ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประชุมวุฒิสภา"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
==บทนำ==
==บทนำ==


รัฐสภา ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ดังนั้น วุฒิสภา จึงเป็นสภาตัวแทนของประชาชนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีหน้าที่ต่างจากสภาผู้แทนราษฎร โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาไว้หลายประการ การปฏิบัติงานของวุฒิสภาจึงต้องมีขั้นตอนและวิธีดำเนินงานที่ชัดเจน โดยเป็นไปในลักษณะของการประชุมหารือและลงมติในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งการประชุมดังกล่าว ถือว่าเป็นการประชุมที่มีลักษณะพิเศษกว่าการประชุมปกติ เรียกว่า “การประชุมวุฒิสภา”
[[ รัฐสภา]] ประกอบด้วย[[สภาผู้แทนราษฎร]]และ[[วุฒิสภา]] ดังนั้น วุฒิสภา จึงเป็นสภาตัวแทนของประชาชนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีหน้าที่ต่างจากสภาผู้แทนราษฎร โดย[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐]] ได้กำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาไว้หลายประการ การปฏิบัติงานของวุฒิสภาจึงต้องมีขั้นตอนและวิธีดำเนินงานที่ชัดเจน โดยเป็นไปในลักษณะของ[[การประชุมหารือ]]และ[[ลงมติ]]ในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งการประชุมดังกล่าว ถือว่าเป็นการประชุมที่มีลักษณะพิเศษกว่าการประชุมปกติ เรียกว่า “การประชุมวุฒิสภา”


==ความหมายของการประชุมวุฒิสภา==
==ความหมายของการประชุมวุฒิสภา==


''' การประชุมวุฒิสภา'''  หมายถึง  การประชุมของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อพิจารณาเรื่องใด ๆ ตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา ในการประชุมวุฒิสภานอกจากจะมีสมาชิกวุฒิสภาเป็นองค์ประชุมแล้ว ยังมีรัฐมนตรีและผู้ที่ประธานวุฒิสภาหรือผู้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมอนุญาตเข้าร่วมประชุมด้วย ทั้งนี้ โดยมีข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาเป็นเครื่องมือในการดำเนินการประชุม ผู้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมวุฒิสภา ได้แก่ ประธานวุฒิสภาหรือรองประธานวุฒิสภาผู้ทำหน้าที่แทน
''' การประชุมวุฒิสภา'''  หมายถึง  การประชุมของ[[สมาชิกวุฒิสภา]]เพื่อพิจารณาเรื่องใด ๆ ตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา ในการประชุมวุฒิสภานอกจากจะมีสมาชิกวุฒิสภาเป็น[[องค์ประชุม]]แล้ว ยังมี[[รัฐมนตรี]]และผู้ที่[[ประธานวุฒิสภา]]หรือผู้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมอนุญาตเข้าร่วมประชุมด้วย ทั้งนี้ โดยมี[[ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา]]เป็นเครื่องมือในการดำเนินการประชุม ผู้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมวุฒิสภา ได้แก่ ประธานวุฒิสภาหรือ[[รองประธานวุฒิสภา]]ผู้ทำหน้าที่แทน


==ประวัติของการประชุมวุฒิสภา==
==ประวัติของการประชุมวุฒิสภา==


ภายหลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ รัฐธรรมนูญ ๒ ฉบับแรก ได้แก่ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ กำหนดให้รัฐสภาเป็นระบบสภาเดียว คือ สภาผู้แทนราษฎร ต่อมาในปี  พ.ศ. ๒๔๘๙ ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บ้านเมือง โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐสภามาเป็น “ระบบสภาคู่” หรือ “ระบบสองสภา” คือ สภาผู้แทนและพฤฒสภา ซึ่งพฤฒสภามีขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นสภายับยั้ง หรือสภากลั่นกรองงาน  คอยเหนี่ยวรั้งมิให้สภาผู้แทนทำงาน
ภายหลังจาก[[เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. ๒๔๗๕]] รัฐธรรมนูญ ๒ ฉบับแรก ได้แก่ [[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕]] และ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕]] กำหนดให้รัฐสภาเป็น[[ระบบสภาเดียว]] คือ สภาผู้แทนราษฎร ต่อมาในปี  พ.ศ. ๒๔๘๙ ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บ้านเมือง โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐสภามาเป็น “[[ระบบสภาคู่]]” หรือ “[[ระบบสองสภา]]” คือ [[สภาผู้แทน]]และ[[พฤฒสภา]] ซึ่งพฤฒสภามีขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นสภายับยั้ง หรือสภากลั่นกรองงาน  คอยเหนี่ยวรั้งมิให้สภาผู้แทนทำงาน
ด้านนิติบัญญัติเร็วเกินไป จนขาดความรอบคอบ จึงถือได้ว่า  “วุฒิสภา” หรือสภาที่ทำหน้าที่กลั่นกรองงานของสภาผู้แทนราษฎรได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกในนามของ “พฤฒสภา”  
ด้านนิติบัญญัติเร็วเกินไป จนขาดความรอบคอบ จึงถือได้ว่า  “วุฒิสภา” หรือสภาที่ทำหน้าที่กลั่นกรองงานของสภาผู้แทนราษฎรได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกในนามของ “พฤฒสภา”  


การประชุมพฤฒสภาจัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ ๔ มิถุนายน ๒๔๘๙  ณ พระที่นั่งอภิเศกดุสิต ซึ่งใช้เป็นที่ทำการสำนักงานเลขาธิการพฤฒสภาด้วย โดยในวันดังกล่าวที่ประชุมพฤฒสภาได้ลงมติเลือก  
[[การประชุมพฤฒสภา]]จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ ๔ มิถุนายน ๒๔๘๙  ณ [[พระที่นั่งอภิเศกดุสิต]] ซึ่งใช้เป็นที่ทำการ[[สำนักงานเลขาธิการพฤฒสภา]]ด้วย โดยในวันดังกล่าวที่ประชุมพฤฒสภาได้ลงมติเลือก  
พันตรีวิลาศ โอสถานนท์ เป็นประธานพฤฒสภา และนายไต๋ ปาณิกบุตร เป็นรองประธานพฤฒสภา  ต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๔๙๐ ได้เปลี่ยนชื่อที่ใช้เรียก “พฤฒสภา” เป็น “วุฒิสภา” มีหน้าที่กลั่นกรองร่างกฎหมายและควบคุมราชการแผ่นดิน มีการประชุมซึ่งเรียกว่า “การประชุมวุฒิสภา” จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๔๙๐  ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม  โดยที่ประชุมได้ลงมติ เลือก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ เป็นประธานวุฒิสภา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่ ๑ และพลโท พระยาสีหราชเดโชไชย เป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่ ๒  หลังจากนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ ได้มีการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ซึ่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๑๗  จึงได้เปลี่ยนมาทำการประชุมสภา ณ อาคารรัฐสภาใหม่ ถนนอู่ทองใน และได้ใช้ห้องประชุมของอาคารรัฐสภาแห่งนี้มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนพระที่นั่ง
[[พันตรีวิลาศ โอสถานนท์]] เป็น[[ประธานพฤฒสภา]] และ[[นายไต๋ ปาณิกบุตร]] เป็นรองประธานพฤฒสภา  ต่อมาใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๔๙๐]] ได้เปลี่ยนชื่อที่ใช้เรียก “พฤฒสภา” เป็น “วุฒิสภา” มีหน้าที่[[กลั่นกรองร่างกฎหมาย]]และ[[ควบคุมราชการแผ่นดิน]] มีการประชุมซึ่งเรียกว่า “การประชุมวุฒิสภา” จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๔๙๐  ณ [[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] โดยที่ประชุมได้[[ลงมติ]] เลือก [[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ]] เป็นประธานวุฒิสภา [[พระยาอภิบาลราชไมตรี]] เป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่ ๑ และ[[พลโท พระยาสีหราชเดโชไชย]] เป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่ ๒  หลังจากนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ ได้มีการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ซึ่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๑๗  จึงได้เปลี่ยนมาทำการประชุมสภา ณ อาคารรัฐสภาใหม่ ถนนอู่ทองใน และได้ใช้ห้องประชุมของอาคารรัฐสภาแห่งนี้มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนพระที่นั่ง
อนันตสมาคมแม้ไม่ได้ใช้เป็นสถานที่ประชุมสภาแล้ว แต่ยังคงใช้เป็นสถานที่สำหรับประกอบรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาจนกระทั่งปัจจุบัน         
อนันตสมาคมแม้ไม่ได้ใช้เป็นสถานที่ประชุมสภาแล้ว แต่ยังคงใช้เป็นสถานที่สำหรับประกอบรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาจนกระทั่งปัจจุบัน         


บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 30:
การประชุมวุฒิสภาเป็นการทำหน้าที่ตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น  
การประชุมวุฒิสภาเป็นการทำหน้าที่ตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น  


- หน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว  
- หน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบร่าง[[พระราชบัญญัติ]]หรือร่าง[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]]ที่ผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว  


- หน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินโดยการตั้งกระทู้ถามและการเปิดอภิปรายทั่วไปโดยไม่มีการลงมติ  
- หน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินโดย[[การตั้งกระทู้ถาม]]และ[[การเปิดอภิปรายทั่วไปโดยไม่มีการลงมติ]]  


- หน้าที่ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งในองค์กรต่าง ๆ ได้แก่
- หน้าที่ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งในองค์กรต่าง ๆ ได้แก่


• กรรมการการเลือกตั้ง (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๓๑)
[[กรรมการการเลือกตั้ง]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๓๑)


• ผู้ตรวจการแผ่นดิน (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๓)
[[ผู้ตรวจการแผ่นดิน]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๓)


• กรรมการสิทธิมนุษยชน (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๖)
[[กรรมการสิทธิมนุษยชน]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๖)


• ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๐๖)
[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๐๖)


กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมในสัดส่วนของวุฒิสภา (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๑)
กรรมการตุลาการ[[ศาลยุติธรรม]]ในสัดส่วนของวุฒิสภา (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๑)


ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๔)  
ตุลาการใน[[ศาลปกครอง]]สูงสุด (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๔)  


กรรมการตุลาการศาลปกครองในสัดส่วนของวุฒิสภา (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๖)
กรรมการ[[ตุลาการศาลปกครอง]]ในสัดส่วนของวุฒิสภา (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๖)


• กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ  (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๖)
[[กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๖)


เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๑)
เลขาธิการ[[คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๑)


กรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๒)
[[กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]]และ[[ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๒)


- หน้าที่พิจารณาถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๗๐ ได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  สมาชิกวุฒิสภา  ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด กรรมการการเลือกตั้ง  ผู้ตรวจการแผ่นดิน  กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ  หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
- หน้าที่พิจารณา[[ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง]]ที่มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทาง[[ทุจริตต่อหน้าที่]] ส่อว่า[[กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ]] ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่ง[[รัฐธรรมนูญ]]หรือ[[กฎหมาย]] หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม[[มาตรฐานทางจริยธรรม]]อย่างร้ายแรง ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๗๐ ได้แก่ [[นายกรัฐมนตรี]] [[รัฐมนตรี]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[สมาชิกวุฒิสภา]] [[ประธานศาลฎีกา]] [[ประธานศาลรัฐธรรมนูญ]]และ[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] [[ประธานศาลปกครองสูงสุด]] [[อัยการสูงสุด]] กรรมการการเลือกตั้ง  ผู้ตรวจการแผ่นดิน  กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน [[ผู้พิพากษา]]หรือ[[ตุลาการ]] พนักงานอัยการ  หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ทั้งนี้ ต[[ามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต]]


==ช่วงเวลาที่สามารถประชุมวุฒิสภาได้==
==ช่วงเวลาที่สามารถประชุมวุฒิสภาได้==
บรรทัดที่ 64: บรรทัดที่ 64:
(๑) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภา ได้แก่
(๑) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภา ได้แก่


- การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๙)
- การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๙)


- การทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ปฏิญาณตนก่อนเข้ารับหน้าที่ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๑)
- การทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ปฏิญาณตนก่อนเข้ารับหน้าที่ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๑)


- การรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒)
- การรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติม[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒)


- การรับทราบหรือให้ความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๓)
- การรับทราบหรือให้ความเห็นชอบในการ[[สืบราชสมบัติ]] (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๓)


- การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๘๙)
- การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๘๙)
บรรทัดที่ 78: บรรทัดที่ 78:
(๓) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่พิจารณาและมีมติให้ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง  
(๓) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่พิจารณาและมีมติให้ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง  


โดยการประชุมวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๒ ดังกล่าว ต้องมีพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๘๗ ด้วย
โดยการประชุมวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๒ ดังกล่าว ต้องมี[[พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ]] ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๘๗ ด้วย


==ลักษณะของการประชุมวุฒิสภา==
==ลักษณะของการประชุมวุฒิสภา==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติให้  การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละสภา แต่ถ้าคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของแต่ละสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือจำนวนสมาชิกของทั้งสองสภาเท่าที่มีอยู่รวมกัน แล้วแต่กรณี ร้องขอให้ประชุมลับ ก็ให้ประชุมลับ (มาตรา ๑๓๓) นอกจากนี้ ดังนั้น จึงสามารถแบ่งการประชุมวุฒิสภาออกได้เป็น ๒ ลักษณะ  คือ
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐]] บัญญัติให้  การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่กำหนดไว้ใน[[ข้อบังคับการประชุม]]แต่ละสภา แต่ถ้า[[คณะรัฐมนตรี]] หรือสมาชิกของแต่ละสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือจำนวนสมาชิกของทั้งสองสภาเท่าที่มีอยู่รวมกัน แล้วแต่กรณี ร้องขอให้[[ประชุมลับ]] ก็ให้ประชุมลับ (มาตรา ๑๓๓) นอกจากนี้ ดังนั้น จึงสามารถแบ่งการประชุมวุฒิสภาออกได้เป็น ๒ ลักษณะ  คือ


1. '''การประชุมโดยเปิดเผย'''  ซึ่งบุคคลภายนอกสามารถเข้าฟังการประชุมได้ตามระเบียบที่ประธานวุฒิสภากำหนด นอกจากนี้ ประธานวุฒิสภายังต้องจัดใหมีการถายทอดการประชุมทางวิทยุกระจายเสียง และหรือวิทยุโทรทัศน รวมทั้ง จัดใหมีการถายทอดการประชุมทางเครื่องขยายเสียงและหรือวิทยุโทรทัศน
1. '''[[การประชุมโดยเปิดเผย]]'''  ซึ่งบุคคลภายนอกสามารถเข้าฟังการประชุมได้ตามระเบียบที่ประธานวุฒิสภากำหนด นอกจากนี้ ประธานวุฒิสภายังต้องจัดใหมีการถายทอดการประชุมทางวิทยุกระจายเสียง และหรือวิทยุโทรทัศน รวมทั้ง จัดใหมีการถายทอดการประชุมทางเครื่องขยายเสียงและหรือวิทยุโทรทัศน
วงจรปดภายในบริเวณของรัฐสภา และลามภาษามือ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับรู้ได้อย่างทั่วถึง สะท้อนให้เห็นถึงความเปิดเผย โปร่งใส สุจริต และตรวจสอบได้  และเป็นหลักประกันว่าการประชุมทุกครั้งจะดำเนินไปโดยยึดถือเอาประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
วงจรปดภายในบริเวณของรัฐสภา และลามภาษามือ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับรู้ได้อย่างทั่วถึง สะท้อนให้เห็นถึงความเปิดเผย โปร่งใส สุจริต และตรวจสอบได้  และเป็นหลักประกันว่าการประชุมทุกครั้งจะดำเนินไปโดยยึดถือเอาประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง


2. '''การประชุมลับ'''  เป็นการประชุมซึ่งจำกัดบุคคลที่จะอยู่ในที่ประชุมหรือ ณ ที่ใดในระยะที่จะฟงการประชุมได ไว้แต่เฉพาะสมาชิกวุฒิสภา รัฐมนตรี และผูที่ไดรับอนุญาตจากประธานของที่ประชุม นอกจากนี้ ยังหามใชเครื่องบันทึกเสียง หรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ยกเวน การบันทึกของวุฒิสภาเท่านั้น  
2. '''[[การประชุมลับ]]'''  เป็นการประชุมซึ่งจำกัดบุคคลที่จะอยู่ในที่ประชุมหรือ ณ ที่ใดในระยะที่จะฟงการประชุมได ไว้แต่เฉพาะสมาชิกวุฒิสภา รัฐมนตรี และผูที่ไดรับอนุญาตจากประธานของที่ประชุม นอกจากนี้ ยังหามใชเครื่องบันทึกเสียง หรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ยกเวน การบันทึกของวุฒิสภาเท่านั้น  


==กระบวนการในการประชุมวุฒิสภา==
==กระบวนการในการประชุมวุฒิสภา==


การประชุมวุฒิสภานั้น ต้องดำเนินการไปตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๓๔ บัญญัติให้ “วุฒิสภามีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการสามัญแต่ละชุด การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุมการเสนอและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ การเสนอญัตติการปรึกษา การอภิปราย การลงมติ การบันทึกการลงมติ การเปิดเผยการลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การเปิดอภิปรายทั่วไป การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และการอื่นที่เกี่ยวข้อง” โดยข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๕๑ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการประชุมวุฒิสภา ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ ดังนี้  
การประชุมวุฒิสภานั้น ต้องดำเนินการไปตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๓๔ บัญญัติให้ “วุฒิสภามีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการสามัญแต่ละชุด การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุมการเสนอและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ [[การเสนอญัตติการปรึกษา]] [[การอภิปราย]] [[การลงมติ]] [[การบันทึกการลงมติ]] [[การเปิดเผยการลงมติ]] [[การตั้งกระทู้ถาม]] [[การเปิดอภิปรายทั่วไป]] การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และการอื่นที่เกี่ยวข้อง” โดย[[ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๕๑]] ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการประชุมวุฒิสภา ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ ดังนี้  


- '''การประชุมวุฒิสภาครั้งแรก'''
- '''การประชุมวุฒิสภาครั้งแรก'''
บรรทัดที่ 97: บรรทัดที่ 97:
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญทั่วไป หรือสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติแล้ว ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา ขอ ๑๔ กำหนดใหมีการประชุมวุฒิสภาครั้งแรกภายใน ๑๐ วัน นับแตวันเปดสมัยประชุมสามัญหรือวิสามัญของรัฐสภา เวนแตประธานวุฒิสภาเห็นวาไมมีวาระที่จะพิจารณา ซึ่งประธานวุฒิสภาจะต้องแจงใหสมาชิกทราบลวงหนา  ส่วนการประชุมครั้งตอไปใหเปนไปตามมติที่ประชุม   
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญทั่วไป หรือสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติแล้ว ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา ขอ ๑๔ กำหนดใหมีการประชุมวุฒิสภาครั้งแรกภายใน ๑๐ วัน นับแตวันเปดสมัยประชุมสามัญหรือวิสามัญของรัฐสภา เวนแตประธานวุฒิสภาเห็นวาไมมีวาระที่จะพิจารณา ซึ่งประธานวุฒิสภาจะต้องแจงใหสมาชิกทราบลวงหนา  ส่วนการประชุมครั้งตอไปใหเปนไปตามมติที่ประชุม   


- '''การนัดประชุม'''  
- '''[[การนัดประชุม]]'''  
   
   
กำหนดใหทําเปนหนังสือส่งให้สมาชิกทราบล่วงหน้าไมนอยกวา ๓ วันก่อนการประชุม พร้อมแจ้งระเบียบวาระการประชุมและเอกสารที่เกี่ยวข้องด้วย โดยอาจดําเนินการทางโทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่นเมื่อประธานวุฒิสภาเห็นสมควร เว้นแต่ในกรณีที่บอกนัดในที่ประชุม ให้ทำหนังสือนัดเฉพาะสมาชิกที่ไม่ได้มาประชุม ในกรณีมีเรื่องด่วน ประธานวุฒิสภาจะนัดประชุมโดยแจ้งให้สมาชิกทราบน้อยกว่า ๓ วันก็ได้ (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๕, ๑๖,๑๗)
กำหนดใหทําเปนหนังสือส่งให้สมาชิกทราบล่วงหน้าไมนอยกวา ๓ วันก่อนการประชุม พร้อมแจ้งระเบียบวาระการประชุมและเอกสารที่เกี่ยวข้องด้วย โดยอาจดําเนินการทางโทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่นเมื่อประธานวุฒิสภาเห็นสมควร เว้นแต่ในกรณีที่บอกนัดในที่ประชุม ให้ทำหนังสือนัดเฉพาะสมาชิกที่ไม่ได้มาประชุม ในกรณีมีเรื่องด่วน ประธานวุฒิสภาจะนัดประชุมโดยแจ้งให้สมาชิกทราบน้อยกว่า ๓ วันก็ได้ (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๕, ๑๖,๑๗)


- '''องค์ประชุม'''
- '''[[องค์ประชุม]]'''


การประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูจึงจะเปนองคประชุม เวนแต่ ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทูถาม ถามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูก็ใหถือวาเปนองคประชุมพิจารณาได้ โดยสมาชิกผูมาประชุมจะต้องลงชื่อในสมุดที่จัดไวกอนเขาประชุมทุกครั้ง และเขานั่งในที่ที่จัดไว้เมื่อมีสัญญาณใหเขาประชุม หากมีสมาชิกเข้าประชุมครบองค์ประชุมแล้ว ประธานจะดำเนินการประชุมต่อไป (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๙)
การประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูจึงจะเปนองคประชุม เวนแต่ ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทูถาม ถามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูก็ใหถือวาเปนองคประชุมพิจารณาได้ โดยสมาชิกผูมาประชุมจะต้องลงชื่อในสมุดที่จัดไวกอนเขาประชุมทุกครั้ง และเขานั่งในที่ที่จัดไว้เมื่อมีสัญญาณใหเขาประชุม หากมีสมาชิกเข้าประชุมครบองค์ประชุมแล้ว ประธานจะดำเนินการประชุมต่อไป (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๙)


- '''การเลื่อนประชุม'''   
- '''[[การเลื่อนประชุม]]'''   


เมื่อพนกําหนดเวลาประชุมไปสามสิบนาทีแลว จํานวนสมาชิกยังไมครบองคประชุม ประธานของที่ประชุมอาจสั่งใหเลื่อนการประชุมไปก็ได้ (ข้อบังคับฯ ขอ ๒๐)  
เมื่อพนกําหนดเวลาประชุมไปสามสิบนาทีแลว จํานวนสมาชิกยังไมครบองคประชุม ประธานของที่ประชุมอาจสั่งใหเลื่อนการประชุมไปก็ได้ (ข้อบังคับฯ ขอ ๒๐)  


- '''การงดการประชุม''' ประธานวุฒิสภาอาจสั่งงดการประชุมครั้งใดก็ไดเมื่อเห็นวาไมมีเรื่องที่สมควรจะบรรจุเขาระเบียบวาระการประชุม แตตองแจงใหสมาชิกทราบลวงหนา (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๔)
- '''[[การงดการประชุม]]''' ประธานวุฒิสภาอาจสั่งงดการประชุมครั้งใดก็ไดเมื่อเห็นวาไมมีเรื่องที่สมควรจะบรรจุเขาระเบียบวาระการประชุม แตตองแจงใหสมาชิกทราบลวงหนา (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๔)


- '''การเรียกประชุมเป็นพิเศษ'''  ในกรณีที่ประธานวุฒิสภาเห็นสมควรหรือสมาชิกจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภาเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาใหเรียกประชุมเปนพิเศษก็ใหเรียกประชุมได (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๔ วรรคสาม)
- '''[[การเรียกประชุมเป็นพิเศษ]]'''  ในกรณีที่ประธานวุฒิสภาเห็นสมควรหรือสมาชิกจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภาเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาใหเรียกประชุมเปนพิเศษก็ใหเรียกประชุมได (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๔ วรรคสาม)


- '''การจัดระเบียบวาระการประชุม''' หมายถึง การลำดับเรื่องราวที่จะต้องพิจารณากันในที่ประชุมสภาซึ่งข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาฯ ขอ ๑๘ กำหนดใหจัดลำดับ ดังตอไปนี้  
- '''[[การจัดระเบียบวาระการประชุม]]''' หมายถึง การลำดับเรื่องราวที่จะต้องพิจารณากันในที่ประชุมสภาซึ่งข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาฯ ขอ ๑๘ กำหนดใหจัดลำดับ ดังตอไปนี้  


(๑) เรื่องที่ประธานจะแจงตอที่ประชุม  
(๑) เรื่องที่ประธานจะแจงตอที่ประชุม  
บรรทัดที่ 131: บรรทัดที่ 131:
แต่ในกรณีที่ประธานวุฒิสภาเห็นวาเรื่องใดเปนเรื่องดวน จะจัดไวในลําดับใดของระเบียบวาระการประชุมก็ได
แต่ในกรณีที่ประธานวุฒิสภาเห็นวาเรื่องใดเปนเรื่องดวน จะจัดไวในลําดับใดของระเบียบวาระการประชุมก็ได


- '''การพักการประชุม'''
- '''[[การพักการประชุม]]'''


เป็นการหยุดการดำเนินการประชุมชั่วคราว เมื่อประธานของที่ประชุมเห็นสมควร เช่น การพักการประชุมเพื่อรับประทานอาหารกลางวัน หรือพักการประชุมหลังจากที่ประธานเห็นว่าประชุมมานานหลายชั่วโมงแล้ว เป็นต้น (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๖)  
เป็นการหยุดการดำเนินการประชุมชั่วคราว เมื่อประธานของที่ประชุมเห็นสมควร เช่น การพักการประชุมเพื่อรับประทานอาหารกลางวัน หรือพักการประชุมหลังจากที่ประธานเห็นว่าประชุมมานานหลายชั่วโมงแล้ว เป็นต้น (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๖)  


- '''การเลิกประชุม'''
- '''[[การเลิกประชุม]]'''


เป็นการยุติการประชุมตามคำสั่งของประธานของที่ประชุม ซึ่งจะสั่งให้เลิกประชุมเมื่อหมดระเบียบวาระของวันนั้นหรือสั่งเลิกประชุมตามที่เห็นสมควรก็ได้ นอกจากนี้ การที่ประธานวุฒิสภาลงจากบัลลังกโดยมิไดมอบหมายใหรองประธานวุฒิสภาปฏิบัติหนาที่แทน ก็ถือว่าเป็นการ ใหเลิกการประชุม เช่นกัน (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๖)
เป็นการยุติการประชุมตามคำสั่งของประธานของที่ประชุม ซึ่งจะสั่งให้เลิกประชุมเมื่อหมดระเบียบวาระของวันนั้นหรือสั่งเลิกประชุมตามที่เห็นสมควรก็ได้ นอกจากนี้ การที่ประธานวุฒิสภาลงจากบัลลังกโดยมิไดมอบหมายใหรองประธานวุฒิสภาปฏิบัติหนาที่แทน ก็ถือว่าเป็นการ ใหเลิกการประชุม เช่นกัน (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๖)


- '''การดำเนินการหลังการประชุม'''
- '''[[การดำเนินการหลังการประชุม]]'''


เมื่อวุฒิสภาได้มีมติเรื่องใดในที่ประชุมแล้ว เลขาธิการวุฒิสภาจะดำเนินการยืนยันมติของวุฒิสภาดังกล่าวไปยังผูที่เกี่ยวของต่อไป ตามข้อบังคับฯ ขอ ๑๒(๕)  
เมื่อวุฒิสภาได้มีมติเรื่องใดในที่ประชุมแล้ว เลขาธิการวุฒิสภาจะดำเนินการยืนยันมติของวุฒิสภาดังกล่าวไปยังผูที่เกี่ยวของต่อไป ตามข้อบังคับฯ ขอ ๑๒(๕)  


- '''เอกสิทธิ์ของสมาชิกวุฒิสภา'''
- '''[[เอกสิทธิ์ของสมาชิกวุฒิสภา]]'''


เอกสิทธิ์ หมายถึง สิทธิเด็ดขาดของสมาชิกรัฐสภาที่จะกล่าวแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ออกเสียงลงคะแนน หรือการกระทำอย่างอื่นในที่ประชุมสภา โดยมิให้บุคคลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง จะไปฟ้องร้องว่ากล่าวในทางใด ๆ ไม่ได้ และไม่อาจนำเรื่องนั้นไปฟ้องร้องได้อีก ไม่ว่าเวลาจะล่วงเลยไปนานเท่าใดก็ตาม  
เอกสิทธิ์ หมายถึง สิทธิเด็ดขาดของสมาชิกรัฐสภาที่จะกล่าวแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ออกเสียงลงคะแนน หรือการกระทำอย่างอื่นในที่ประชุมสภา โดยมิให้บุคคลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง จะไปฟ้องร้องว่ากล่าวในทางใด ๆ ไม่ได้ และไม่อาจนำเรื่องนั้นไปฟ้องร้องได้อีก ไม่ว่าเวลาจะล่วงเลยไปนานเท่าใดก็ตาม  
บรรทัดที่ 150: บรรทัดที่ 150:
รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับเอกสิทธิ์ของสมาชิกวุฒิสภาไว้ว่า ในที่ประชุมวุฒิสภาสมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผู้ใดจะนำไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวสมาชิกผู้นั้นในทางใดมิได้ โดยเอกสิทธิ์ดังกล่าวคุ้มครองไปถึงผู้พิมพ์และผู้โฆษณารายงานการประชุมตามข้อบังคับของวุฒิสภา และคุ้มครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ตลอดจนผู้ดำเนินการถ่ายทอดการประชุมสภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ที่ได้รับอนุญาตจากประธานวุฒิสภาด้วยโดยอนุโลม
รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับเอกสิทธิ์ของสมาชิกวุฒิสภาไว้ว่า ในที่ประชุมวุฒิสภาสมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผู้ใดจะนำไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวสมาชิกผู้นั้นในทางใดมิได้ โดยเอกสิทธิ์ดังกล่าวคุ้มครองไปถึงผู้พิมพ์และผู้โฆษณารายงานการประชุมตามข้อบังคับของวุฒิสภา และคุ้มครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ตลอดจนผู้ดำเนินการถ่ายทอดการประชุมสภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ที่ได้รับอนุญาตจากประธานวุฒิสภาด้วยโดยอนุโลม


อย่างไรก็ตาม เอกสิทธ์จะไม่คุ้มครองถึงกรณีที่สมาชิกวุฒิสภากล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ หากถ้อยคำที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคำนั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น
อย่างไรก็ตาม เอกสิทธ์จะไม่คุ้มครองถึงกรณีที่สมาชิกวุฒิสภากล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ หากถ้อยคำที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคำนั้นมีลักษณะเป็น[[ความผิดทางอาญา]]หรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น


- '''ความคุ้มกันของสมาชิกวุฒิสภา'''
- '''[[ความคุ้มกันของสมาชิกวุฒิสภา]]'''


ความคุ้มกัน หมายถึง ความคุ้มกันที่รัฐธรรมนูญให้แก่สมาชิกรัฐสภาเพื่อที่จะมาประชุมสภาตามหน้าที่ โดยไม่อาจถูกจับกุม คุมขัง หรือดำเนินคดีใด ๆ ในลักษณะที่จะขัดขวางต่อการไปประชุมดังกล่าวในช่วงเวลาหนึ่ง และเมื่อพ้นช่วงเวลาดังกล่าวแล้วความคุ้มกันจะหมดไป และอาจดำเนินคดีต่อไปได้   
ความคุ้มกัน หมายถึง ความคุ้มกันที่รัฐธรรมนูญให้แก่สมาชิกรัฐสภาเพื่อที่จะมาประชุมสภาตามหน้าที่ โดยไม่อาจถูกจับกุม คุมขัง หรือดำเนินคดีใด ๆ ในลักษณะที่จะขัดขวางต่อการไปประชุมดังกล่าวในช่วงเวลาหนึ่ง และเมื่อพ้นช่วงเวลาดังกล่าวแล้วความคุ้มกันจะหมดไป และอาจดำเนินคดีต่อไปได้   
บรรทัดที่ 158: บรรทัดที่ 158:
รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติถึงความคุ้มกันของสมาชิกวุฒิสภาไว้ ๓ กรณีด้วยกัน ดังนี้
รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติถึงความคุ้มกันของสมาชิกวุฒิสภาไว้ ๓ กรณีด้วยกัน ดังนี้


(๑) ความคุ้มกันที่จะไม่ถูกจับหรือคุมขังในคดีอาญาในระหว่างสมัยประชุม
(๑) ความคุ้มกันที่จะไม่ถูกจับหรือคุมขังในคดีอาญาในระหว่าง[[สมัยประชุม]]


รัฐธรรมนูญฯ กำหนดไว้ในมาตรา ๑๓๑ ว่า ในระหว่างสมัยประชุม ห้ามมิให้จับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกวุฒิสภา ไปทำการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผู้นั้นเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญา เว้นแต่ในกรณีที่ได้รับอนุญาตจากวุฒิสภา หรือในกรณีที่จับในขณะกระทำความผิด และในกรณีที่มีการจับสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทำความผิด เจ้าพนักงานผู้จับกุมจะต้องรายงานไปยังประธานวุฒิสภาโดยพลัน และประธานวุฒิสภาอาจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับได้
รัฐธรรมนูญฯ กำหนดไว้ในมาตรา ๑๓๑ ว่า ในระหว่างสมัยประชุม ห้ามมิให้จับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกวุฒิสภา ไปทำการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผู้นั้นเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญา เว้นแต่ในกรณีที่ได้รับอนุญาตจากวุฒิสภา หรือในกรณีที่จับในขณะกระทำความผิด และในกรณีที่มีการจับสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทำความผิด เจ้าพนักงานผู้จับกุมจะต้องรายงานไปยังประธานวุฒิสภาโดยพลัน และประธานวุฒิสภาอาจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับได้
บรรทัดที่ 164: บรรทัดที่ 164:
(๒) ความคุ้มกันที่จะไม่ถูกพิจารณาคดีอาญาในระหว่างสมัยประชุม
(๒) ความคุ้มกันที่จะไม่ถูกพิจารณาคดีอาญาในระหว่างสมัยประชุม


รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๑ วรรคสาม กำหนดว่า ในกรณีที่มีการฟ้องสมาชิกวุฒิสภาในคดีอาญา ไม่ว่าจะได้ฟ้องนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหว่างสมัยประชุมมิได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากวุฒิสภา หรือเป็นคดีอันเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง แต่การพิจารณาคดีต้องไม่เป็นการขัดขวางต่อการที่สมาชิกผู้นั้นจะมาประชุมสภา
รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๑ วรรคสาม กำหนดว่า ในกรณีที่มีการฟ้องสมาชิกวุฒิสภาในคดีอาญา ไม่ว่าจะได้ฟ้องนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหว่างสมัยประชุมมิได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากวุฒิสภา หรือเป็นคดีอันเกี่ยวกับ[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา]] [[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง]] หรือ[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง]] แต่การพิจารณาคดีต้องไม่เป็นการขัดขวางต่อการที่สมาชิกผู้นั้นจะมาประชุมสภา


(๓) ความคุ้มกันที่จะถูกปล่อยจากการถูกคุมขังเมื่อถึงสมัยประชุม
(๓) ความคุ้มกันที่จะถูกปล่อยจากการถูกคุมขังเมื่อถึงสมัยประชุม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:42, 9 มิถุนายน 2557

เรียบเรียงโดย : นางสาวเรณุมาศ รักษาแก้ว

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


บทนำ

[[ รัฐสภา]] ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ดังนั้น วุฒิสภา จึงเป็นสภาตัวแทนของประชาชนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีหน้าที่ต่างจากสภาผู้แทนราษฎร โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาไว้หลายประการ การปฏิบัติงานของวุฒิสภาจึงต้องมีขั้นตอนและวิธีดำเนินงานที่ชัดเจน โดยเป็นไปในลักษณะของการประชุมหารือและลงมติในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งการประชุมดังกล่าว ถือว่าเป็นการประชุมที่มีลักษณะพิเศษกว่าการประชุมปกติ เรียกว่า “การประชุมวุฒิสภา”

ความหมายของการประชุมวุฒิสภา

การประชุมวุฒิสภา หมายถึง การประชุมของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อพิจารณาเรื่องใด ๆ ตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา ในการประชุมวุฒิสภานอกจากจะมีสมาชิกวุฒิสภาเป็นองค์ประชุมแล้ว ยังมีรัฐมนตรีและผู้ที่ประธานวุฒิสภาหรือผู้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมอนุญาตเข้าร่วมประชุมด้วย ทั้งนี้ โดยมีข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาเป็นเครื่องมือในการดำเนินการประชุม ผู้ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมวุฒิสภา ได้แก่ ประธานวุฒิสภาหรือรองประธานวุฒิสภาผู้ทำหน้าที่แทน

ประวัติของการประชุมวุฒิสภา

ภายหลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ รัฐธรรมนูญ ๒ ฉบับแรก ได้แก่ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ กำหนดให้รัฐสภาเป็นระบบสภาเดียว คือ สภาผู้แทนราษฎร ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บ้านเมือง โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐสภามาเป็น “ระบบสภาคู่” หรือ “ระบบสองสภา” คือ สภาผู้แทนและพฤฒสภา ซึ่งพฤฒสภามีขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นสภายับยั้ง หรือสภากลั่นกรองงาน คอยเหนี่ยวรั้งมิให้สภาผู้แทนทำงาน ด้านนิติบัญญัติเร็วเกินไป จนขาดความรอบคอบ จึงถือได้ว่า “วุฒิสภา” หรือสภาที่ทำหน้าที่กลั่นกรองงานของสภาผู้แทนราษฎรได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกในนามของ “พฤฒสภา”

การประชุมพฤฒสภาจัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ ๔ มิถุนายน ๒๔๘๙ ณ พระที่นั่งอภิเศกดุสิต ซึ่งใช้เป็นที่ทำการสำนักงานเลขาธิการพฤฒสภาด้วย โดยในวันดังกล่าวที่ประชุมพฤฒสภาได้ลงมติเลือก พันตรีวิลาศ โอสถานนท์ เป็นประธานพฤฒสภา และนายไต๋ ปาณิกบุตร เป็นรองประธานพฤฒสภา ต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๔๙๐ ได้เปลี่ยนชื่อที่ใช้เรียก “พฤฒสภา” เป็น “วุฒิสภา” มีหน้าที่กลั่นกรองร่างกฎหมายและควบคุมราชการแผ่นดิน มีการประชุมซึ่งเรียกว่า “การประชุมวุฒิสภา” จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม โดยที่ประชุมได้ลงมติ เลือก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ เป็นประธานวุฒิสภา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่ ๑ และพลโท พระยาสีหราชเดโชไชย เป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่ ๒ หลังจากนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ ได้มีการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ซึ่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๑๗ จึงได้เปลี่ยนมาทำการประชุมสภา ณ อาคารรัฐสภาใหม่ ถนนอู่ทองใน และได้ใช้ห้องประชุมของอาคารรัฐสภาแห่งนี้มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนพระที่นั่ง อนันตสมาคมแม้ไม่ได้ใช้เป็นสถานที่ประชุมสภาแล้ว แต่ยังคงใช้เป็นสถานที่สำหรับประกอบรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาจนกระทั่งปัจจุบัน

วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

วุฒิสภา ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนรวม ๑๕๐ คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละ ๑ คน และมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง ปัจจุบันจึงมีสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งได้ทั้งสิ้น ๗๗ คน และสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหาอีก ๗๓ คน (มาตรา ๑๑๑)

วัตถุประสงค์ของการประชุมวุฒิสภา

การประชุมวุฒิสภาเป็นการทำหน้าที่ตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น

- หน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ผ่านความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว

- หน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินโดยการตั้งกระทู้ถามและการเปิดอภิปรายทั่วไปโดยไม่มีการลงมติ

- หน้าที่ในการพิจารณาเลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งในองค์กรต่าง ๆ ได้แก่

กรรมการการเลือกตั้ง (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๓๑)

ผู้ตรวจการแผ่นดิน (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๓)

กรรมการสิทธิมนุษยชน (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๖)

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๐๖)

• กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมในสัดส่วนของวุฒิสภา (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๑)

• ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๔)

• กรรมการตุลาการศาลปกครองในสัดส่วนของวุฒิสภา (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒๖)

กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๔๖)

• เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๑)

กรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๕๒)

- หน้าที่พิจารณาถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๗๐ ได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

ช่วงเวลาที่สามารถประชุมวุฒิสภาได้

การประชุมวุฒิสภาสามารถกระทำได้ภายในสมัยประชุมของรัฐสภา แต่มีเงื่อนไขว่า ในระหว่างที่อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ จะมีการประชุมวุฒิสภามิได้ เว้นแต่ เป็นกรณีตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๒ ดังต่อไปนี้

(๑) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภา ได้แก่

- การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๙)

- การทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ปฏิญาณตนก่อนเข้ารับหน้าที่ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๑)

- การรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๒)

- การรับทราบหรือให้ความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติ (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๓)

- การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม (รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๘๙)

(๒) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่พิจารณาให้บุคคลดำรงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

(๓) การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่พิจารณาและมีมติให้ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง

โดยการประชุมวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๒ ดังกล่าว ต้องมีพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๘๗ ด้วย

ลักษณะของการประชุมวุฒิสภา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติให้ การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละสภา แต่ถ้าคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของแต่ละสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือจำนวนสมาชิกของทั้งสองสภาเท่าที่มีอยู่รวมกัน แล้วแต่กรณี ร้องขอให้ประชุมลับ ก็ให้ประชุมลับ (มาตรา ๑๓๓) นอกจากนี้ ดังนั้น จึงสามารถแบ่งการประชุมวุฒิสภาออกได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ

1. การประชุมโดยเปิดเผย ซึ่งบุคคลภายนอกสามารถเข้าฟังการประชุมได้ตามระเบียบที่ประธานวุฒิสภากำหนด นอกจากนี้ ประธานวุฒิสภายังต้องจัดใหมีการถายทอดการประชุมทางวิทยุกระจายเสียง และหรือวิทยุโทรทัศน รวมทั้ง จัดใหมีการถายทอดการประชุมทางเครื่องขยายเสียงและหรือวิทยุโทรทัศน วงจรปดภายในบริเวณของรัฐสภา และลามภาษามือ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับรู้ได้อย่างทั่วถึง สะท้อนให้เห็นถึงความเปิดเผย โปร่งใส สุจริต และตรวจสอบได้ และเป็นหลักประกันว่าการประชุมทุกครั้งจะดำเนินไปโดยยึดถือเอาประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง

2. การประชุมลับ เป็นการประชุมซึ่งจำกัดบุคคลที่จะอยู่ในที่ประชุมหรือ ณ ที่ใดในระยะที่จะฟงการประชุมได ไว้แต่เฉพาะสมาชิกวุฒิสภา รัฐมนตรี และผูที่ไดรับอนุญาตจากประธานของที่ประชุม นอกจากนี้ ยังหามใชเครื่องบันทึกเสียง หรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ยกเวน การบันทึกของวุฒิสภาเท่านั้น

กระบวนการในการประชุมวุฒิสภา

การประชุมวุฒิสภานั้น ต้องดำเนินการไปตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๓๔ บัญญัติให้ “วุฒิสภามีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการสามัญแต่ละชุด การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุมการเสนอและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ การเสนอญัตติการปรึกษา การอภิปราย การลงมติ การบันทึกการลงมติ การเปิดเผยการลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การเปิดอภิปรายทั่วไป การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และการอื่นที่เกี่ยวข้อง” โดยข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๕๑ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการประชุมวุฒิสภา ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปได้ ดังนี้

- การประชุมวุฒิสภาครั้งแรก

เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญทั่วไป หรือสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติแล้ว ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา ขอ ๑๔ กำหนดใหมีการประชุมวุฒิสภาครั้งแรกภายใน ๑๐ วัน นับแตวันเปดสมัยประชุมสามัญหรือวิสามัญของรัฐสภา เวนแตประธานวุฒิสภาเห็นวาไมมีวาระที่จะพิจารณา ซึ่งประธานวุฒิสภาจะต้องแจงใหสมาชิกทราบลวงหนา ส่วนการประชุมครั้งตอไปใหเปนไปตามมติที่ประชุม

- การนัดประชุม

กำหนดใหทําเปนหนังสือส่งให้สมาชิกทราบล่วงหน้าไมนอยกวา ๓ วันก่อนการประชุม พร้อมแจ้งระเบียบวาระการประชุมและเอกสารที่เกี่ยวข้องด้วย โดยอาจดําเนินการทางโทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่นเมื่อประธานวุฒิสภาเห็นสมควร เว้นแต่ในกรณีที่บอกนัดในที่ประชุม ให้ทำหนังสือนัดเฉพาะสมาชิกที่ไม่ได้มาประชุม ในกรณีมีเรื่องด่วน ประธานวุฒิสภาจะนัดประชุมโดยแจ้งให้สมาชิกทราบน้อยกว่า ๓ วันก็ได้ (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๕, ๑๖,๑๗)

- องค์ประชุม

การประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูจึงจะเปนองคประชุม เวนแต่ ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทูถาม ถามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูก็ใหถือวาเปนองคประชุมพิจารณาได้ โดยสมาชิกผูมาประชุมจะต้องลงชื่อในสมุดที่จัดไวกอนเขาประชุมทุกครั้ง และเขานั่งในที่ที่จัดไว้เมื่อมีสัญญาณใหเขาประชุม หากมีสมาชิกเข้าประชุมครบองค์ประชุมแล้ว ประธานจะดำเนินการประชุมต่อไป (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๙)

- การเลื่อนประชุม

เมื่อพนกําหนดเวลาประชุมไปสามสิบนาทีแลว จํานวนสมาชิกยังไมครบองคประชุม ประธานของที่ประชุมอาจสั่งใหเลื่อนการประชุมไปก็ได้ (ข้อบังคับฯ ขอ ๒๐)

- การงดการประชุม ประธานวุฒิสภาอาจสั่งงดการประชุมครั้งใดก็ไดเมื่อเห็นวาไมมีเรื่องที่สมควรจะบรรจุเขาระเบียบวาระการประชุม แตตองแจงใหสมาชิกทราบลวงหนา (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๔)

- การเรียกประชุมเป็นพิเศษ ในกรณีที่ประธานวุฒิสภาเห็นสมควรหรือสมาชิกจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภาเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาใหเรียกประชุมเปนพิเศษก็ใหเรียกประชุมได (ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๔ วรรคสาม)

- การจัดระเบียบวาระการประชุม หมายถึง การลำดับเรื่องราวที่จะต้องพิจารณากันในที่ประชุมสภาซึ่งข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาฯ ขอ ๑๘ กำหนดใหจัดลำดับ ดังตอไปนี้

(๑) เรื่องที่ประธานจะแจงตอที่ประชุม

(๒) รับรองรายงานการประชุม

(๓) กระทูถาม

(๔) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแลว

(๕) เรื่องที่คางพิจารณา

(๖) เรื่องที่เสนอใหม

(๗) เรื่องอื่น ๆ

แต่ในกรณีที่ประธานวุฒิสภาเห็นวาเรื่องใดเปนเรื่องดวน จะจัดไวในลําดับใดของระเบียบวาระการประชุมก็ได

- การพักการประชุม

เป็นการหยุดการดำเนินการประชุมชั่วคราว เมื่อประธานของที่ประชุมเห็นสมควร เช่น การพักการประชุมเพื่อรับประทานอาหารกลางวัน หรือพักการประชุมหลังจากที่ประธานเห็นว่าประชุมมานานหลายชั่วโมงแล้ว เป็นต้น (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๖)

- การเลิกประชุม

เป็นการยุติการประชุมตามคำสั่งของประธานของที่ประชุม ซึ่งจะสั่งให้เลิกประชุมเมื่อหมดระเบียบวาระของวันนั้นหรือสั่งเลิกประชุมตามที่เห็นสมควรก็ได้ นอกจากนี้ การที่ประธานวุฒิสภาลงจากบัลลังกโดยมิไดมอบหมายใหรองประธานวุฒิสภาปฏิบัติหนาที่แทน ก็ถือว่าเป็นการ ใหเลิกการประชุม เช่นกัน (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๖)

- การดำเนินการหลังการประชุม

เมื่อวุฒิสภาได้มีมติเรื่องใดในที่ประชุมแล้ว เลขาธิการวุฒิสภาจะดำเนินการยืนยันมติของวุฒิสภาดังกล่าวไปยังผูที่เกี่ยวของต่อไป ตามข้อบังคับฯ ขอ ๑๒(๕)

- เอกสิทธิ์ของสมาชิกวุฒิสภา

เอกสิทธิ์ หมายถึง สิทธิเด็ดขาดของสมาชิกรัฐสภาที่จะกล่าวแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ออกเสียงลงคะแนน หรือการกระทำอย่างอื่นในที่ประชุมสภา โดยมิให้บุคคลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง จะไปฟ้องร้องว่ากล่าวในทางใด ๆ ไม่ได้ และไม่อาจนำเรื่องนั้นไปฟ้องร้องได้อีก ไม่ว่าเวลาจะล่วงเลยไปนานเท่าใดก็ตาม ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่โดยมิต้องกังวลว่าจะผิดกฎหมาย

รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับเอกสิทธิ์ของสมาชิกวุฒิสภาไว้ว่า ในที่ประชุมวุฒิสภาสมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผู้ใดจะนำไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวสมาชิกผู้นั้นในทางใดมิได้ โดยเอกสิทธิ์ดังกล่าวคุ้มครองไปถึงผู้พิมพ์และผู้โฆษณารายงานการประชุมตามข้อบังคับของวุฒิสภา และคุ้มครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ตลอดจนผู้ดำเนินการถ่ายทอดการประชุมสภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ที่ได้รับอนุญาตจากประธานวุฒิสภาด้วยโดยอนุโลม

อย่างไรก็ตาม เอกสิทธ์จะไม่คุ้มครองถึงกรณีที่สมาชิกวุฒิสภากล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ หากถ้อยคำที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกล่าวถ้อยคำนั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกแห่งสภานั้น

- ความคุ้มกันของสมาชิกวุฒิสภา

ความคุ้มกัน หมายถึง ความคุ้มกันที่รัฐธรรมนูญให้แก่สมาชิกรัฐสภาเพื่อที่จะมาประชุมสภาตามหน้าที่ โดยไม่อาจถูกจับกุม คุมขัง หรือดำเนินคดีใด ๆ ในลักษณะที่จะขัดขวางต่อการไปประชุมดังกล่าวในช่วงเวลาหนึ่ง และเมื่อพ้นช่วงเวลาดังกล่าวแล้วความคุ้มกันจะหมดไป และอาจดำเนินคดีต่อไปได้

รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติถึงความคุ้มกันของสมาชิกวุฒิสภาไว้ ๓ กรณีด้วยกัน ดังนี้

(๑) ความคุ้มกันที่จะไม่ถูกจับหรือคุมขังในคดีอาญาในระหว่างสมัยประชุม

รัฐธรรมนูญฯ กำหนดไว้ในมาตรา ๑๓๑ ว่า ในระหว่างสมัยประชุม ห้ามมิให้จับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกวุฒิสภา ไปทำการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผู้นั้นเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญา เว้นแต่ในกรณีที่ได้รับอนุญาตจากวุฒิสภา หรือในกรณีที่จับในขณะกระทำความผิด และในกรณีที่มีการจับสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทำความผิด เจ้าพนักงานผู้จับกุมจะต้องรายงานไปยังประธานวุฒิสภาโดยพลัน และประธานวุฒิสภาอาจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับได้

(๒) ความคุ้มกันที่จะไม่ถูกพิจารณาคดีอาญาในระหว่างสมัยประชุม

รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๑ วรรคสาม กำหนดว่า ในกรณีที่มีการฟ้องสมาชิกวุฒิสภาในคดีอาญา ไม่ว่าจะได้ฟ้องนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหว่างสมัยประชุมมิได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากวุฒิสภา หรือเป็นคดีอันเกี่ยวกับ[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา]] พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง แต่การพิจารณาคดีต้องไม่เป็นการขัดขวางต่อการที่สมาชิกผู้นั้นจะมาประชุมสภา

(๓) ความคุ้มกันที่จะถูกปล่อยจากการถูกคุมขังเมื่อถึงสมัยประชุม

รัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๓๑ วรรคห้าและหก กำหนดว่า ถ้าสมาชิกวุฒิสภาถูกคุมขังในระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาอยู่ก่อนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี ต้องสั่งปล่อยทันทีถ้าประธานวุฒิสภาได้ร้องขอ โดยคำสั่งปล่อยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันสั่งปล่อยจนถึงวันสุดท้ายแห่งสมัยประชุม

บทสรุปปิดท้าย

จากบทความข้างต้น การประชุมวุฒิสภาจึงมีความสำคัญต่อการปกครองในระบบรัฐสภา เพราะเป็นกลไกการทำงานของสมาชิกวุฒิสภา ตามหลักการแบ่งแยกอำนาจ อันจะก่อให้เกิดผลสัมฤทธิในการปฏิบัติงาน ทั้งด้านนิติบัญญัติ ด้านการควบคุมการทำงานของฝ่ายบริหาร รวมถึงการทำงานในด้านอื่นๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้

อ้างอิง


หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘. รายงานการประชุมพฤฒสภา ครั้งที่ ๑/๒๔๘๙ สมัยวิสามัญ ชุดที่ ๑ วันอังคารที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙

คณะกรรมการจัดทำรายงานผลการพิจารณาร่างกฎหมายของวุฒิสภา. วุฒิสภากับงานกลั่นกรองกฎหมาย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา, ๒๕๕๔.

ชัยอนันต์ สมุทวาณิช และเศรษฐพร คูศรีพิทักษ์. กลไกรัฐสภา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๑๘. ประเสริฐ ปัทมสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี ๒๔๗๕-๒๕๑๗. กรุงเทพฯ : ช.ชุมนุมช่าง, ๒๕๑๗.

มนตรี รูปสุวรรณ. กฎหมายรัฐสภา. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๙.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐสภาไทย. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๔๖.

บรรณานุกรม

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘. รายงานการประชุมพฤฒสภา ครั้งที่ ๑/๒๔๘๙ สมัยวิสามัญ ชุดที่ ๑ วันอังคารที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙

คณะกรรมการจัดทำรายงานผลการพิจารณาร่างกฎหมายของวุฒิสภา. วุฒิสภากับงานกลั่นกรองกฎหมาย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา, ๒๕๕๔.

ชัยอนันต์ สมุทวาณิช และเศรษฐพร คูศรีพิทักษ์. กลไกรัฐสภา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๑๘. ประเสริฐ ปัทมสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี ๒๔๗๕-๒๕๑๗. กรุงเทพฯ : ช.ชุมนุมช่าง, ๒๕๑๗.

มนตรี รูปสุวรรณ. กฎหมายรัฐสภา. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๙.

มานิตย์ จุมปา. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๙. เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา. ๒๕๔๔.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐสภาไทย. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๔๖.