศรษฐกิจในหลัก 6 ประการยังคงเป็นประเด็นสำคัญของกลุ่มพลเรือนหนุ่มที่อยู่ทั้งในรัฐบาลและในสภาผู้แทนราษฎร ดังจะเห็นได้ว่า ในเดือนสิงหาคม 2475 ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายคนอภิปรายสอบถามเร่งรัดให้รัฐบาลจัดทำโครงการทางเศรษฐกิจ และในอีก 6 ดือนถัดมา นายจรูญ สืบแสง และนายวิลาศ โอสถานนท์ สมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้พยายามกระตุ้นให้รัฐบาลเร่งวางแผนการทางเศรษฐกิจของตนเอง พวกเขากล่าวว่า “ได้พยายามเร่งรัดมาครั้งหนึ่งเมื่อประมาณ 6 เดือนมาแล้ว...อยากทราบว่าเมื่อไหร่จะทำได้...” นอกจากนี้ พวกเขายังท้าทายว่า ถ้ารัฐบาลดำเนินการในเรื่องนี้เสร็จไม่ทันในปีหน้า สภาผู้แทนราษฎรจะขอให้มีการ vote of confidence แบบเรียงตัวบุคคล  
อย่างไรก็ตาม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำที่เกิดขึ้นทั่วโลกในเวลานั้น ได้ส่งผลให้เกิดแนวความคิดที่จะต้องมีการวางแผนเศรษฐกิจ แทนที่จะปล่อยให้เป็นไปตามระบบเศรษฐกิจ[[แบบเสรีนิยม]]ซึ่งเป็นเป็นกระแสหลักของโลก ขณะที่การจัดการกับเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพในประเทศค่ายสังคมนิยม อย่าง [[สหภาพโซเวียต]] และประเทศ[[ค่ายอำนาจฟาสซิสต์]] อย่าง เยอรมนีและญี่ปุ่น รวมทั้ง นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยมซึ่งมีการตั้งกำแพงภาษี ขจัดอิทธิพลของต่างชาติในทางเศรษฐกิจ ก็เป็นสิ่งที่ท้าทายรัฐบาลสยามในเวลานั้นอย่างยิ่ง สภาพการณ์ดังกล่าว ได้ทำให้แนวคิดทางเศรษฐกิจในหลัก 6 ประการยังคงเป็นประเด็นสำคัญของกลุ่มพลเรือนหนุ่มที่อยู่ทั้งในรัฐบาลและในสภาผู้แทนราษฎร ดังจะเห็นได้ว่า ในเดือนสิงหาคม 2475 ได้มี[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]หลายคน[[อภิปราย]]สอบถามเร่งรัดให้[[รัฐบาล]]จัดทำโครงการทางเศรษฐกิจ และในอีก 6 เดือนถัดมา [[จรูญ สืบแสง|นายจรูญ สืบแสง]] และ[[วิลาศ โอสถานนท์|นายวิลาศ โอสถานนท์]] [[สมาชิกคณะราษฎร]]สายพลเรือนและ[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] ได้พยายามกระตุ้นให้รัฐบาลเร่งวางแผนการทางเศรษฐกิจของตนเอง พวกเขากล่าวว่า “ได้พยายามเร่งรัดมาครั้งหนึ่งเมื่อประมาณ 6 เดือนมาแล้ว...อยากทราบว่าเมื่อไหร่จะทำได้...” นอกจากนี้ พวกเขายังท้าทายว่า ถ้ารัฐบาลดำเนินการในเรื่องนี้เสร็จไม่ทันในปีหน้า สภาผู้แทนราษฎรจะขอให้มีการ vote of confidence แบบเรียงตัวบุคคล<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 57.</ref>


ไม่เพียงแต่ในแวดวงรัฐบาลเท่านั้น ความคิดที่ว่า รัฐบาลควรมีการวางแผนการทางเศรษฐกิจยังปรากฏขึ้นในหมู่ประชาชนด้วย ในเดือนกรกฎาคม 2475 ก่อนที่รัฐบาลจะมอบหมายให้ ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาตินั้น นายมังกร สามเสน บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ ศรีกรุง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเวลานั้น ได้ร่างแผนเศรษฐกิจขึ้นมา 1 ฉบับ พร้อมทั้งเสนอให้มีการลดค่าเงินบาทลงมากกว่าที่เคยลดได้ก่อนการยึดอำนาจ การเคลื่อนไหวทั้งในและนอกสภาเหล่านี้ ส่งผลให้พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ยอมมอบหมายให้ ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ดำเนินการร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้น โดยรัฐบาลได้รายงานความคืบหน้าต่อรัชกาลที่ 7 เป็นระยะๆ  
ไม่เพียงแต่ในแวดวงรัฐบาลเท่านั้น ความคิดที่ว่า รัฐบาลควรมีการวางแผนการทางเศรษฐกิจยังปรากฏขึ้นในหมู่ประชาชนด้วย ในเดือนกรกฎาคม 2475 ก่อนที่รัฐบาลจะมอบหมายให้ ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาตินั้น [[นายมังกร สามเสน]] บรรณาธิการ[[หนังสือพิมพ์ ศรีกรุง]] และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเวลานั้น ได้ร่างแผนเศรษฐกิจขึ้นมา 1 ฉบับ พร้อมทั้งเสนอให้มีการลดค่าเงินบาทลงมากกว่าที่เคยลดได้ก่อนการยึดอำนาจ การเคลื่อนไหวทั้งในและนอกสภาเหล่านี้ ส่งผลให้พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ยอมมอบหมายให้ ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ดำเนินการร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้น โดยรัฐบาลได้รายงานความคืบหน้าต่อ[[รัชกาลที่ 7]] เป็นระยะๆ<ref>ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544) หน้า 137 – 138. </ref>


สมุดปกเหลือง หรือ เค้าโครงการเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์ มีเนื้อหา 3 ส่วน ส่วนแรกคือ เค้าโครงการเศรษฐกิจ, ส่วนที่สองคือ เค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร (Assurance Sociale) และส่วนที่สามคือ เค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช...  
[[สมุดปกเหลือง]] หรือ เค้าโครงการเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์ มีเนื้อหา 3 ส่วน ส่วนแรกคือ เค้าโครงการเศรษฐกิจ, ส่วนที่สองคือ เค้าร่าง[[พระราชบัญญัติ]]ว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร (Assurance Sociale) และส่วนที่สามคือ เค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช... <ref>หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. หน้า 4.</ref>
เค้าโครงการเศรษฐกิจ แบ่งเนื้อหาออกเป็น 11 หมวด


== เค้าโครงการเศรษฐกิจ แบ่งเนื้อหาออกเป็น 11 หมวด ==
'''หมวดที่ 1''' ย้ำถึงประกาศของคณะราษฎรข้อ 3 ที่ว่า “จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก” ซึ่ง ปรีดี พนมยงค์ เห็นว่าเป็นเรื่องที่ “รัฐบาลทำได้ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย”
'''หมวดที่ 1''' ย้ำถึงประกาศของคณะราษฎรข้อ 3 ที่ว่า “จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก” ซึ่ง ปรีดี พนมยงค์ เห็นว่าเป็นเรื่องที่ “รัฐบาลทำได้ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย”


'''หมวดที่ 2''' ว่าด้วย “ความไม่เที่ยงแท้แห่งการเศรษฐกิจในปัจจุบัน” ซึ่งกล่าวถึง “ความแร้นแค้นของราษฎร” และ “คนมั่งมี คนชั้นกลาง คนยากจน ก็อาจแร้นแค้น”  
'''หมวดที่ 2''' ว่าด้วย “ความไม่เที่ยงแท้แห่งการเศรษฐกิจในปัจจุบัน” ซึ่งกล่าวถึง “ความแร้นแค้นของราษฎร” และ “คนมั่งมี คนชั้นกลาง คนยากจน ก็อาจแร้นแค้น”  


'''หมวดที่ 3''' ว่าด้วย “การประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” ซึ่งกล่าวถึงหลายประเด็น ได้แก่ “ราษฎรทุกคนควรได้รับการประกันจากรัฐบาล” อันเป็นเรื่องที่ “เอกชนทำไม่ได้” โดยรัฐบาลต้องออก “พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร”, “ราษฎรไทยชอบเป็นข้าราชการ”, “เงินเป็นสิ่งที่ใช้แลกเปลี่ยน”, “รัฐบาลไม่ต้องริบทรัพย์ของผู้มั่งมี”, “การหักลบกลบหนี้”, “รัฐบาลเป็นผู้ประกอบเศรษฐกิจเอง”, “ราษฎรไม่มีที่ดินและเงินทุนพอ” และ “ที่ดิน แรงงาน เงินทุนองประเทศ”  
'''หมวดที่ 3''' ว่าด้วย “การประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” ซึ่งกล่าวถึงหลายประเด็น ได้แก่ “ราษฎรทุกคนควรได้รับการประกันจากรัฐบาล” อันเป็นเรื่องที่ “เอกชนทำไม่ได้” โดยรัฐบาลต้องออก “พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร”, “ราษฎรไทยชอบเป็นข้าราชการ”, “เงินเป็นสิ่งที่ใช้แลกเปลี่ยน”, “รัฐบาลไม่ต้องริบทรัพย์ของผู้มั่งมี”, “การหักลบกลบหนี้”, “รัฐบาลเป็นผู้ประกอบเศรษฐกิจเอง”, “ราษฎรไม่มีที่ดินและเงินทุนพอ” และ “ที่ดิน แรงงาน เงินทุนของประเทศ”  


'''หมวดที่ 4''' ว่าด้วย “แรงงานที่สูญเสียไปและพวกหนักโลก” หมายความว่า ประเทศไทยมีที่ดินจำนวนมาก แต่ “มิได้ใช้ให้เต็มที่” ทั้งนี้เพราะการประกอบการเศรษฐกิจตามทำนองเอกชนต่างคนต่างทำดังที่ทำกันมา ทำให้แรงงานสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์บ้าง ขาดเครื่องจักรกลที่จะช่วยแรงงานให้ได้ผลดียิ่งขึ้นบ้าง และมี “บุคคลที่เกิดมาหนักโลก” ซึ่งหมายถึง บุคคลที่อาศัยคนอื่นกิน ไม่เป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจหรือกิจการใดให้เหมาะสมกับแรงงานของตน อาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และสถานที่ของผู้อื่น หรือบางทีก็ทำงานเล็กๆ น้อยๆ ในกรุงเทพฯ หรือในหัวเมือง เมื่อสังเกตตามบ้านของชนชั้นกลาง หรือตามบ้านของคนมั่งมีแล้วก็จะเห็นว่า มีผู้ที่อาศัยกินอยู่เป็นจำนวนมาก บุคคลจำพวกนี้ นอกจากจะ “หนักโลก” แล้ว ยังเป็นเหตุให้ราคาสิ่งของเพิ่มขึ้นได้ ถ้าปล่อยให้คงอยู่ตราบปัจจุบันนี้ก็จะกลายเป็นคนขี้เกียจไป การปล่อยให้เอกชนต่างคนต่างทำ และปล่อยให้มีคนเกียจคร้านคอยอาศัยกินดังนั้น ผลเศรษฐกิจของประเทศก็จะลดน้อยลง ไม่มีวิธีใดที่ดีกว่าที่รัฐบาลจะประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง และหาทางบังคับและให้ราษฎรประเภทนี้ทำงาน จึงจะใช้แรงงานของ “ผู้ที่หนักโลก” นี้ ให้เป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองได้  
'''หมวดที่ 4''' ว่าด้วย “แรงงานที่สูญเสียไปและพวกหนักโลก” หมายความว่า ประเทศไทยมีที่ดินจำนวนมาก แต่ “มิได้ใช้ให้เต็มที่” ทั้งนี้เพราะการประกอบการเศรษฐกิจตามทำนองเอกชนต่างคนต่างทำดังที่ทำกันมา ทำให้แรงงานสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์บ้าง ขาดเครื่องจักรกลที่จะช่วยแรงงานให้ได้ผลดียิ่งขึ้นบ้าง และมี “บุคคลที่เกิดมาหนักโลก” ซึ่งหมายถึง บุคคลที่อาศัยคนอื่นกิน ไม่เป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจหรือกิจการใดให้เหมาะสมกับแรงงานของตน อาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และสถานที่ของผู้อื่น หรือบางทีก็ทำงานเล็กๆ น้อยๆ ในกรุงเทพฯ หรือในหัวเมือง เมื่อสังเกตตามบ้านของชนชั้นกลาง หรือตามบ้านของคนมั่งมีแล้วก็จะเห็นว่า มีผู้ที่อาศัยกินอยู่เป็นจำนวนมาก บุคคลจำพวกนี้ นอกจากจะ “หนักโลก” แล้ว ยังเป็นเหตุให้ราคาสิ่งของเพิ่มขึ้นได้ ถ้าปล่อยให้คงอยู่ตราบปัจจุบันนี้ก็จะกลายเป็นคนขี้เกียจไป การปล่อยให้เอกชนต่างคนต่างทำ และปล่อยให้มีคนเกียจคร้านคอยอาศัยกินดังนั้น ผลเศรษฐกิจของประเทศก็จะลดน้อยลง ไม่มีวิธีใดที่ดีกว่าที่รัฐบาลจะประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง และหาทางบังคับและให้ราษฎรประเภทนี้ทำงาน จึงจะใช้แรงงานของ “ผู้ที่หนักโลก” นี้ ให้เป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองได้<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 247 – 248. </ref>


หมวดที่ 5 ว่าด้วย “วิธีซึ่งรัฐบาลจะหาที่ดิน แรงงาน เงินทุน” อันได้แก่ การจัดหาที่ดิน โดยการซื้อ “ที่ดินที่จะใช้ประกอบการทางเศรษฐกิจ เช่น ที่นาหรือไร่ กลับคืนสู่รัฐบาล ส่วนที่บ้านอยู่อาศัยนั้นไม่จำเป็นที่รัฐบาลต้องซื้อคืน เว้นไว้แต่เจ้าของประสงค์จะขายแลกกับใบกู้”, การจัดหาการงาน โดยการรับราษฎรเป็นข้าราชการ และการจัดหาเงินทุน โดยการเก็บภาษีทางอ้อม, ออกฉลากกินแบ่ง, กู้เงิน และโดยการหาเครดิต ทั้งนี้ หลักการสำคัญที่รัฐบาลจะต้องควรคำนึงถึงก็คือ “รัฐบาลจะต้องดำเนินวิธีละม่อม คือ ต้องอาศัยการร่วมมือระหว่างคนมั่งมีและคนจน รัฐบาลจะต้องไม่ประหัตประหารคนมั่งมี”
'''หมวดที่ 5''' ว่าด้วย “วิธีซึ่งรัฐบาลจะหาที่ดิน แรงงาน เงินทุน” อันได้แก่ การจัดหาที่ดิน โดยการซื้อ “ที่ดินที่จะใช้ประกอบการทางเศรษฐกิจ เช่น ที่นาหรือไร่ กลับคืนสู่รัฐบาล ส่วนที่บ้านอยู่อาศัยนั้นไม่จำเป็นที่รัฐบาลต้องซื้อคืน เว้นไว้แต่เจ้าของประสงค์จะขายแลกกับใบกู้”, การจัดหาการงาน โดยการรับราษฎรเป็นข้าราชการ และการจัดหาเงินทุน โดยการเก็บภาษีทางอ้อม, ออกฉลากกินแบ่ง, กู้เงิน และโดยการหาเครดิต ทั้งนี้ หลักการสำคัญที่รัฐบาลจะต้องควรคำนึงถึงก็คือ “รัฐบาลจะต้องดำเนินวิธีละม่อม คือ ต้องอาศัยการร่วมมือระหว่างคนมั่งมีและคนจน รัฐบาลจะต้องไม่[[ประหัตประหาร]]คนมั่งมี” <ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 248 – 249.</ref>


'''หมวดที่ 6''' ว่าด้วย “การจัดทำให้รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลเข้าสู่ดุลยภาพ” และ “การจัดเศรษฐกิจของรัฐบาลต้องระวังมิให้มนุษย์กลายเป็นสัตว์” ตามคำของ ปรีดี พนมยงค์
'''หมวดที่ 6''' ว่าด้วย “การจัดทำให้รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลเข้าสู่ดุลยภาพ” และ “การจัดเศรษฐกิจของรัฐบาลต้องระวังมิให้มนุษย์กลายเป็นสัตว์” ตามคำของ ปรีดี พนมยงค์


ความจริงเท่าที่ได้กล่าวแล้ว ข้าพเจ้าได้ถือว่าราษฎรเป็นข้าราชการ มีฐานะเหมือนข้าราชการทุกวันนี้ที่ทำงานแล้วได้รับเงินเดือน และเมื่อเจ็บป่วยชราได้เบี้ยบำนาญ ข้าพเจ้าได้ระวังมิให้มนุษย์มีสภาพเป็นสัตว์ ข้าพเจ้าประสงค์ให้มนุษย์เป็นมนุษย์ยิ่งขึ้น ปราศจากการประทุษร้ายต่อกันอันเนื่องมาจากเหตุเศรษฐกิจ ข้าพเจ้ายังเคารพต่อครอบครัวของผู้นั้น ผู้หญิงไม่ใช่เป็นของกลาง ความเกี่ยวพันในระหว่างครอบครัว ผู้บุพการี เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย บิดา มารดา กับผู้สืบสันดาน เช่น บุตรหลาน ยังคงมีตามกฎหมายลักษณะผัวเมียไม่ยกเลิก ราษฎรคงมีบ้านอยู่ตามสภาพที่จะจัดให้ดีขึ้น ราษฎรยังคงมีมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญเหมือนดังข้าราชการในทุกวันนี้ ถ้าหากราษฎรหมดมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญแล้ว ข้าราชการในทุกวันนี้ก็จะมิเป็นบุคคลจำพวกที่หมดมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญหรือ  
:::'''ความจริงเท่าที่ได้กล่าวแล้ว ข้าพเจ้าได้ถือว่าราษฎรเป็นข้าราชการ มีฐานะเหมือนข้าราชการทุกวันนี้ที่ทำงานแล้วได้รับเงินเดือน และเมื่อเจ็บป่วยชราได้[[เบี้ยบำนาญ]] ข้าพเจ้าได้ระวังมิให้มนุษย์มีสภาพเป็นสัตว์ ข้าพเจ้าประสงค์ให้มนุษย์เป็นมนุษย์ยิ่งขึ้น ปราศจากการประทุษร้ายต่อกันอันเนื่องมาจากเหตุเศรษฐกิจ ข้าพเจ้ายังเคารพต่อครอบครัวของผู้นั้น ผู้หญิงไม่ใช่เป็นของกลาง ความเกี่ยวพันในระหว่างครอบครัว ผู้บุพการี เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย บิดา มารดา กับผู้สืบสันดาน เช่น บุตรหลาน ยังคงมีตามกฎหมายลักษณะผัวเมียไม่ยกเลิก ราษฎรคงมีบ้านอยู่ตามสภาพที่จะจัดให้ดีขึ้น ราษฎรยังคงมีมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญเหมือนดังข้าราชการในทุกวันนี้ ถ้าหากราษฎรหมดมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญแล้ว ข้าราชการในทุกวันนี้ก็จะมิเป็นบุคคลจำพวกที่หมดมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญหรือ '''<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 256 – 257.</ref>


หมวดที่ 7 ว่าด้วย “การแบ่งงานออกเป็นสหกรณ์” กล่าวคือ แม้ว่าโดยตามหลักการแล้วรัฐบาลจะเป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจเอง แต่ในประเทศที่กว้างขวาง มีพลเมืองมากกว่า 11 ล้านคน ดังเช่นประเทศไทย หากการประกอบการเศรษฐกิจขึ้นตรงต่อรัฐบาลทั้งหมด การควบคุมตรวจตราก็อาจจะไม่ทั่วถึง ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องแบ่งการประกอบการเศรษฐกิจเป็นสหกรณ์ต่างๆ   
'''หมวดที่ 7''' ว่าด้วย “การแบ่งงานออกเป็นสหกรณ์” กล่าวคือ แม้ว่าโดยตามหลักการแล้วรัฐบาลจะเป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจเอง แต่ในประเทศที่กว้างขวาง มีพลเมืองมากกว่า 11 ล้านคน ดังเช่นประเทศไทย หากการประกอบการเศรษฐกิจขึ้นตรงต่อรัฐบาลทั้งหมด การควบคุมตรวจตราก็อาจจะไม่ทั่วถึง ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องแบ่งการประกอบการเศรษฐกิจเป็นสหกรณ์ต่างๆ<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 257.</ref>  


หมวดที่ 8 ว่าด้วย “รัฐบาลจะจัดให้มีเศรษฐกิจชนิดใดบ้างในประเทศ” โดยรัฐบาลจะต้องถือหลักว่า จะต้องจัดการกสิกรรม อุตสาหกรรมทุกอย่างให้มีขึ้น ซึ่งในที่สุดประเทศก็จะไม่จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อป้องกันภัยอันตรายอันจะเกิดจากการปิดประตูการค้าได้ เมื่อเรามีสิ่งที่ต้องการภายในประเทศครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว แม้จะถูกปิดประตูการค้าก็ไม่เดือดร้อน   
'''หมวดที่ 8''' ว่าด้วย “รัฐบาลจะจัดให้มีเศรษฐกิจชนิดใดบ้างในประเทศ” โดยรัฐบาลจะต้องถือหลักว่า จะต้องจัดการ[[กสิกรรม]] อุตสาหกรรมทุกอย่างให้มีขึ้น ซึ่งในที่สุดประเทศก็จะไม่จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อป้องกันภัยอันตรายอันจะเกิดจากการปิดประตูการค้าได้ เมื่อเรามีสิ่งที่ต้องการภายในประเทศครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว แม้จะถูกปิดประตูการค้าก็ไม่เดือดร้อน<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 259.</ref>  


หมวดที่ 9 ว่าด้วย “การป้องกันความยุ่งยากในปัญหาเรื่องนายจ้างกับลูกจ้าง” ที่ ปรีดี พนมยงค์ เห็นว่า ถ้าประเทศสยามจะดำเนินตามลัทธิที่ปล่อยให้บริษัทเอกชนเป็นเจ้าของโรงงานแล้ว ก็จะนำความระส่ำระสายและความหายนะมาสู่ประเทศ เช่นเดียวกับประเทศยุโรป ดังจะเห็นได้ว่า ในประเทศไทย แม้โรงงานจะมีเพียงเล็กน้อย แต่ปัญหาก็เริ่มเกิดขึ้น เช่น การประท้วงของกรรมกรรถราง เป็นต้น ยิ่งถ้าหากบ้านเมืองเจริญขึ้น โรงงานก็มีมากขึ้น ความระส่ำระสายก็จะมากขึ้นด้วย ดังนั้น ถ้ารัฐได้เข้าเป็นเจ้าของการประกอบการทางเศรษฐกิจทั้งหลายเสียเอง เมื่อราษฎรทั้งหลายทำงานตามกำลังและตามความสามารถเหมือนกับข้าราชการประเภทอื่นแล้ว ก็จะได้รับผลเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นความเสมอภาคตามกำลังและความสามารถ “รัฐบาลเป็นผู้แทนราษฎรก็เท่ากับราษฎรได้เป็นเจ้าของการเศรษฐกิจทั้งปวง”  
'''หมวดที่ 9''' ว่าด้วย “การป้องกันความยุ่งยากในปัญหาเรื่องนายจ้างกับลูกจ้าง” ที่ ปรีดี พนมยงค์ เห็นว่า ถ้าประเทศสยามจะดำเนินตามลัทธิที่ปล่อยให้บริษัทเอกชนเป็นเจ้าของโรงงานแล้ว ก็จะนำความระส่ำระสายและความหายนะมาสู่ประเทศ เช่นเดียวกับประเทศยุโรป ดังจะเห็นได้ว่า ในประเทศไทย แม้โรงงานจะมีเพียงเล็กน้อย แต่ปัญหาก็เริ่มเกิดขึ้น เช่น การ[[ประท้วง]]ของ[[กรรมกรรถราง]] เป็นต้น ยิ่งถ้าหากบ้านเมืองเจริญขึ้น โรงงานก็มีมากขึ้น ความระส่ำระสายก็จะมากขึ้นด้วย ดังนั้น ถ้ารัฐได้เข้าเป็นเจ้าของการประกอบการทางเศรษฐกิจทั้งหลายเสียเอง เมื่อราษฎรทั้งหลายทำงานตามกำลังและตามความสามารถเหมือนกับข้าราชการประเภทอื่นแล้ว ก็จะได้รับผลเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นความเสมอภาคตามกำลังและความสามารถ “รัฐบาลเป็นผู้แทนราษฎรก็เท่ากับราษฎรได้เป็นเจ้าของการเศรษฐกิจทั้งปวง”<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 259 - 260.</ref>
หมวดที่ 10 ว่าด้วย “แผนเศรษฐกิจแห่งชาติ” เพื่อให้การประกอบเศรษฐกิจสามารดำเนินไปโดยเรียบร้อยและได้ผลดี โดยจะต้องคำนวณและสืบสวนว่า “ปัจจัยแห่งการดำรงชีวิตตามความต้องการของราษฎรนั้นมีอะไรบ้าง”, “ต้องอาศัยที่ดิน แรงงาน เงินทุน เป็นจำนวนเท่าใด”, และต้องรู้ว่า ในปัจจุบัน รัฐบาลมีที่ดิน แรงงาน และเงินทุนเท่าใดและควรจะต้องเพิ่มขึ้นเท่าใด


หมวดที่ 11 ว่าด้วย “ผลสำเร็จอันเกี่ยวแก่หลัก 6 ประการ” อันได้แก่ เอกราช, การรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน, การเศรษฐกิจ, เสมอภาค, เสรีภาพ และ การศึกษา กล่าวคือ เมื่อรัฐบาลจัดการประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง โดยแบ่งการเศรษฐกิจออกเป็นสหกรณ์นั้น ย่อมทำให้วัตถุประสงค์อื่นๆ ของคณะราษฎรได้สำเร็จเป็นอย่างดียิ่งกว่าการปล่อยการเศรษฐกิจให้เอกชนต่างคนต่างทำ 
'''หมวดที่ 10''' ว่าด้วย “แผนเศรษฐกิจแห่งชาติ” เพื่อให้การประกอบเศรษฐกิจสามารดำเนินไปโดยเรียบร้อยและได้ผลดี โดยจะต้องคำนวณและสืบสวนว่า “ปัจจัยแห่งการดำรงชีวิตตามความต้องการของราษฎรนั้นมีอะไรบ้าง”, “ต้องอาศัยที่ดิน แรงงาน เงินทุน เป็นจำนวนเท่าใด”, และต้องรู้ว่า ในปัจจุบัน รัฐบาลมีที่ดิน แรงงาน และเงินทุนเท่าใดและควรจะต้องเพิ่มขึ้นเท่าใด <ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 260 - 262.</ref>
เกี่ยวกับแนวความคิดเบื้องหลัง “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ นั้น  ชัยอนันต์ สมุทวณิช เสนอว่า ปรีดีได้รับอิทธิพลมาจากหลักโซลิดาริสต์ซึ่งถือว่า มนุษย์ในสังคมเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ต่อกัน ความคิดหลักของปรีดีคือ มนุษย์ทุกคนที่เกิดมาย่อมเป็นลูกหนี้เจ้าหนี้ต่อกัน ความยากแค้นของมนุษย์เกิดจากสภาพสังคมและเศรษฐกิจ สังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ฝูงชนยากจนลงได้ ฉะนั้น มนุษย์ทุกคนต่างก็มีหนี้ตามธรรมจริยาต่อกัน จำเป็นต้องร่วมประกันภัยต่อกันและกัน และร่วมกันในการประกอบการทางเศรษฐกิจ ความไม่เที่ยงแท้แน่นอนในระบบเศรษฐกิจและสังคม ทำให้ทุกชนชั้นต้องตกอยู่ในสภาพที่ช่วยตัวเองไม่ได้ ถ้ารัฐไม่ยื่นมือเข้าไปช่วยจัดระเบียบเศรษฐกิจ รัฐบาลภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไม่มีแผนเศรษฐกิจที่แน่นอน รัฐบาลของคณะราษฎรจึงจะแก้ไขข้อบกพร่องนี้เสีย โดยกำหนดโครงการที่อาศัยหลักวิชาของการวางแผนแบบสังคมนิยมซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์โดยแท้


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่า “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ นั้น เสนอในสิ่งใหม่สุดของสังคมสยาม นั่นคือการที่รัฐบาลจะใช้พันธบัตรซื้อที่ดินสำหรับการเพาะปลูกทั้งหมด ยกเว้นที่อยู่อาศัย ดังนั้น ชาวไร่ชาวนาก็จะกลายเป็นลูกจ้างของรัฐบาล ได้รับเงินเดือน รัฐบาลคุมกิจการค้าใหญ่ที่สุดของประเทศ คือ ข้าว ทั้งในด้านการผลิตและในด้านการค้าขาย เป็นการตัดคนกลาง ในขณะเดียวกัน ระบบกำไรขาดทุนก็จะถูกขจัดออกไป ประชาชนจะซื้อข้าวของเครื่องใช้จากร้านค้าของรัฐบาล หากพิจารณาตามตัวอักษร แผนการเศรษฐกิจดังกล่าวเป็นเรื่องใหญ่โตมาก เพราะเป็นการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ในการผลิตและปัจจัยการผลิตของคนทั้งชาติ และที่สำคัญที่สุดก็คือ มีผลกระทบโดยตรงและรุนแรงต่อเจ้าและขุนนางในระบอบเก่าซึ่งส่วนใหญ่มีฐานทางเศรษฐกิจจากการเป็นเจ้าของที่ดินจำนวนมาก อันจะนำมาซึ่งการต่อต้านอย่างรุนแรง 
'''หมวดที่ 11''' ว่าด้วย “ผลสำเร็จอันเกี่ยวแก่หลัก 6 ประการ” อันได้แก่ เอกราช, การรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน, การเศรษฐกิจ, เสมอภาค, เสรีภาพ และ การศึกษา กล่าวคือ เมื่อรัฐบาลจัดการประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง โดยแบ่งการเศรษฐกิจออกเป็นสหกรณ์นั้น ย่อมทำให้วัตถุประสงค์อื่นๆ ของคณะราษฎรได้สำเร็จเป็นอย่างดียิ่งกว่าการปล่อยการเศรษฐกิจให้เอกชนต่างคนต่างทำ<ref>หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. หน้า 1 - 44.</ref> 


ขณะที่ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เสนอว่า แม้ปรีดี พนมยงค์จะยืนกรานว่า “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของเขา “ดำเนินวิธีละม่อม”, “อาศัยการร่วมมือระหว่างคนมั่งมีและคนจน” และ “ไม่ประหัตประหารคนมั่งมี”, “ถ้าหากพวกคอมมิวนิสต์มาอ่าน จะติเตียนมากว่ายังรองรับคนมั่งมีให้มีอยู่” ก็ตาม แต่ข้อเสนอใน “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เพียงแต่เป็นหลักการที่ปฏิบัติไม่ได้เท่านั้น หากยังไม่สมควรปฏิบัติด้วย ทั้งนี้เนื่องจากมีลักษณะที่อาจเรียกตามภาษาสมัยใหม่ว่า “ซ้ายจัด” คือ “ซ้าย” ยิ่งกว่าพวกบอลเชวิคในรัสเซียก่อน        สมัยสตาลินเสียอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นโยบายต่อชาวนา เนื่องจาก หัวใจสำคัญที่สุดของ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” คือการทำให้ชาวนารวมหมู่โดยการบังคับ เห็นได้ชัดจากการที่ ปรีดี พนมยงค์ เสนอให้รัฐบาลใช้อำนาจบังคับ “ซื้อ” ที่ดินทำกินทั้งหมดของชาวนามาเป็นของรัฐ ชาวนาสามารถมีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลได้เฉพาะที่ตั้งบ้านอยู่อาศัยเท่านั้น และเมื่อที่ดินทำกินกลายเป็นของรัฐแล้ว พวกเขาก็จะกลายเป็นคนงานของรัฐไปด้วย
เกี่ยวกับแนวความคิดเบื้องหลัง “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ นั้น  [[ชัยอนันต์ สมุทวณิช]] เสนอว่า ปรีดีได้รับอิทธิพลมาจาก[[หลักโซลิดาริสต์]]ซึ่งถือว่า มนุษย์ในสังคมเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ต่อกัน ความคิดหลักของปรีดีคือ มนุษย์ทุกคนที่เกิดมาย่อมเป็นลูกหนี้เจ้าหนี้ต่อกัน ความยากแค้นของมนุษย์เกิดจากสภาพสังคมและเศรษฐกิจ สังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ฝูงชนยากจนลงได้ ฉะนั้น มนุษย์ทุกคนต่างก็มีหนี้ตามธรรมจริยาต่อกัน จำเป็นต้องร่วมประกันภัยต่อกันและกัน และร่วมกันในการประกอบการทางเศรษฐกิจ ความไม่เที่ยงแท้แน่นอนในระบบเศรษฐกิจและสังคม ทำให้ทุกชนชั้นต้องตกอยู่ในสภาพที่ช่วยตัวเองไม่ได้ ถ้ารัฐไม่ยื่นมือเข้าไปช่วยจัดระเบียบเศรษฐกิจ รัฐบาลภายใต้ระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ไม่มีแผนเศรษฐกิจที่แน่นอน รัฐบาลของ[[คณะราษฎร]]จึงจะแก้ไขข้อบกพร่องนี้เสีย โดยกำหนดโครงการที่อาศัยหลักวิชาของการวางแผนแบบ[[สังคมนิยม]]ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์โดยแท้ <ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 235.</ref>


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่า ก่อนหน้าที่จะมีการเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ปรีดีได้แจกจ่าย “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของเขาให้อ่านกันในหมู่ของคณะผู้ก่อการ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางคน พร้อมๆ กับนำขึ้นถวายต่อรัชกาลที่ 7 หลังจานั้นไม่นานก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงถึงกับมีการประนามว่าเป็นโครงการ “คอมมิวนิสต์” โดยเฉพาะในประเด็นที่ให้รวมปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ คือ ที่ดิน แรงงาน และทุน ให้รัฐดำเนินงานแทนเอกชน เกิดความแตกแยกขึ้นอย่างชัดเจนทั้งในคณะรัฐมนตรีและผู้นำของคณะราษฎรเอง  ในวันที่ 9 มีนาคม 2476 ปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอร่าง “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ต่อคณะรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ตกลงให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้น 14 คน เพื่อพิจารณาร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจฉบับนี้ ในระหว่างการประชุมสภาผู้แทนราษฎร นายจรูญ สืบแสง ได้ตั้งกระทู้ถามถึงความคืบหน้าเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ในบางประเด็นเขากล่าวว่า “นโยบายของหลวงประดิษฐ์ มีบางคนเข้าใจว่า เป็นนโยบายทาง Communist หรือ Socialist”
[[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] เสนอว่า “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ นั้น เสนอในสิ่งใหม่สุดของสังคมสยาม นั่นคือการที่รัฐบาลจะใช้[[พันธบัตร]]ซื้อที่ดินสำหรับการเพาะปลูกทั้งหมด ยกเว้นที่อยู่อาศัย ดังนั้น ชาวไร่ชาวนาก็จะกลายเป็นลูกจ้างของรัฐบาล ได้รับเงินเดือน รัฐบาลคุมกิจการค้าใหญ่ที่สุดของประเทศ คือ ข้าว ทั้งในด้านการผลิตและในด้านการค้าขาย เป็นการตัดคนกลาง ในขณะเดียวกัน ระบบกำไรขาดทุนก็จะถูกขจัดออกไป ประชาชนจะซื้อข้าวของเครื่องใช้จากร้านค้าของรัฐบาล หากพิจารณาตามตัวอักษร แผนการเศรษฐกิจดังกล่าวเป็นเรื่องใหญ่โตมาก เพราะเป็นการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ในการผลิตและปัจจัยการผลิตของคนทั้งชาติ และที่สำคัญที่สุดก็คือ มีผลกระทบโดยตรงและรุนแรงต่อเจ้าและขุนนางในระบอบเก่าซึ่งส่วนใหญ่มีฐานทางเศรษฐกิจจากการเป็นเจ้าของที่ดินจำนวนมาก อันจะนำมาซึ่งการต่อต้านอย่างรุนแรง<ref>ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544) หน้า 138.</ref> 


คณะอนุกรรมาธิการพิจารณา “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ ได้จัดประชุมขึ้นอีกในวันที่ 12 มีนาคม 2476 โดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นประธาน ที่ประชุมมีความเห็นแตกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเสนอให้ดำเนินการทางเศรษฐกิจอย่างรัฐบาลเก่า คือ ขยายสหกรณ์ประเภทเครดิต และขจัดคนกลาง เลือกทำในบางเรื่องตามโอกาสอำนวย และที่สำคัญคือ ไม่ต้องมีการวางแผนเศรษฐกิจ ส่วนฝ่ายของปรีดี พนมยงค์ เสนอให้รับหลักการที่จะดำเนินตาม “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” แต่ตั้งสภาเศรษฐกิจสำรวจและวางแผนจัดดำเนินการ “เมื่อมีแรงทุนเท่าใดทำเพียงเท่านั้น” การประชุมในวันนั้น ฝ่ายปรีดี พนมยงค์ พยายามรุกให้ที่ประชุมตกลงว่า จะเอาอย่างไรให้แน่นอน แต่ฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็เบี่ยงบ่ายด้วยความคิดที่ว่า โครงการนั้นจะดำเนินการไม่ได้ และถ้าหาก ปรีดี พนมยงค์ ประกาศโครงการเศรษฐกิจในนามของตนเอง ก็อย่าทำให้คนทั่วไปเข้าใจผิดว่าเป็นของรัฐบาล
ขณะที่ [[สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล]] เสนอว่า แม้ปรีดี พนมยงค์จะยืนกรานว่า “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของเขา “ดำเนินวิธีละม่อม”, “อาศัยการร่วมมือระหว่างคนมั่งมีและคนจน” และ “ไม่ประหัตประหารคนมั่งมี”, “ถ้าหากพวกคอมมิวนิสต์มาอ่าน จะติเตียนมากว่ายังรองรับคนมั่งมีให้มีอยู่” ก็ตาม แต่ข้อเสนอใน “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เพียงแต่เป็นหลักการที่ปฏิบัติไม่ได้เท่านั้น หากยังไม่สมควรปฏิบัติด้วย ทั้งนี้เนื่องจากมีลักษณะที่อาจเรียกตามภาษาสมัยใหม่ว่า “ซ้ายจัด” คือ “ซ้าย” ยิ่งกว่าพวก[[บอลเชวิค]]ในรัสเซียก่อน  สมัยสตาลินเสียอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นโยบายต่อชาวนา เนื่องจาก หัวใจสำคัญที่สุดของ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” คือการทำให้ชาวนารวมหมู่โดยการบังคับ เห็นได้ชัดจากการที่ ปรีดี พนมยงค์ เสนอให้รัฐบาลใช้อำนาจบังคับ “ซื้อ” ที่ดินทำกินทั้งหมดของชาวนามาเป็นของรัฐ ชาวนาสามารถมี[[กรรมสิทธิ์]]ส่วนบุคคลได้เฉพาะที่ตั้งบ้านอยู่อาศัยเท่านั้น และเมื่อที่ดินทำกินกลายเป็นของรัฐแล้ว พวกเขาก็จะกลายเป็นคนงานของรัฐไปด้วย <ref>สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ 6 ตุลารำลึก, 2544) หน้า 5.</ref>


ในที่ประชุมวันเดียวกัน ได้มีผู้ลงมติเห็นชอบด้วยกับ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ 8 เสียง ได้แก่ ปรีดี พนมยงค์, หลวงเดชสหกรณ์, นายแนบ พหลโยธิน, ม.จ.สกลวรรณกร วรวรรณ, หลวงคหกรรมบดี, หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์, นายทวี บุณยเกตุ และนายวิลาศ โอสถานนท์ และผู้ที่คัดค้านมี 4 เสียง ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน, พระยาศรีวิสารวาจา และ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ส่วนเสียงที่หายไปมี 2 เสียง คือ นายประยูร ภมรมนตรี และหลวงอรรถสารประสิทธิ์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นเลขานุการ นอกจากนี้ กลุ่มผู้คัดค้าน “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ ยังได้เสนอร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่เตรียมไว้อย่างคร่าวๆ ต่อที่ประชุมด้วย แต่ก็ไม่มีการอภิปรายถึงเรื่องนี้ในที่ประชุมอีกเลย แม้ว่าจะได้มีการประชุมสภาผู้แทนราษฎรอีกถึง 3 ครั้งก็ตาม   
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่า ก่อนหน้าที่จะมีการเสนอต่อ[[คณะรัฐมนตรี]] ปรีดีได้แจกจ่าย “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของเขาให้อ่านกันในหมู่ของ[[คณะผู้ก่อการ]] และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางคน พร้อมๆ กับนำขึ้นถวายต่อรัชกาลที่ 7 หลังจากนั้นไม่นานก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงถึงกับมีการประนามว่าเป็นโครงการ [[“คอมมิวนิสต์”]] โดยเฉพาะในประเด็นที่ให้รวมปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ คือ ที่ดิน แรงงาน และทุน ให้รัฐดำเนินงานแทนเอกชน เกิดความแตกแยกขึ้นอย่างชัดเจนทั้งในคณะรัฐมนตรีและผู้นำของคณะราษฎรเอง<ref>ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500, หน้า 138.</ref>  ในวันที่ 9 มีนาคม 2476 ปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอร่าง “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ต่อคณะรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ตกลงให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้น 14 คน เพื่อพิจารณาร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจฉบับนี้ ในระหว่างการประชุมสภาผู้แทนราษฎร [[นายจรูญ สืบแสง]] ได้ตั้งกระทู้ถามถึงความคืบหน้าเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ในบางประเด็นเขากล่าวว่า “นโยบายของหลวงประดิษฐ์ มีบางคนเข้าใจว่า เป็นนโยบายทาง Communist หรือ Socialist”
 
[[คณะอนุกรรมาธิการ]]พิจารณา “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ ได้จัดประชุมขึ้นอีกในวันที่ 12 มีนาคม 2476 โดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นประธาน ที่ประชุมมีความเห็นแตกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเสนอให้ดำเนินการทางเศรษฐกิจอย่างรัฐบาลเก่า คือ ขยายสหกรณ์ประเภทเครดิต และขจัดคนกลาง เลือกทำในบางเรื่องตามโอกาสอำนวย และที่สำคัญคือ ไม่ต้องมีการวางแผนเศรษฐกิจ ส่วนฝ่ายของปรีดี พนมยงค์ เสนอให้รับหลักการที่จะดำเนินตาม “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” แต่ตั้งสภาเศรษฐกิจสำรวจและวางแผนจัดดำเนินการ “เมื่อมีแรงทุนเท่าใดทำเพียงเท่านั้น” การประชุมในวันนั้น ฝ่ายปรีดี พนมยงค์ พยายามรุกให้ที่ประชุมตกลงว่า จะเอาอย่างไรให้แน่นอน แต่ฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็เบี่ยงบ่ายด้วยความคิดที่ว่า โครงการนั้นจะดำเนินการไม่ได้ และถ้าหาก ปรีดี พนมยงค์ ประกาศโครงการเศรษฐกิจในนามของตนเอง ก็อย่าทำให้คนทั่วไปเข้าใจผิดว่าเป็นของรัฐบาล
 
ในที่ประชุมวันเดียวกัน ได้มี[[ผู้ลงมติ]]เห็นชอบด้วยกับ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ 8 เสียง ได้แก่ ปรีดี พนมยงค์, [[หลวงเดชสหกรณ์]], [[นายแนบ พหลโยธิน]], [[ม.จ.สกลวรรณกร วรวรรณ]], [[หลวงคหกรรมบดี]], [[หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์]], [[ทวี บุณยเกตุ|นายทวี บุณยเกตุ]] และ[[วิลาศ โอสถานนท์|นายวิลาศ โอสถานนท์]] และผู้ที่คัดค้านมี 4 เสียง ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา [[พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน]], [[พระยาศรีวิสารวาจา]] และ [[พ.อ.พระยาทรงสุรเดช]] ส่วนเสียงที่หายไปมี 2 เสียง คือ [[นายประยูร ภมรมนตรี]] และ[[หลวงอรรถสารประสิทธิ์]] ซึ่งทำหน้าที่เป็นเลขานุการ นอกจากนี้ กลุ่มผู้คัดค้าน “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ ยังได้เสนอร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่เตรียมไว้อย่างคร่าวๆ ต่อที่ประชุมด้วย แต่ก็ไม่มีการอภิปรายถึงเรื่องนี้ในที่ประชุมอีกเลย แม้ว่าจะได้มีการ[[ประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]อีกถึง 3 ครั้งก็ตาม   


ควรกล่าวด้วยว่า ยังมีบุคคลที่สำคัญอีกบุคคลหนึ่งที่มีส่วนอย่างมากต่อผลสุดท้ายของความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล นั่นคือ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นผู้นำอีกคนหนึ่งของคณะราษฎร กล่าวคือ มีหลักฐานว่า ก่อนหน้าที่จะมีการคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม 2476 นั้น ปรีดี พนมยงค์ได้มีหนังสือไปถึง พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ลงวันที่ 24 มีนาคม 2476 แสดงการยินยอมให้มีการผ่อนผันในโครงการเศรษฐกิจของตนตาม “ข้อตำหนิ” ของ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช 3 ประการ คือ
ควรกล่าวด้วยว่า ยังมีบุคคลที่สำคัญอีกบุคคลหนึ่งที่มีส่วนอย่างมากต่อผลสุดท้ายของความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล นั่นคือ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นผู้นำอีกคนหนึ่งของคณะราษฎร กล่าวคือ มีหลักฐานว่า ก่อนหน้าที่จะมีการคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม 2476 นั้น ปรีดี พนมยงค์ได้มีหนังสือไปถึง พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ลงวันที่ 24 มีนาคม 2476 แสดงการยินยอมให้มีการผ่อนผันในโครงการเศรษฐกิจของตนตาม “ข้อตำหนิ” ของ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช 3 ประการ คือ
บรรทัดที่ 68: บรรทัดที่ 71:
ข้อความเหล่านี้ เป็นข้อความที่ผมได้ยอมผ่อนและได้ชี้แจงไว้แล้ว ฉะนั้น เมื่อประสงค์จะใช้โครงการเศรษฐกิจที่ผมได้เสนอไว้ และแก้ข้อความ 3 ประการนี้ ผมก็ยอมรับและขอให้ได้ประกาศตามที่แก้ไขให้อยู่ในเค้านี้ เมื่อแก้แล้ว เราจะได้ให้หลักการแก่สภาเศรษฐกิจแห่งชาติถูก เพื่อสภาจะได้ยกร่างโครงการพิสดารขึ้น และตั้งหน้าทำงานไปในหลักอันเดียวกัน มิฉะนั้น จะต้องโต้เถียงหลักการกันเรื่อยไป ทำให้การงานเดินไปไม่เรียบร้อย  
ข้อความเหล่านี้ เป็นข้อความที่ผมได้ยอมผ่อนและได้ชี้แจงไว้แล้ว ฉะนั้น เมื่อประสงค์จะใช้โครงการเศรษฐกิจที่ผมได้เสนอไว้ และแก้ข้อความ 3 ประการนี้ ผมก็ยอมรับและขอให้ได้ประกาศตามที่แก้ไขให้อยู่ในเค้านี้ เมื่อแก้แล้ว เราจะได้ให้หลักการแก่สภาเศรษฐกิจแห่งชาติถูก เพื่อสภาจะได้ยกร่างโครงการพิสดารขึ้น และตั้งหน้าทำงานไปในหลักอันเดียวกัน มิฉะนั้น จะต้องโต้เถียงหลักการกันเรื่อยไป ทำให้การงานเดินไปไม่เรียบร้อย  


แต่เมื่อคณะรัฐมนตรีก็ได้จัดการประชุมเพื่อพิจารณาปัญหาเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม 2476 ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความคิดเห็นโดยไม่มีการลงมติเท่านั้น ทั้งนี้ เนื่องจาก นายแนบ พหลโยธิน ได้เสนอให้ที่ประชุมรอการกลับมาจากต่างจังหวัดของ พระยาพหลพลพยุหเสนา เสียก่อน โดยหวังว่า จะสามารถประนีประนอมกันได้ และที่ประชุมก็มีมติเห็นชอบตามนั้น
แต่เมื่อคณะรัฐมนตรีก็ได้จัดการประชุมเพื่อพิจารณาปัญหาเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม 2476 ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความคิดเห็นโดยไม่มีการลงมติเท่านั้น ทั้งนี้ เนื่องจาก [[นายแนบ พหลโยธิน]] ได้เสนอให้ที่ประชุมรอการกลับมาจากต่างจังหวัดของ พระยาพหลพลพยุหเสนา เสียก่อน โดยหวังว่า จะสามารถประนีประนอมกันได้ และที่ประชุมก็มีมติเห็นชอบตามนั้น
 
[[ความขัดแย้ง]]ระหว่าง ปรีดี พนมยงค์ กับ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจดำเนินไปอย่างเข้มข้น ต่างฝ่ายต่างก็ยืนยันแนวทางของตนเองอย่างไม่ลดละ เงื่อนไขมีอยู่ว่า ถ้ารัฐบาลยอมรับนโยบายของฝ่ายใด อีกฝ่ายก็จะลาออก ปรีดี พนมยงค์ กล่าวว่า เข้าเฝ้าและได้รับ[[พระบรมราชานุญาต]]จาก[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ว่า “ถ้าจะประกาศเค้าโครงการของข้าพเจ้าก็ให้ลาออกจากรัฐมนตรีและข้าราชการ เพราะจะทำให้คนเข้าใจผิด อย่าให้เป็นโปลิซีของรัฐบาล จะได้ปล่อยให้มหาชนติชมกันได้ตามความพอใจ” ดังนั้น ปรีดี พนมยงค์ จึงขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาคัดค้านโดยอ้างว่า ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลที่สำคัญมากของรัฐบาล จะให้ลาออกไม่ได้ ปรีดี พนมยงค์จึงเสนอทางเลือกที่ 2 นั่นคือ ยังคงอยู่ร่วมรัฐบาลแต่ขอให้ความเห็นทางเศรษฐกิจของตนปรากฏในทางใดทางหนึ่ง แต่พระยา มโนปกรณ์นิติธาดาก็คัดค้านอีกโดยอ้างว่า ถ้าจะให้ทำอย่างนั้นก็ทำให้รัฐบาลขาดความน่าเชื่อถือ เพราะรัฐมนตรีร่วมคณะมีนโยบายแตกต่างกัน การประชุมครั้งนี้ ผู้ที่วางตัวเป็นกลางและทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งคือ [[พระยาธรรมศักดิ์มนตรี]] ซึ่งเสนอไม่ให้ประกาศนโยบายของฝ่ายใดเลย อันไหนดีทำได้ให้ทำอย่างนั้น และให้ส่งคนไปดูงานต่างประเทศ 


ความขัดแย้งระหว่าง ปรีดี พนมยงค์ กับ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจดำเนินไปอย่างเข้มข้น ต่างฝ่ายต่างก็ยืนยันแนวทางของตนเองอย่างไม่ลดละ เงื่อนไขมีอยู่ว่า ถ้ารัฐบาลยอมรับนโยบายของฝ่ายใด อีกฝ่ายก็จะลาออก ปรีดี พนมยงค์ กล่าวว่า เข้าเฝ้าและได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “ถ้าจะประกาศเค้าโครงการณ์ของข้าพเจ้าก็ให้ลาออกจากรัฐมนตรีและข้าราชการ เพราะจะทำให้คนเข้าใจผิด อย่าให้เป็นโปลิซีของรัฐบาล จะได้ปล่อยให้มหาชนติชมกันได้ตามความพอใจ” ดังนั้น ปรีดี พนมยงค์ จึงขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาคัดค้านโดยอ้างว่า ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลที่สำคัญมากของรัฐบาล จะให้ลาออกไม่ได้ ปรีดี พนมยงค์จึงเสนอทางเลือกที่ 2 นั่นคือ ยังคงอยู่ร่วมรัฐบาลแต่ขอให้ความเห็นทางเศรษฐกิจของตนปรากฏในทางใดทางหนึ่ง แต่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็คัดค้านอีกโดยอ้างว่า ถ้าจะให้ทำอย่างนั้นก็ทำให้รัฐบาลขาดความน่าเชื่อถือ เพราะรัฐมนตรีร่วมคณะมีนโยบายแตกต่างกัน การประชุมครั้งนี้ ผู้ที่วางตัวเป็นกลางและทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งคือ พระยาธรรมศักดิ์มนตรี ซึ่งเสนอไม่ให้ประกาศนโยบายของฝ่ายใดเลย อันไหนดีทำได้ให้ทำอย่างนั้น และให้ส่งคนไปดูงานต่างประเทศ  
วันที่ 28 มีนาคม 2476 ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเรื่องนี้อีก ในที่ประชุม พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ถามว่า นโยบายทางเศรษฐกิจได้จัดการอย่างไรบ้าง ปรีดี พนมยงค์ ได้เล่าถึงการเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวของตน จากนั้น พระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็ได้นำเอาบันทึกพระบรมราชวินิจฉัยของรัชกาลที่ 7 เกี่ยวกับเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ มาเสนอต่อที่ประชุมและให้ปรีดี พนมยงค์อ่าน การกระทำดังกล่าวทำให้ความขัดแย้งต้องยุติลง [[พระบรมราชวินิจฉัย]]ดังกล่าวนี้บ้างก็เชื่อว่าเป็นของรัชกาลที่ 7 บ้างก็ว่าพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับพวกทำขึ้นแล้วให้รัชกาลที่ 7 ลงพระนาม แต่พระบรมราชวินิจฉัยดังกล่าวโต้แย้งปรีดี พนมยงค์ รุนแรงมาก เช่นบางตอนกล่าวว่า “โครงการนี้นั้นเป็นโครงการอันเดียวอย่างแน่นอนกับที่ประเทศรัสเซียใช้อยู่ ส่วนใครจะเอาอย่างใครนั้นข้าพเจ้าไม่ทราบ สตาลินจะเอาอย่างหลวงประดิษฐ์ฯ หรือหลวงประดิษฐฯ จะเอาอย่างสตาลินก็ตอบไม่ได้ ตอบได้ข้อเดียวว่า โครงการทั้ง 2 นี้ เหมือนกันหมด”  ซึ่งทำให้ ปรีดี พนมยงค์ ถึงกลับกล่าวว่า “เมื่อในหลวงไม่เห็นด้วยแล้วก็มีทางเดียวเท่านั้น คือ ข้าพเจ้าต้องลาออกจากรัฐมนตรี” แต่ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ขอให้ระงับการลาออกไว้ก่อน  


วันที่ 28 มีนาคม 2476 ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเรื่องนี้อีก ในที่ประชุม พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ถามว่า นโยบายทางเศรษฐกิจได้จัดการอย่างไรบ้าง ปรีดี พนมยงค์ ได้เล่าถึงการเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวของตน จากนั้น พระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็ได้นำเอาบันทึกพระบรมราชวินิจฉัยของรัชกาลที่ 7 เกี่ยวกับเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ มาเสนอต่อที่ประชุมและให้ปรีดี พนมยงค์อ่าน การกระทำดังกล่าวทำให้ความขัดแย้งต้องยุติลง พระบรมราชวินิจฉัยดังกล่าวนี้บ้างก็เชื่อว่าเป็นของรัชกาลที่ 7 บ้างก็ว่าพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับพวกทำขึ้นแล้วให้รัชกาลที่ 7 ลงพระนาม แต่พระบรมราชวินิจฉัยดังกล่าวโต้แย้งปรีดี พนมยงค์ รุนแรงมาก เช่นบางตอนกล่าวว่า “โครงการนี้นั้นเป็นโครงการอันเดียวอย่างแน่นอนกับที่ประเทศรัสเซียใช้อยู่ ส่วนใครจะเอาอย่างใครนั้นข้าพเจ้าไม่ทราบ สตาลินจะเอาอย่างหลวงประดิษฐ์ฯ หรือหลวงประดิษฐฯ จะเอาอย่างสตาลินก็ตอบไม่ได้ ตอบได้ข้อเดียวว่า โครงการทั้ง 2 นี้ เหมือนกันหมด”  ซึ่งทำให้ ปรีดี พนมยงค์ ถึงกลับกล่าวว่า “เมื่อในหลวงไม่เห็นด้วยแล้วก็มีทางเดียวเท่านั้น คือ ข้าพเจ้าต้องลาออกจากรัฐมนตรี” แต่ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ขอให้ระงับการลาออกไว้ก่อน 
แต่แล้วในท้ายที่สุด ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ลงมติรับเอานโยบายเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยมีผู้ออกเสียงสนับสนุนถึง 11 เสียง ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา [[พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน]][[ พระยาศรีวิสารวาจา]] พ.อ.พระยาทรงสุรเดช [[พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ]] [[นายประยูร ภมรมนตรี]] [[เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์]] [[พระยาจ่าแสนยบดี]] [[พระยาเทพวิทุรฯ]] [[น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย]] และ[[หลวงเดชสหกรณ์]] ผู้ซึ่งเคยลงคะแนนสนับสนุนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ส่วนผู้ที่[[ออกเสียง]]สนับสนุนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ มีเพียง 3 เสียงเท่านั้น คือ ปรีดี พนมยงค์ [[พระยาประมวลวิชาพูล]] และ[[นายแนบ พหลโยธิน]] ผู้[[งดออกเสียง]] ได้แก่ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา [[พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์]] [[พ.ต.หลวงพิบูลสงคราม]] และ[[นายตั้ว พลานุกรม]] โดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ลงมติว่าจะไม่ประกาศต่อสาธารณะว่า นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็นอันเดียวกันกับนโยบายเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เพื่อหวังให้ปรีดี พนมยงค์ไม่ลาออกจากรัฐมนตรีดังที่เขาได้ตั้งเงื่อนไขไว้


แต่แล้วในท้ายที่สุด ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ลงมติรับเอานโยบายเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยมีผู้ออกเสียงสนับสนุนถึง 11 เสียง ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน พระยาศรีวิสารวาจา พ.อ.พระยาทรงสุรเดช พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ นายประยูร ภมรมนตรี เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ พระยาจ่าแสนยบดี พระยาเทพวิทุรฯ น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย และหลวงเดชสหกรณ์ ผู้ซึ่งเคยลงคะแนนสนับสนุนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ส่วนผู้ที่ออกเสียงสนับสนุนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ มีเพียง 3 เสียงเท่านั้น คือ ปรีดี พนมยงค์ พระยาประมวลวิชาพูล และนายแนบ พหลโยธิน ผู้งดออกเสียง ได้แก่ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ พ.ต.หลวงพิบูลสงคราม และนายตั้ว พลานุกรม โดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ลงมติว่าจะไม่ประกาศต่อสาธารณะว่า นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็นอันเดียวกันกับนโยบายเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เพื่อหวังให้ปรีดี พนมยงค์ไม่ลาออกจากรัฐมนตรีดังที่เขาได้ตั้งเงื่อนไขไว้
ภายหลังจากวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2476 ซึ่งเป็นวันที่มีการลงมติเกี่ยวกับ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ได้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เพิ่มความเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2476 กลุ่มพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้อพยพเข้าไปอยู่ใน[[วังปารุสกวัน]] ซึ่งมีนายทหารของกลุ่ม พ.อ. พระยาทรงสุรเดชคุมอยู่, ในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้[[ลงมติลับ]]ด้วย[[คะแนนเสียง]]ข้างมาก 38 ต่อ 11 ให้รัฐบาลสั่งยกเลิกคำสั่งห้ามข้าราชการเข้าเป็นสมาชิกสมาคมการเมืองโดยให้ออกเป็น[[กฎหมาย]]บังคับใช้แทน, ในตอนเช้าของวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2476 ได้เกิดความวุ่นวายที่สภาผู้แทนราษฎร โดยมีกองทหารเข้ามาตรวจค้นอาวุธสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทุกคนหน้า[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] มีทหารนั่งถืออาวุธในห้องประชุมสภาและห้ามสมาชิกสภาออกนอกห้องประชุม ตอนเย็นของวันเดียวกัน [[นายประยูร ภมรมนตรี]] เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้เข้าควบคุมการพิมพ์[[หนังสือราชกิจจานุเบกษา]]ฉบับพิเศษตลอดคืน  
ภายหลังจากวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2476 ซึ่งเป็นวันที่มีการลงมติเกี่ยวกับ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ได้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เพิ่มความเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2476 กลุ่มพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้อพยพเข้าไปอยู่ในวังปารุสกวัน ซึ่งมีนายทหารของกลุ่ม พ.อ. พระยาทรงสุรเดชคุมอยู่, ในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติลับด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 38 ต่อ 11 ให้รัฐบาลสั่งยกเลิกคำสั่งห้ามข้าราชการเข้าเป็นสมาชิกสมาคมการเมืองโดยให้ออกเป็นกฎหมายบังคับใช้แทน, ในตอนเช้าของวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2476 ได้เกิดความวุ่นวายที่สภาผู้แทนราษฎร โดยมีกองทหารเข้ามาตรวจค้นอาวุธสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทุกคนหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม มีทหารนั่งถืออาวุธในห้องประชุมสภาและห้ามสมาชิกสภาออกนอกห้องประชุม ตอนเย็นของวันเดียวกัน นายประยูร ภมรมนตรี เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้เข้าควบคุมการพิมพ์หนังสือราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษตลอดคืน  
ความขัดแย้งยิ่งเข้มข้นขึ้น เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาออกคำแถลงการณ์ปิดสภาผู้แทนราษฎร, ประกาศงดใช้[[รัฐธรรมนูญ]]บางมาตรา และตั้ง[[คณะรัฐมนตรี]]ชุดใหม่ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 โดยไม่มีชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ รวมอยู่ด้วย คำแถลงการณ์ปิดสภาผู้แทนราษฎรของรัฐบาล มีใจความว่า
ความขัดแย้งยิ่งเข้มข้นขึ้น เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาออกคำแถลงการณ์ปิดสภาผู้แทนราษฎร, ประกาศงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 โดยไม่มีชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ รวมอยู่ด้วย คำแถลงการณ์ปิดสภาผู้แทนราษฎรของรัฐบาล มีใจความว่า


รัฐบาลขอแถลงให้ประชาชนทราบ เพื่อเป็นที่เข้าใจทั่วกันในเหตุผลอันสำคัญยิ่งที่ได้เกิดขึ้น กระทำให้ความจำเป็นที่ต้องปิดสภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่และรอการใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา  
รัฐบาลขอแถลงให้ประชาชนทราบ เพื่อเป็นที่เข้าใจทั่วกันในเหตุผลอันสำคัญยิ่งที่ได้เกิดขึ้น กระทำให้ความจำเป็นที่ต้องปิดสภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่และรอการใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา  
ในคณะรัฐมนตรี ณ บัดนี้เกิดแตกแยกเป็นสองพวก มีความเห็นแตกต่างและไม่สามารถคล้อยตามกันได้ ความเห็นข้างน้อยนั้นปรารถนาที่จะวางนโยบายเศรษฐกิจอันมีลักษณะคอมมิวนิสต์ ความเห็นข้างมากนั้น เห็นว่านโยบายเช่นนั้นเป็นการตรงกันข้ามแก่ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวสยาม และเป็นที่เห็นได้อย่างแน่นอนทีเดียวว่า นโยบายเช่นนั้นจักนำมาซึ่งความหายนะแก่ราษฎร และเป็นมหันตภัยแก่ความมั่นคงของประเทศ   
ในคณะรัฐมนตรี ณ บัดนี้เกิดแตกแยกเป็นสองพวก มีความเห็นแตกต่างและไม่สามารถคล้อยตามกันได้ ความเห็นข้างน้อยนั้นปรารถนาที่จะวางนโยบายเศรษฐกิจอันมีลักษณะคอมมิวนิสต์ ความเห็นข้างมากนั้น เห็นว่านโยบายเช่นนั้นเป็นการตรงกันข้ามแก่ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวสยาม และเป็นที่เห็นได้อย่างแน่นอนทีเดียวว่า นโยบายเช่นนั้นจักนำมาซึ่งความหายนะแก่ราษฎร และเป็นมหันตภัยแก่ความมั่นคงของประเทศ   


ไม่เพียงเท่านั้น, เพื่อต่อต้าน ปรีดี พนมยงค์, ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2476 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคอมมิวนิสต์และห้ามจัดตั้งสมาคมการเมือง ซึ่งมีผลให้สมาคมคณะราษฎรต้องเปลี่ยนเป็นสโมสรคณะราษฎรและดำเนินกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง, วันที่ 7 – 8 เมษายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ประชาชาติลงคำสัมภาษณ์ พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา ที่กล่าวว่า ปรีดี พนมยงค์ ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ และเร่งให้รัฐบาลจัดให้มีการเลือกตั้งโดยเร็ว และวิจารณ์ว่ารัฐบาลจะไม่เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของกฎหมายเลือกตั้ง และในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์ได้เดินทางออกจากกรุงเทพฯ ไปหลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศสในฐานะบุคคลธรรมดา เพียงไม่กี่วัน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดเกล้าพระราชทานเงินทุนส่วนพระองค์ให้รัฐบาลจัดพิมพ์พระบรมราชวินิจฉัยเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมออกมามากถึง 3,000 ฉบับ เพื่อแจกจ่ายให้ทราบโดยทั่วกัน  
ไม่เพียงเท่านั้น, เพื่อต่อต้าน ปรีดี พนมยงค์, ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2476 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคอมมิวนิสต์และห้ามจัดตั้งสมาคมการเมือง ซึ่งมีผลให้สมาคมคณะราษฎรต้องเปลี่ยนเป็นสโมสรคณะราษฎรและดำเนินกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง, วันที่ 7 – 8 เมษายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ประชาชาติลงคำสัมภาษณ์ พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา ที่กล่าวว่า ปรีดี พนมยงค์ ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ และเร่งให้รัฐบาลจัดให้มีการเลือกตั้งโดยเร็ว และวิจารณ์ว่ารัฐบาลจะไม่เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของ[[กฎหมายเลือกตั้ง]] และในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์ได้เดินทางออกจากกรุงเทพฯ ไปหลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศสในฐานะบุคคลธรรมดา เพียงไม่กี่วัน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดเกล้าพระราชทานเงินทุนส่วนพระองค์ให้รัฐบาลจัดพิมพ์พระบรมราชวินิจฉัยเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมออกมามากถึง 3,000 ฉบับ เพื่อแจกจ่ายให้ทราบโดยทั่วกัน  


อันที่จริง ผลสะเทือนจากวิกฤตการณ์ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่ได้ยุติลงเพียงเท่านี้ เพราะยังมีเหตุการณ์สำคัญๆ เกิดขึ้นตามมาอีกมาก ในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คณะทหารบก ทหารเรือ คณะราษฎรได้ทำการยึดอำนาจโดยควบคุมสถานการณ์ในกรุงเทพฯได้ตั้งแต่เวลา 05.00 นาฬิกาและโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี, ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2476 นายทหารทั้งในและนอกประจำการของฝ่าย “กบฏบวรเดช” ได้เคลื่อนไหวเพื่อรวบรวมกำลังทหารล้มรัฐบาลคณะราษฎร, ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสู่ประเทศไทย และได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีในวันถัดมา, “กบฏบวรเดช” เริ่มเคลื่อนกำลังทหารเข้ามาล้อมกรุงเทพฯ ในวันที่ 10 ตุลาคม 2476 แต่ก็ต้องถอยหนีจากฐานที่มั่นและพ่ายแพ้ยับเยินเมื่อถูกทหารรัฐบาลปราบปรามอย่างหนักในไม่กี่วันต่อมา, ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปและอเมริกา จากนั้นในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงสละราชสมบัติ ขณะที่ยังทรงประทับ ณ ประเทศอังกฤษ  
อันที่จริง ผลสะเทือนจากวิกฤตการณ์ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่ได้ยุติลงเพียงเท่านี้ เพราะยังมีเหตุการณ์สำคัญๆ เกิดขึ้นตามมาอีกมาก ในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คณะทหารบก ทหารเรือ คณะราษฎรได้ทำการยึดอำนาจโดยควบคุมสถานการณ์ในกรุงเทพฯได้ตั้งแต่เวลา 05.00 นาฬิกาและโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี, ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2476 นายทหารทั้งในและนอกประจำการของฝ่าย [[“กบฏบวรเดช”]] ได้เคลื่อนไหวเพื่อรวบรวมกำลังทหารล้มรัฐบาลคณะราษฎร, ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสู่ประเทศไทย และได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีในวันถัดมา, “กบฏบวรเดช” เริ่มเคลื่อนกำลังทหารเข้ามาล้อมกรุงเทพฯ ในวันที่ 10 ตุลาคม 2476 แต่ก็ต้องถอยหนีจากฐานที่มั่นและพ่ายแพ้ยับเยินเมื่อถูกทหารรัฐบาลปราบปรามอย่างหนักในไม่กี่วันต่อมา, ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี]]เสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปและอเมริกา จากนั้นในวันที่ [[2 มีนาคม พ.ศ. 2477]] พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรง[[สละราชสมบัติ]] ขณะที่ยังทรงประทับ ณ ประเทศอังกฤษ  
 
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เสนอว่า ผลสะเทือนที่เกิดขึ้นจากการเสนอเอกสาร “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เพียงแต่นำไปสู่ความแตกแยกจากกันระหว่าง 3 นายทหารอาวุโสผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 (อันได้แก่ พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ) กับที่เหลือของคณะราษฎร, ระหว่างคณะราษฎรกับขุนนางอาวุโสที่รับเชิญมาร่วมรัฐบาล (พระยามโนปกรณ์นิติธาดากับพวก) และระหว่างคณะราษฎรกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงการปิดสภา(เมษายน พ.ศ. 2476), รัฐประหาร (มิถุนายน พ.ศ. 2476), การกบฏโดยใช้กำลัง (ตุลาคม พ.ศ. 2476) และการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 (มีนาคม พ.ศ. 2477) เท่านั้น แต่ยังส่งผลให้บทบาทของพลเรือนในคณะราษฎรและในระบอบใหม่โดยทั่วไปลดลงและบทบาทของทหารเพิ่มขึ้น ไม่เพียงแต่นายกรัฐมนตรีเปลี่ยนจากพลเรือนเป็นทหาร สัดส่วนของทหารในหมู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองก็เพิ่มขึ้น แม้แต่บรรดาพลเรือนที่เคยสนับสนุน “เค้าโครง” ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นส่วนที่ขยันขันแข็งกระตือรือร้นที่สุดในหมู่ผู้นำใหม่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ลดลงหรือถูกลดบทบาทลงไปด้วย
 
นอกจากนี้ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ยังเสนอด้วยว่า ความสำคัญของสภาพการณ์ดังกล่าวก็คือ เมื่อคณะราษฎรยึดอำนาจในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มีความเป็นไปได้ที่จะวางรากฐานให้กับการเมืองแบบรัฐสภาที่มีเสถียรภาพ ที่มีการเลือกตั้ง และที่พลเรือนมีบทบาทนำ เนื่องจากถ้าไม่นับความขัดแย้งที่มีต่อ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” แล้ว โดยแท้จริงหาได้มีความขัดแย้งในลักษณะที่สำคัญระหว่างผู้ก่อการด้วยกัน และระหว่างผู้ก่อการ, ขุนนางอาวุโส กับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่อย่างใด กล่าวอีกอย่างก็คือ มีความเป็นไปได้ที่จะสร้างแนวร่วมที่กว้างขวางที่สุดในหมู่ผู้นำไทยในขณะนั้น เพื่อวางรากฐานให้แก่ระบอบรัฐสภาประชาธิปไตย แต่วิกฤตการณ์อันเกิดจาก “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ทำให้ความเป็นไปได้นี้ หมดไป แม้จะเป็นความจริงที่ว่า ปรีดี พนมยงค์ มีสิทธิเต็มที่ที่จะเสนอความคิดเห็นและแผนการทางเศรษฐกิจของตนได้ แต่ถ้าอภิปรายถึงเรื่องนี้ในฐานะที่เป็นวิจารณญาณทางการเมืองของ ปรีดี พนมยงค์ แล้ว ข้อสรุปก็ควรเป็นว่า “ปรีดีได้ทำความผิดพลาดทางการเมืองครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์”


สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เสนอว่า ผลสะเทือนที่เกิดขึ้นจากการเสนอเอกสาร “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เพียงแต่นำไปสู่ความแตกแยกจากกันระหว่าง 3 นายทหารอาวุโสผู้ก่อ[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475]] (อันได้แก่ พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ) กับที่เหลือของคณะราษฎร, ระหว่างคณะราษฎรกับขุนนางอาวุโสที่รับเชิญมาร่วมรัฐบาล (พระยามโนปกรณ์นิติธาดากับพวก) และระหว่างคณะราษฎรกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงการปิดสภา(เมษายน พ.ศ. 2476), [[รัฐประหาร]] (มิถุนายน พ.ศ. 2476), การ[[กบฏ]]โดยใช้กำลัง (ตุลาคม พ.ศ. 2476) และการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 (มีนาคม พ.ศ. 2477) เท่านั้น แต่ยังส่งผลให้บทบาทของพลเรือนในคณะราษฎรและในระบอบใหม่โดยทั่วไปลดลงและบทบาทของทหารเพิ่มขึ้น ไม่เพียงแต่นายกรัฐมนตรีเปลี่ยนจากพลเรือนเป็นทหาร สัดส่วนของทหารในหมู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองก็เพิ่มขึ้น แม้แต่บรรดาพลเรือนที่เคยสนับสนุน “เค้าโครง” ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นส่วนที่ขยันขันแข็งกระตือรือร้นที่สุดในหมู่ผู้นำใหม่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ลดลงหรือถูกลดบทบาทลงไปด้วย


นอกจากนี้ [[สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล]] ยังเสนอด้วยว่า ความสำคัญของสภาพการณ์ดังกล่าวก็คือ เมื่อคณะราษฎรยึดอำนาจในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มีความเป็นไปได้ที่จะวางรากฐานให้กับการเมืองแบบ[[รัฐสภา]]ที่มีเสถียรภาพ ที่มีการเลือกตั้ง และที่พลเรือนมีบทบาทนำ เนื่องจากถ้าไม่นับความขัดแย้งที่มีต่อ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” แล้ว โดยแท้จริงหาได้มีความขัดแย้งในลักษณะที่สำคัญระหว่างผู้ก่อการด้วยกัน และระหว่างผู้ก่อการ, ขุนนางอาวุโส กับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่อย่างใด กล่าวอีกอย่างก็คือ มีความเป็นไปได้ที่จะสร้างแนวร่วมที่กว้างขวางที่สุดในหมู่ผู้นำไทยในขณะนั้น เพื่อวางรากฐานให้แก่ระบอบรัฐสภาประชาธิปไตย แต่วิกฤตการณ์อันเกิดจาก “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ทำให้ความเป็นไปได้นี้ หมดไป แม้จะเป็นความจริงที่ว่า ปรีดี พนมยงค์ มีสิทธิเต็มที่ที่จะเสนอความคิดเห็นและแผนการทางเศรษฐกิจของตนได้ แต่ถ้าอภิปรายถึงเรื่องนี้ในฐานะที่เป็นวิจารณญาณทางการเมืองของ ปรีดี พนมยงค์ แล้ว ข้อสรุปก็ควรเป็นว่า “ปรีดีได้ทำความผิดพลาดทางการเมืองครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์”


== เอกสารอ่านเพิ่มเติม ==
== เอกสารอ่านเพิ่มเติม ==


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544)  
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544)  
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. ปฏิวัติ 2475. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547)  
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. ปฏิวัติ 2475. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547)  
ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 - 2477. (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2518)  
ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 - 2477. (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2518)  
ณัฐพล ใจจริง. “วิวาทะของหนังสือ เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ และ พระบรมราชวินิจฉัยฯ กับการเมืองของการผลิตซ้ำ” ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 26 ฉบับที่ 7 (พฤษภาคม 2548) หน้า 76 – 100.
ณัฐพล ใจจริง. “วิวาทะของหนังสือ เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ และ พระบรมราชวินิจฉัยฯ กับการเมืองของการผลิตซ้ำ” ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 26 ฉบับที่ 7 (พฤษภาคม 2548) หน้า 76 – 100.
ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (พ.ศ. 2475 - 2517). (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชุมนุมช่าง, 2517)
ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (พ.ศ. 2475 - 2517). (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชุมนุมช่าง, 2517)
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ 6 ตุลารำลึก, 2544)  
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ 6 ตุลารำลึก, 2544)  
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2542)
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2542)


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>
<references/>
[[หมวดหมู่:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]
 
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500|ค]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:16, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง ธิกานต์ ศรีนารา


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม

ในประกาศของคณะราษฎรเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งได้วิจารณ์การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น มีข้อความตอนหนึ่งว่า คณะราษฎรจะดำเนินการปกครองโดยวางโครงการที่อาศัยหลักวิชา ไม่ทำไปเหมือนคนตาบอดเช่นรัฐบาลเก่า ผู้ร่างคำประกาศฉบับนั้น คือ ปรีดี พนมยงค์ หรือที่รู้จักกันดีโดยบรรดาศักดิ์ขณะนั้นว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ผู้ซึ่งเป็น “มันสมอง” ของคณะราษฎร ปรีดีได้รับการศึกษาทางกฎหมายและเศรษฐศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาได้รับอิทธิพลทางความคิดด้านสังคมนิยมจากการศึกษาประวัติลัทธิเศรษฐกิจ และมีความเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น จะเป็นเพียงการรัฐประหาร ถ้าปราศจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ[1] ดังนั้น ในสัปดาห์แรกของเดือนมีนาคม พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์ จึงได้เสนอเอกสาร “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ที่เขาร่างขึ้นต่อสมาชิกคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” และรัฐบาลตามหลักการข้อที่ 3 ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักทั้ง 6 ประการที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้ว่า “จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก” [2]

แต่ปัญหาก็คือว่า ในเวลานั้น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ในฐานะนายกรัฐมนตรีคนแรกของระบอบใหม่ มีแนวความคิดทางเศรษฐกิจที่สวนทางกับ ปรีดี พนมยงค์ มาตั้งแต่ก่อนที่ ปรีดี พนมยงค์ จะเสนอ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” เสียอีก ดังจะเห็นได้ว่า ในการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2475 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา กล่าวว่า

มีเถียงกันอยู่เป็น 2 ทาง ทางหนึ่งรัฐบาลเข้าจัดทำเองเสียทั้งหมด ซึ่งเป็นการตึงเกินไป...อีกทางหนึ่งก็คือรัฐบาลไม่ทำอะไรเลย ปล่อยให้ราษฎรทำกันเอง...ดังนี้ก็เป็นการหย่อนเกินไป...ฉะนั้นจุดที่หมายของรัฐบาลนี้ จึงคิดมีส่วนในกิจการที่เห็นเป็นสำคัญ...(และ) ในเรื่องกรรมสิทธิแห่งทรัพย์สินนั้น...รัฐบาลนี้ก็ยังจะพูดและถือต่อไปว่า ทรัพย์สินของราษฎรทั้งหลายจะได้รับความคุ้มครอง[3]

ความคิดเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจดังที่เกือบจะไม่แตกต่างจากนโยบายเศรษฐกิจในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ดังกล่าว และการที่รัฐมนตรีที่รับผิดชอบในด้านนี้เป็นผู้ที่ไม่มีความชำนาญในด้านเศรษฐกิจเลย เช่น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง เจ้าพระยาวงษานุประพันธ์ เป็นรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรพาณิชยการ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ปัญหาทางเศรษฐกิจไม่ได้รับการพิจารณาอย่างกระตือรือร้นตามหลัก 6 ประการ หรือ การดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลได้แถลงไว้ไม่เป็นจริงโดยทันที

อย่างไรก็ตาม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำที่เกิดขึ้นทั่วโลกในเวลานั้น ได้ส่งผลให้เกิดแนวความคิดที่จะต้องมีการวางแผนเศรษฐกิจ แทนที่จะปล่อยให้เป็นไปตามระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมซึ่งเป็นเป็นกระแสหลักของโลก ขณะที่การจัดการกับเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพในประเทศค่ายสังคมนิยม อย่าง สหภาพโซเวียต และประเทศค่ายอำนาจฟาสซิสต์ อย่าง เยอรมนีและญี่ปุ่น รวมทั้ง นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยมซึ่งมีการตั้งกำแพงภาษี ขจัดอิทธิพลของต่างชาติในทางเศรษฐกิจ ก็เป็นสิ่งที่ท้าทายรัฐบาลสยามในเวลานั้นอย่างยิ่ง สภาพการณ์ดังกล่าว ได้ทำให้แนวคิดทางเศรษฐกิจในหลัก 6 ประการยังคงเป็นประเด็นสำคัญของกลุ่มพลเรือนหนุ่มที่อยู่ทั้งในรัฐบาลและในสภาผู้แทนราษฎร ดังจะเห็นได้ว่า ในเดือนสิงหาคม 2475 ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายคนอภิปรายสอบถามเร่งรัดให้รัฐบาลจัดทำโครงการทางเศรษฐกิจ และในอีก 6 เดือนถัดมา นายจรูญ สืบแสง และนายวิลาศ โอสถานนท์ สมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้พยายามกระตุ้นให้รัฐบาลเร่งวางแผนการทางเศรษฐกิจของตนเอง พวกเขากล่าวว่า “ได้พยายามเร่งรัดมาครั้งหนึ่งเมื่อประมาณ 6 เดือนมาแล้ว...อยากทราบว่าเมื่อไหร่จะทำได้...” นอกจากนี้ พวกเขายังท้าทายว่า ถ้ารัฐบาลดำเนินการในเรื่องนี้เสร็จไม่ทันในปีหน้า สภาผู้แทนราษฎรจะขอให้มีการ vote of confidence แบบเรียงตัวบุคคล[4]

ไม่เพียงแต่ในแวดวงรัฐบาลเท่านั้น ความคิดที่ว่า รัฐบาลควรมีการวางแผนการทางเศรษฐกิจยังปรากฏขึ้นในหมู่ประชาชนด้วย ในเดือนกรกฎาคม 2475 ก่อนที่รัฐบาลจะมอบหมายให้ ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาตินั้น นายมังกร สามเสน บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ ศรีกรุง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเวลานั้น ได้ร่างแผนเศรษฐกิจขึ้นมา 1 ฉบับ พร้อมทั้งเสนอให้มีการลดค่าเงินบาทลงมากกว่าที่เคยลดได้ก่อนการยึดอำนาจ การเคลื่อนไหวทั้งในและนอกสภาเหล่านี้ ส่งผลให้พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ยอมมอบหมายให้ ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ดำเนินการร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้น โดยรัฐบาลได้รายงานความคืบหน้าต่อรัชกาลที่ 7 เป็นระยะๆ[5]

สมุดปกเหลือง หรือ เค้าโครงการเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์ มีเนื้อหา 3 ส่วน ส่วนแรกคือ เค้าโครงการเศรษฐกิจ, ส่วนที่สองคือ เค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร (Assurance Sociale) และส่วนที่สามคือ เค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช... [6]

เค้าโครงการเศรษฐกิจ แบ่งเนื้อหาออกเป็น 11 หมวด

หมวดที่ 1 ย้ำถึงประกาศของคณะราษฎรข้อ 3 ที่ว่า “จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก” ซึ่ง ปรีดี พนมยงค์ เห็นว่าเป็นเรื่องที่ “รัฐบาลทำได้ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย”

หมวดที่ 2 ว่าด้วย “ความไม่เที่ยงแท้แห่งการเศรษฐกิจในปัจจุบัน” ซึ่งกล่าวถึง “ความแร้นแค้นของราษฎร” และ “คนมั่งมี คนชั้นกลาง คนยากจน ก็อาจแร้นแค้น”

หมวดที่ 3 ว่าด้วย “การประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” ซึ่งกล่าวถึงหลายประเด็น ได้แก่ “ราษฎรทุกคนควรได้รับการประกันจากรัฐบาล” อันเป็นเรื่องที่ “เอกชนทำไม่ได้” โดยรัฐบาลต้องออก “พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร”, “ราษฎรไทยชอบเป็นข้าราชการ”, “เงินเป็นสิ่งที่ใช้แลกเปลี่ยน”, “รัฐบาลไม่ต้องริบทรัพย์ของผู้มั่งมี”, “การหักลบกลบหนี้”, “รัฐบาลเป็นผู้ประกอบเศรษฐกิจเอง”, “ราษฎรไม่มีที่ดินและเงินทุนพอ” และ “ที่ดิน แรงงาน เงินทุนของประเทศ”

หมวดที่ 4 ว่าด้วย “แรงงานที่สูญเสียไปและพวกหนักโลก” หมายความว่า ประเทศไทยมีที่ดินจำนวนมาก แต่ “มิได้ใช้ให้เต็มที่” ทั้งนี้เพราะการประกอบการเศรษฐกิจตามทำนองเอกชนต่างคนต่างทำดังที่ทำกันมา ทำให้แรงงานสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์บ้าง ขาดเครื่องจักรกลที่จะช่วยแรงงานให้ได้ผลดียิ่งขึ้นบ้าง และมี “บุคคลที่เกิดมาหนักโลก” ซึ่งหมายถึง บุคคลที่อาศัยคนอื่นกิน ไม่เป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจหรือกิจการใดให้เหมาะสมกับแรงงานของตน อาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และสถานที่ของผู้อื่น หรือบางทีก็ทำงานเล็กๆ น้อยๆ ในกรุงเทพฯ หรือในหัวเมือง เมื่อสังเกตตามบ้านของชนชั้นกลาง หรือตามบ้านของคนมั่งมีแล้วก็จะเห็นว่า มีผู้ที่อาศัยกินอยู่เป็นจำนวนมาก บุคคลจำพวกนี้ นอกจากจะ “หนักโลก” แล้ว ยังเป็นเหตุให้ราคาสิ่งของเพิ่มขึ้นได้ ถ้าปล่อยให้คงอยู่ตราบปัจจุบันนี้ก็จะกลายเป็นคนขี้เกียจไป การปล่อยให้เอกชนต่างคนต่างทำ และปล่อยให้มีคนเกียจคร้านคอยอาศัยกินดังนั้น ผลเศรษฐกิจของประเทศก็จะลดน้อยลง ไม่มีวิธีใดที่ดีกว่าที่รัฐบาลจะประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง และหาทางบังคับและให้ราษฎรประเภทนี้ทำงาน จึงจะใช้แรงงานของ “ผู้ที่หนักโลก” นี้ ให้เป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองได้[7]

หมวดที่ 5 ว่าด้วย “วิธีซึ่งรัฐบาลจะหาที่ดิน แรงงาน เงินทุน” อันได้แก่ การจัดหาที่ดิน โดยการซื้อ “ที่ดินที่จะใช้ประกอบการทางเศรษฐกิจ เช่น ที่นาหรือไร่ กลับคืนสู่รัฐบาล ส่วนที่บ้านอยู่อาศัยนั้นไม่จำเป็นที่รัฐบาลต้องซื้อคืน เว้นไว้แต่เจ้าของประสงค์จะขายแลกกับใบกู้”, การจัดหาการงาน โดยการรับราษฎรเป็นข้าราชการ และการจัดหาเงินทุน โดยการเก็บภาษีทางอ้อม, ออกฉลากกินแบ่ง, กู้เงิน และโดยการหาเครดิต ทั้งนี้ หลักการสำคัญที่รัฐบาลจะต้องควรคำนึงถึงก็คือ “รัฐบาลจะต้องดำเนินวิธีละม่อม คือ ต้องอาศัยการร่วมมือระหว่างคนมั่งมีและคนจน รัฐบาลจะต้องไม่ประหัตประหารคนมั่งมี” [8]

หมวดที่ 6 ว่าด้วย “การจัดทำให้รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลเข้าสู่ดุลยภาพ” และ “การจัดเศรษฐกิจของรัฐบาลต้องระวังมิให้มนุษย์กลายเป็นสัตว์” ตามคำของ ปรีดี พนมยงค์

ความจริงเท่าที่ได้กล่าวแล้ว ข้าพเจ้าได้ถือว่าราษฎรเป็นข้าราชการ มีฐานะเหมือนข้าราชการทุกวันนี้ที่ทำงานแล้วได้รับเงินเดือน และเมื่อเจ็บป่วยชราได้เบี้ยบำนาญ ข้าพเจ้าได้ระวังมิให้มนุษย์มีสภาพเป็นสัตว์ ข้าพเจ้าประสงค์ให้มนุษย์เป็นมนุษย์ยิ่งขึ้น ปราศจากการประทุษร้ายต่อกันอันเนื่องมาจากเหตุเศรษฐกิจ ข้าพเจ้ายังเคารพต่อครอบครัวของผู้นั้น ผู้หญิงไม่ใช่เป็นของกลาง ความเกี่ยวพันในระหว่างครอบครัว ผู้บุพการี เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย บิดา มารดา กับผู้สืบสันดาน เช่น บุตรหลาน ยังคงมีตามกฎหมายลักษณะผัวเมียไม่ยกเลิก ราษฎรคงมีบ้านอยู่ตามสภาพที่จะจัดให้ดีขึ้น ราษฎรยังคงมีมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญเหมือนดังข้าราชการในทุกวันนี้ ถ้าหากราษฎรหมดมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญแล้ว ข้าราชการในทุกวันนี้ก็จะมิเป็นบุคคลจำพวกที่หมดมานะที่จะช่วยส่งเสริมความเจริญหรือ [9]

หมวดที่ 7 ว่าด้วย “การแบ่งงานออกเป็นสหกรณ์” กล่าวคือ แม้ว่าโดยตามหลักการแล้วรัฐบาลจะเป็นผู้ประกอบการเศรษฐกิจเอง แต่ในประเทศที่กว้างขวาง มีพลเมืองมากกว่า 11 ล้านคน ดังเช่นประเทศไทย หากการประกอบการเศรษฐกิจขึ้นตรงต่อรัฐบาลทั้งหมด การควบคุมตรวจตราก็อาจจะไม่ทั่วถึง ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องแบ่งการประกอบการเศรษฐกิจเป็นสหกรณ์ต่างๆ[10]

หมวดที่ 8 ว่าด้วย “รัฐบาลจะจัดให้มีเศรษฐกิจชนิดใดบ้างในประเทศ” โดยรัฐบาลจะต้องถือหลักว่า จะต้องจัดการกสิกรรม อุตสาหกรรมทุกอย่างให้มีขึ้น ซึ่งในที่สุดประเทศก็จะไม่จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อป้องกันภัยอันตรายอันจะเกิดจากการปิดประตูการค้าได้ เมื่อเรามีสิ่งที่ต้องการภายในประเทศครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว แม้จะถูกปิดประตูการค้าก็ไม่เดือดร้อน[11]

หมวดที่ 9 ว่าด้วย “การป้องกันความยุ่งยากในปัญหาเรื่องนายจ้างกับลูกจ้าง” ที่ ปรีดี พนมยงค์ เห็นว่า ถ้าประเทศสยามจะดำเนินตามลัทธิที่ปล่อยให้บริษัทเอกชนเป็นเจ้าของโรงงานแล้ว ก็จะนำความระส่ำระสายและความหายนะมาสู่ประเทศ เช่นเดียวกับประเทศยุโรป ดังจะเห็นได้ว่า ในประเทศไทย แม้โรงงานจะมีเพียงเล็กน้อย แต่ปัญหาก็เริ่มเกิดขึ้น เช่น การประท้วงของกรรมกรรถราง เป็นต้น ยิ่งถ้าหากบ้านเมืองเจริญขึ้น โรงงานก็มีมากขึ้น ความระส่ำระสายก็จะมากขึ้นด้วย ดังนั้น ถ้ารัฐได้เข้าเป็นเจ้าของการประกอบการทางเศรษฐกิจทั้งหลายเสียเอง เมื่อราษฎรทั้งหลายทำงานตามกำลังและตามความสามารถเหมือนกับข้าราชการประเภทอื่นแล้ว ก็จะได้รับผลเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นความเสมอภาคตามกำลังและความสามารถ “รัฐบาลเป็นผู้แทนราษฎรก็เท่ากับราษฎรได้เป็นเจ้าของการเศรษฐกิจทั้งปวง”[12]

หมวดที่ 10 ว่าด้วย “แผนเศรษฐกิจแห่งชาติ” เพื่อให้การประกอบเศรษฐกิจสามารดำเนินไปโดยเรียบร้อยและได้ผลดี โดยจะต้องคำนวณและสืบสวนว่า “ปัจจัยแห่งการดำรงชีวิตตามความต้องการของราษฎรนั้นมีอะไรบ้าง”, “ต้องอาศัยที่ดิน แรงงาน เงินทุน เป็นจำนวนเท่าใด”, และต้องรู้ว่า ในปัจจุบัน รัฐบาลมีที่ดิน แรงงาน และเงินทุนเท่าใดและควรจะต้องเพิ่มขึ้นเท่าใด [13]

หมวดที่ 11 ว่าด้วย “ผลสำเร็จอันเกี่ยวแก่หลัก 6 ประการ” อันได้แก่ เอกราช, การรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน, การเศรษฐกิจ, เสมอภาค, เสรีภาพ และ การศึกษา กล่าวคือ เมื่อรัฐบาลจัดการประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง โดยแบ่งการเศรษฐกิจออกเป็นสหกรณ์นั้น ย่อมทำให้วัตถุประสงค์อื่นๆ ของคณะราษฎรได้สำเร็จเป็นอย่างดียิ่งกว่าการปล่อยการเศรษฐกิจให้เอกชนต่างคนต่างทำ[14]

เกี่ยวกับแนวความคิดเบื้องหลัง “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ นั้น ชัยอนันต์ สมุทวณิช เสนอว่า ปรีดีได้รับอิทธิพลมาจากหลักโซลิดาริสต์ซึ่งถือว่า มนุษย์ในสังคมเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ต่อกัน ความคิดหลักของปรีดีคือ มนุษย์ทุกคนที่เกิดมาย่อมเป็นลูกหนี้เจ้าหนี้ต่อกัน ความยากแค้นของมนุษย์เกิดจากสภาพสังคมและเศรษฐกิจ สังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ฝูงชนยากจนลงได้ ฉะนั้น มนุษย์ทุกคนต่างก็มีหนี้ตามธรรมจริยาต่อกัน จำเป็นต้องร่วมประกันภัยต่อกันและกัน และร่วมกันในการประกอบการทางเศรษฐกิจ ความไม่เที่ยงแท้แน่นอนในระบบเศรษฐกิจและสังคม ทำให้ทุกชนชั้นต้องตกอยู่ในสภาพที่ช่วยตัวเองไม่ได้ ถ้ารัฐไม่ยื่นมือเข้าไปช่วยจัดระเบียบเศรษฐกิจ รัฐบาลภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไม่มีแผนเศรษฐกิจที่แน่นอน รัฐบาลของคณะราษฎรจึงจะแก้ไขข้อบกพร่องนี้เสีย โดยกำหนดโครงการที่อาศัยหลักวิชาของการวางแผนแบบสังคมนิยมซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์โดยแท้ [15]

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่า “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ นั้น เสนอในสิ่งใหม่สุดของสังคมสยาม นั่นคือการที่รัฐบาลจะใช้พันธบัตรซื้อที่ดินสำหรับการเพาะปลูกทั้งหมด ยกเว้นที่อยู่อาศัย ดังนั้น ชาวไร่ชาวนาก็จะกลายเป็นลูกจ้างของรัฐบาล ได้รับเงินเดือน รัฐบาลคุมกิจการค้าใหญ่ที่สุดของประเทศ คือ ข้าว ทั้งในด้านการผลิตและในด้านการค้าขาย เป็นการตัดคนกลาง ในขณะเดียวกัน ระบบกำไรขาดทุนก็จะถูกขจัดออกไป ประชาชนจะซื้อข้าวของเครื่องใช้จากร้านค้าของรัฐบาล หากพิจารณาตามตัวอักษร แผนการเศรษฐกิจดังกล่าวเป็นเรื่องใหญ่โตมาก เพราะเป็นการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ในการผลิตและปัจจัยการผลิตของคนทั้งชาติ และที่สำคัญที่สุดก็คือ มีผลกระทบโดยตรงและรุนแรงต่อเจ้าและขุนนางในระบอบเก่าซึ่งส่วนใหญ่มีฐานทางเศรษฐกิจจากการเป็นเจ้าของที่ดินจำนวนมาก อันจะนำมาซึ่งการต่อต้านอย่างรุนแรง[16]

ขณะที่ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เสนอว่า แม้ปรีดี พนมยงค์จะยืนกรานว่า “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของเขา “ดำเนินวิธีละม่อม”, “อาศัยการร่วมมือระหว่างคนมั่งมีและคนจน” และ “ไม่ประหัตประหารคนมั่งมี”, “ถ้าหากพวกคอมมิวนิสต์มาอ่าน จะติเตียนมากว่ายังรองรับคนมั่งมีให้มีอยู่” ก็ตาม แต่ข้อเสนอใน “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เพียงแต่เป็นหลักการที่ปฏิบัติไม่ได้เท่านั้น หากยังไม่สมควรปฏิบัติด้วย ทั้งนี้เนื่องจากมีลักษณะที่อาจเรียกตามภาษาสมัยใหม่ว่า “ซ้ายจัด” คือ “ซ้าย” ยิ่งกว่าพวกบอลเชวิคในรัสเซียก่อน สมัยสตาลินเสียอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นโยบายต่อชาวนา เนื่องจาก หัวใจสำคัญที่สุดของ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” คือการทำให้ชาวนารวมหมู่โดยการบังคับ เห็นได้ชัดจากการที่ ปรีดี พนมยงค์ เสนอให้รัฐบาลใช้อำนาจบังคับ “ซื้อ” ที่ดินทำกินทั้งหมดของชาวนามาเป็นของรัฐ ชาวนาสามารถมีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลได้เฉพาะที่ตั้งบ้านอยู่อาศัยเท่านั้น และเมื่อที่ดินทำกินกลายเป็นของรัฐแล้ว พวกเขาก็จะกลายเป็นคนงานของรัฐไปด้วย [17]

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่า ก่อนหน้าที่จะมีการเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ปรีดีได้แจกจ่าย “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของเขาให้อ่านกันในหมู่ของคณะผู้ก่อการ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางคน พร้อมๆ กับนำขึ้นถวายต่อรัชกาลที่ 7 หลังจากนั้นไม่นานก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงถึงกับมีการประนามว่าเป็นโครงการ “คอมมิวนิสต์” โดยเฉพาะในประเด็นที่ให้รวมปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ คือ ที่ดิน แรงงาน และทุน ให้รัฐดำเนินงานแทนเอกชน เกิดความแตกแยกขึ้นอย่างชัดเจนทั้งในคณะรัฐมนตรีและผู้นำของคณะราษฎรเอง[18] ในวันที่ 9 มีนาคม 2476 ปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอร่าง “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ต่อคณะรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ตกลงให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้น 14 คน เพื่อพิจารณาร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจฉบับนี้ ในระหว่างการประชุมสภาผู้แทนราษฎร นายจรูญ สืบแสง ได้ตั้งกระทู้ถามถึงความคืบหน้าเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ในบางประเด็นเขากล่าวว่า “นโยบายของหลวงประดิษฐ์ มีบางคนเข้าใจว่า เป็นนโยบายทาง Communist หรือ Socialist”

คณะอนุกรรมาธิการพิจารณา “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ ได้จัดประชุมขึ้นอีกในวันที่ 12 มีนาคม 2476 โดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นประธาน ที่ประชุมมีความเห็นแตกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเสนอให้ดำเนินการทางเศรษฐกิจอย่างรัฐบาลเก่า คือ ขยายสหกรณ์ประเภทเครดิต และขจัดคนกลาง เลือกทำในบางเรื่องตามโอกาสอำนวย และที่สำคัญคือ ไม่ต้องมีการวางแผนเศรษฐกิจ ส่วนฝ่ายของปรีดี พนมยงค์ เสนอให้รับหลักการที่จะดำเนินตาม “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” แต่ตั้งสภาเศรษฐกิจสำรวจและวางแผนจัดดำเนินการ “เมื่อมีแรงทุนเท่าใดทำเพียงเท่านั้น” การประชุมในวันนั้น ฝ่ายปรีดี พนมยงค์ พยายามรุกให้ที่ประชุมตกลงว่า จะเอาอย่างไรให้แน่นอน แต่ฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็เบี่ยงบ่ายด้วยความคิดที่ว่า โครงการนั้นจะดำเนินการไม่ได้ และถ้าหาก ปรีดี พนมยงค์ ประกาศโครงการเศรษฐกิจในนามของตนเอง ก็อย่าทำให้คนทั่วไปเข้าใจผิดว่าเป็นของรัฐบาล

ในที่ประชุมวันเดียวกัน ได้มีผู้ลงมติเห็นชอบด้วยกับ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ 8 เสียง ได้แก่ ปรีดี พนมยงค์, หลวงเดชสหกรณ์, นายแนบ พหลโยธิน, ม.จ.สกลวรรณกร วรวรรณ, หลวงคหกรรมบดี, หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์, นายทวี บุณยเกตุ และนายวิลาศ โอสถานนท์ และผู้ที่คัดค้านมี 4 เสียง ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน, พระยาศรีวิสารวาจา และ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ส่วนเสียงที่หายไปมี 2 เสียง คือ นายประยูร ภมรมนตรี และหลวงอรรถสารประสิทธิ์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นเลขานุการ นอกจากนี้ กลุ่มผู้คัดค้าน “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของปรีดี พนมยงค์ ยังได้เสนอร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่เตรียมไว้อย่างคร่าวๆ ต่อที่ประชุมด้วย แต่ก็ไม่มีการอภิปรายถึงเรื่องนี้ในที่ประชุมอีกเลย แม้ว่าจะได้มีการประชุมสภาผู้แทนราษฎรอีกถึง 3 ครั้งก็ตาม

ควรกล่าวด้วยว่า ยังมีบุคคลที่สำคัญอีกบุคคลหนึ่งที่มีส่วนอย่างมากต่อผลสุดท้ายของความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล นั่นคือ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นผู้นำอีกคนหนึ่งของคณะราษฎร กล่าวคือ มีหลักฐานว่า ก่อนหน้าที่จะมีการคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม 2476 นั้น ปรีดี พนมยงค์ได้มีหนังสือไปถึง พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ลงวันที่ 24 มีนาคม 2476 แสดงการยินยอมให้มีการผ่อนผันในโครงการเศรษฐกิจของตนตาม “ข้อตำหนิ” ของ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช 3 ประการ คือ

1. ไม่ประสงค์ให้มีการบังคับซื้อที่ดิน คือประสงค์ให้ซื้อโดยสมัคร หรือ โดยขึ้นภาษีทางอ้อม

2. ไม่ประสงค์บังคับให้คนเข้ามาเป็นลูกจ้างของสหกรณ์ทั้งหมด คือ ประสงค์ให้เป็นโดยสมัคร

3. ประสงค์ให้ทำเป็นส่วนๆ ตามกำลังของเราที่มีซึ่งจะทำได้

ข้อความเหล่านี้ เป็นข้อความที่ผมได้ยอมผ่อนและได้ชี้แจงไว้แล้ว ฉะนั้น เมื่อประสงค์จะใช้โครงการเศรษฐกิจที่ผมได้เสนอไว้ และแก้ข้อความ 3 ประการนี้ ผมก็ยอมรับและขอให้ได้ประกาศตามที่แก้ไขให้อยู่ในเค้านี้ เมื่อแก้แล้ว เราจะได้ให้หลักการแก่สภาเศรษฐกิจแห่งชาติถูก เพื่อสภาจะได้ยกร่างโครงการพิสดารขึ้น และตั้งหน้าทำงานไปในหลักอันเดียวกัน มิฉะนั้น จะต้องโต้เถียงหลักการกันเรื่อยไป ทำให้การงานเดินไปไม่เรียบร้อย

แต่เมื่อคณะรัฐมนตรีก็ได้จัดการประชุมเพื่อพิจารณาปัญหาเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม 2476 ก็เป็นแต่เพียงการแสดงความคิดเห็นโดยไม่มีการลงมติเท่านั้น ทั้งนี้ เนื่องจาก นายแนบ พหลโยธิน ได้เสนอให้ที่ประชุมรอการกลับมาจากต่างจังหวัดของ พระยาพหลพลพยุหเสนา เสียก่อน โดยหวังว่า จะสามารถประนีประนอมกันได้ และที่ประชุมก็มีมติเห็นชอบตามนั้น

ความขัดแย้งระหว่าง ปรีดี พนมยงค์ กับ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจดำเนินไปอย่างเข้มข้น ต่างฝ่ายต่างก็ยืนยันแนวทางของตนเองอย่างไม่ลดละ เงื่อนไขมีอยู่ว่า ถ้ารัฐบาลยอมรับนโยบายของฝ่ายใด อีกฝ่ายก็จะลาออก ปรีดี พนมยงค์ กล่าวว่า เข้าเฝ้าและได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “ถ้าจะประกาศเค้าโครงการของข้าพเจ้าก็ให้ลาออกจากรัฐมนตรีและข้าราชการ เพราะจะทำให้คนเข้าใจผิด อย่าให้เป็นโปลิซีของรัฐบาล จะได้ปล่อยให้มหาชนติชมกันได้ตามความพอใจ” ดังนั้น ปรีดี พนมยงค์ จึงขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาคัดค้านโดยอ้างว่า ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลที่สำคัญมากของรัฐบาล จะให้ลาออกไม่ได้ ปรีดี พนมยงค์จึงเสนอทางเลือกที่ 2 นั่นคือ ยังคงอยู่ร่วมรัฐบาลแต่ขอให้ความเห็นทางเศรษฐกิจของตนปรากฏในทางใดทางหนึ่ง แต่พระยา มโนปกรณ์นิติธาดาก็คัดค้านอีกโดยอ้างว่า ถ้าจะให้ทำอย่างนั้นก็ทำให้รัฐบาลขาดความน่าเชื่อถือ เพราะรัฐมนตรีร่วมคณะมีนโยบายแตกต่างกัน การประชุมครั้งนี้ ผู้ที่วางตัวเป็นกลางและทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งคือ พระยาธรรมศักดิ์มนตรี ซึ่งเสนอไม่ให้ประกาศนโยบายของฝ่ายใดเลย อันไหนดีทำได้ให้ทำอย่างนั้น และให้ส่งคนไปดูงานต่างประเทศ

วันที่ 28 มีนาคม 2476 ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเรื่องนี้อีก ในที่ประชุม พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ถามว่า นโยบายทางเศรษฐกิจได้จัดการอย่างไรบ้าง ปรีดี พนมยงค์ ได้เล่าถึงการเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวของตน จากนั้น พระยามโนปกรณ์นิติธาดาก็ได้นำเอาบันทึกพระบรมราชวินิจฉัยของรัชกาลที่ 7 เกี่ยวกับเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ มาเสนอต่อที่ประชุมและให้ปรีดี พนมยงค์อ่าน การกระทำดังกล่าวทำให้ความขัดแย้งต้องยุติลง พระบรมราชวินิจฉัยดังกล่าวนี้บ้างก็เชื่อว่าเป็นของรัชกาลที่ 7 บ้างก็ว่าพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับพวกทำขึ้นแล้วให้รัชกาลที่ 7 ลงพระนาม แต่พระบรมราชวินิจฉัยดังกล่าวโต้แย้งปรีดี พนมยงค์ รุนแรงมาก เช่นบางตอนกล่าวว่า “โครงการนี้นั้นเป็นโครงการอันเดียวอย่างแน่นอนกับที่ประเทศรัสเซียใช้อยู่ ส่วนใครจะเอาอย่างใครนั้นข้าพเจ้าไม่ทราบ สตาลินจะเอาอย่างหลวงประดิษฐ์ฯ หรือหลวงประดิษฐฯ จะเอาอย่างสตาลินก็ตอบไม่ได้ ตอบได้ข้อเดียวว่า โครงการทั้ง 2 นี้ เหมือนกันหมด” ซึ่งทำให้ ปรีดี พนมยงค์ ถึงกลับกล่าวว่า “เมื่อในหลวงไม่เห็นด้วยแล้วก็มีทางเดียวเท่านั้น คือ ข้าพเจ้าต้องลาออกจากรัฐมนตรี” แต่ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ขอให้ระงับการลาออกไว้ก่อน

แต่แล้วในท้ายที่สุด ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ลงมติรับเอานโยบายเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยมีผู้ออกเสียงสนับสนุนถึง 11 เสียง ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พล.ร.ท.พระยาราชวังสันพระยาศรีวิสารวาจา พ.อ.พระยาทรงสุรเดช พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ นายประยูร ภมรมนตรี เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ พระยาจ่าแสนยบดี พระยาเทพวิทุรฯ น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย และหลวงเดชสหกรณ์ ผู้ซึ่งเคยลงคะแนนสนับสนุนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ส่วนผู้ที่ออกเสียงสนับสนุนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ มีเพียง 3 เสียงเท่านั้น คือ ปรีดี พนมยงค์ พระยาประมวลวิชาพูล และนายแนบ พหลโยธิน ผู้งดออกเสียง ได้แก่ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ พ.ต.หลวงพิบูลสงคราม และนายตั้ว พลานุกรม โดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้ลงมติว่าจะไม่ประกาศต่อสาธารณะว่า นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็นอันเดียวกันกับนโยบายเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เพื่อหวังให้ปรีดี พนมยงค์ไม่ลาออกจากรัฐมนตรีดังที่เขาได้ตั้งเงื่อนไขไว้

ภายหลังจากวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2476 ซึ่งเป็นวันที่มีการลงมติเกี่ยวกับ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ได้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เพิ่มความเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2476 กลุ่มพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้อพยพเข้าไปอยู่ในวังปารุสกวัน ซึ่งมีนายทหารของกลุ่ม พ.อ. พระยาทรงสุรเดชคุมอยู่, ในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติลับด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 38 ต่อ 11 ให้รัฐบาลสั่งยกเลิกคำสั่งห้ามข้าราชการเข้าเป็นสมาชิกสมาคมการเมืองโดยให้ออกเป็นกฎหมายบังคับใช้แทน, ในตอนเช้าของวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2476 ได้เกิดความวุ่นวายที่สภาผู้แทนราษฎร โดยมีกองทหารเข้ามาตรวจค้นอาวุธสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทุกคนหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม มีทหารนั่งถืออาวุธในห้องประชุมสภาและห้ามสมาชิกสภาออกนอกห้องประชุม ตอนเย็นของวันเดียวกัน นายประยูร ภมรมนตรี เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้เข้าควบคุมการพิมพ์หนังสือราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษตลอดคืน ความขัดแย้งยิ่งเข้มข้นขึ้น เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาออกคำแถลงการณ์ปิดสภาผู้แทนราษฎร, ประกาศงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 โดยไม่มีชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ รวมอยู่ด้วย คำแถลงการณ์ปิดสภาผู้แทนราษฎรของรัฐบาล มีใจความว่า

รัฐบาลขอแถลงให้ประชาชนทราบ เพื่อเป็นที่เข้าใจทั่วกันในเหตุผลอันสำคัญยิ่งที่ได้เกิดขึ้น กระทำให้ความจำเป็นที่ต้องปิดสภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่และรอการใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ในคณะรัฐมนตรี ณ บัดนี้เกิดแตกแยกเป็นสองพวก มีความเห็นแตกต่างและไม่สามารถคล้อยตามกันได้ ความเห็นข้างน้อยนั้นปรารถนาที่จะวางนโยบายเศรษฐกิจอันมีลักษณะคอมมิวนิสต์ ความเห็นข้างมากนั้น เห็นว่านโยบายเช่นนั้นเป็นการตรงกันข้ามแก่ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวสยาม และเป็นที่เห็นได้อย่างแน่นอนทีเดียวว่า นโยบายเช่นนั้นจักนำมาซึ่งความหายนะแก่ราษฎร และเป็นมหันตภัยแก่ความมั่นคงของประเทศ

ไม่เพียงเท่านั้น, เพื่อต่อต้าน ปรีดี พนมยงค์, ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2476 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคอมมิวนิสต์และห้ามจัดตั้งสมาคมการเมือง ซึ่งมีผลให้สมาคมคณะราษฎรต้องเปลี่ยนเป็นสโมสรคณะราษฎรและดำเนินกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง, วันที่ 7 – 8 เมษายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ประชาชาติลงคำสัมภาษณ์ พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา ที่กล่าวว่า ปรีดี พนมยงค์ ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ และเร่งให้รัฐบาลจัดให้มีการเลือกตั้งโดยเร็ว และวิจารณ์ว่ารัฐบาลจะไม่เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของกฎหมายเลือกตั้ง และในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์ได้เดินทางออกจากกรุงเทพฯ ไปหลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศสในฐานะบุคคลธรรมดา เพียงไม่กี่วัน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดเกล้าพระราชทานเงินทุนส่วนพระองค์ให้รัฐบาลจัดพิมพ์พระบรมราชวินิจฉัยเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมออกมามากถึง 3,000 ฉบับ เพื่อแจกจ่ายให้ทราบโดยทั่วกัน

อันที่จริง ผลสะเทือนจากวิกฤตการณ์ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่ได้ยุติลงเพียงเท่านี้ เพราะยังมีเหตุการณ์สำคัญๆ เกิดขึ้นตามมาอีกมาก ในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คณะทหารบก ทหารเรือ คณะราษฎรได้ทำการยึดอำนาจโดยควบคุมสถานการณ์ในกรุงเทพฯได้ตั้งแต่เวลา 05.00 นาฬิกาและโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี, ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2476 นายทหารทั้งในและนอกประจำการของฝ่าย “กบฏบวรเดช” ได้เคลื่อนไหวเพื่อรวบรวมกำลังทหารล้มรัฐบาลคณะราษฎร, ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2476 ปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสู่ประเทศไทย และได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีในวันถัดมา, “กบฏบวรเดช” เริ่มเคลื่อนกำลังทหารเข้ามาล้อมกรุงเทพฯ ในวันที่ 10 ตุลาคม 2476 แต่ก็ต้องถอยหนีจากฐานที่มั่นและพ่ายแพ้ยับเยินเมื่อถูกทหารรัฐบาลปราบปรามอย่างหนักในไม่กี่วันต่อมา, ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปและอเมริกา จากนั้นในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงสละราชสมบัติ ขณะที่ยังทรงประทับ ณ ประเทศอังกฤษ

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เสนอว่า ผลสะเทือนที่เกิดขึ้นจากการเสนอเอกสาร “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เพียงแต่นำไปสู่ความแตกแยกจากกันระหว่าง 3 นายทหารอาวุโสผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 (อันได้แก่ พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ) กับที่เหลือของคณะราษฎร, ระหว่างคณะราษฎรกับขุนนางอาวุโสที่รับเชิญมาร่วมรัฐบาล (พระยามโนปกรณ์นิติธาดากับพวก) และระหว่างคณะราษฎรกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงการปิดสภา(เมษายน พ.ศ. 2476), รัฐประหาร (มิถุนายน พ.ศ. 2476), การกบฏโดยใช้กำลัง (ตุลาคม พ.ศ. 2476) และการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 (มีนาคม พ.ศ. 2477) เท่านั้น แต่ยังส่งผลให้บทบาทของพลเรือนในคณะราษฎรและในระบอบใหม่โดยทั่วไปลดลงและบทบาทของทหารเพิ่มขึ้น ไม่เพียงแต่นายกรัฐมนตรีเปลี่ยนจากพลเรือนเป็นทหาร สัดส่วนของทหารในหมู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองก็เพิ่มขึ้น แม้แต่บรรดาพลเรือนที่เคยสนับสนุน “เค้าโครง” ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นส่วนที่ขยันขันแข็งกระตือรือร้นที่สุดในหมู่ผู้นำใหม่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ลดลงหรือถูกลดบทบาทลงไปด้วย

นอกจากนี้ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ยังเสนอด้วยว่า ความสำคัญของสภาพการณ์ดังกล่าวก็คือ เมื่อคณะราษฎรยึดอำนาจในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มีความเป็นไปได้ที่จะวางรากฐานให้กับการเมืองแบบรัฐสภาที่มีเสถียรภาพ ที่มีการเลือกตั้ง และที่พลเรือนมีบทบาทนำ เนื่องจากถ้าไม่นับความขัดแย้งที่มีต่อ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” แล้ว โดยแท้จริงหาได้มีความขัดแย้งในลักษณะที่สำคัญระหว่างผู้ก่อการด้วยกัน และระหว่างผู้ก่อการ, ขุนนางอาวุโส กับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่อย่างใด กล่าวอีกอย่างก็คือ มีความเป็นไปได้ที่จะสร้างแนวร่วมที่กว้างขวางที่สุดในหมู่ผู้นำไทยในขณะนั้น เพื่อวางรากฐานให้แก่ระบอบรัฐสภาประชาธิปไตย แต่วิกฤตการณ์อันเกิดจาก “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” ของ ปรีดี พนมยงค์ ทำให้ความเป็นไปได้นี้ หมดไป แม้จะเป็นความจริงที่ว่า ปรีดี พนมยงค์ มีสิทธิเต็มที่ที่จะเสนอความคิดเห็นและแผนการทางเศรษฐกิจของตนได้ แต่ถ้าอภิปรายถึงเรื่องนี้ในฐานะที่เป็นวิจารณญาณทางการเมืองของ ปรีดี พนมยงค์ แล้ว ข้อสรุปก็ควรเป็นว่า “ปรีดีได้ทำความผิดพลาดทางการเมืองครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์”

เอกสารอ่านเพิ่มเติม

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. ปฏิวัติ 2475. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547)

ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 - 2477. (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2518)

ณัฐพล ใจจริง. “วิวาทะของหนังสือ เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ และ พระบรมราชวินิจฉัยฯ กับการเมืองของการผลิตซ้ำ” ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 26 ฉบับที่ 7 (พฤษภาคม 2548) หน้า 76 – 100.

ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (พ.ศ. 2475 - 2517). (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชุมนุมช่าง, 2517)

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ 6 ตุลารำลึก, 2544)

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2542)

อ้างอิง

  1. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 - 2477. (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2518) หน้า 235.
  2. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2542) หน้า 4.
  3. ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (พ.ศ. 2475 - 2517). (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ช. ชุมนุมช่าง, 2517), หน้า 23 – 24.
  4. เรื่องเดียวกัน, หน้า 57.
  5. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544) หน้า 137 – 138.
  6. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. หน้า 4.
  7. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 247 – 248.
  8. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 248 – 249.
  9. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 256 – 257.
  10. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 257.
  11. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 259.
  12. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 259 - 260.
  13. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 260 - 262.
  14. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. หน้า 1 - 44.
  15. ชัยอนันต์ สมุทวณิช และ ขัตติยา กรรณสูตร. เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417 – 2477, หน้า 235.
  16. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2500. (กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544) หน้า 138.
  17. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ 6 ตุลารำลึก, 2544) หน้า 5.
  18. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย 2475 – 2500, หน้า 138.