ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำลอง ศรีเมือง"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์  ผู้ทรงคุ..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์
ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์


 ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
 ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


----
----
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
'''พลตรีจำลอง  ศรีเมือง'''
'''พลตรีจำลอง  ศรีเมือง'''


'''                พลตรีจำลอง ศรีเมือง '''อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้า[https://th.wikipedia.org/wiki/พรรคพลังธรรม พรรคพลังธรรม] เป็นแกนนำกลุ่มทหารหนุ่มหรือยังเติร์ก แกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ [https://th.wikipedia.org/wiki/พฤษภาทมิฬ พฤษภาทมิฬ] ปี พ.ศ. 2535และแกนนำกลุ่ม[https://th.wikipedia.org/wiki/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย] อดีตสมาชิก[https://th.wikipedia.org/wiki/สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ] สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา     
'''                พลตรีจำลอง ศรีเมือง '''อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการ[[นายกรัฐมนตรี]] (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรค[[พลังธรรม_(พ.._2531)|พลังธรรม]] เป็นแกนนำกลุ่มทหารหนุ่มหรือยังเติร์ก แกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ [[พฤษภาทมิฬ]] ปี พ.ศ. 2535และแกนนำ[[กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] อดีต[[สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[สมาชิกวุฒิสภา|สมาชิกวุฒิสภา    ]] 


'''ประวัติ'''
'''ประวัติ'''


                พลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เกิดเมื่อวันที่  5  กรกฎาคม  พ.ศ.2478  ที่บริเวณซึ่งปัจจุบันเป็นโรงพยาบาลทหารเรือถนนตากสิน  แขวงบุคคโล  เขตธนบุรี  เป็นบุตรของนายฮะเสียว  แซ่โล้วหรือนายสมนึก  ชุนรัตน์  เป็นชาวจีนมีอาชีพขายปลาอยู่ที่ตลาดเจริญพาสน์  ฝั่งธนบุรี  มารดาชื่อนางบุญเรือน  เป็นแม่ค้าหาบเร่หาบของจากฝั่งธนบุรีไปขายยังฝั่งพระนคร  บิดาได้เสียชีวิตลงตั้งแต่พลตรีจำลองยังเป็นเด็กแบเบาะ  ต่อมามารดาได้แต่งงานใหม่กับนายโชตน์  ศรีเมืองซึ่งมีอาชีพเป็นบุรุษไปรษณีย์  ซึ่งได้รับพลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เป็นบุตรบุญธรรม จึงทำให้พลตรีจำลองใช้นามสกุล “ศรีเมือง”[[#_ftn1|[1]]]
                พลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เกิดเมื่อวันที่  5  กรกฎาคม  พ.ศ.2478  ที่บริเวณซึ่งปัจจุบันเป็นโรงพยาบาลทหารเรือถนนตากสิน  แขวงบุคคโล  เขตธนบุรี  เป็นบุตรของนายฮะเสียว  แซ่โล้วหรือนายสมนึก  ชุนรัตน์  เป็นชาวจีนมีอาชีพขายปลาอยู่ที่ตลาดเจริญพาสน์  ฝั่งธนบุรี  มารดาชื่อนางบุญเรือน  เป็นแม่ค้าหาบเร่หาบของจากฝั่งธนบุรีไปขายยังฝั่งพระนคร  บิดาได้เสียชีวิตลงตั้งแต่พลตรีจำลองยังเป็นเด็กแบเบาะ  ต่อมามารดาได้แต่งงานใหม่กับนายโชตน์  ศรีเมืองซึ่งมีอาชีพเป็นบุรุษไปรษณีย์  ซึ่งได้รับพลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เป็นบุตรบุญธรรม จึงทำให้พลตรีจำลองใช้นามสกุล “ศรีเมือง”[1]


                พลตรีจำลองเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนเทศบาล 27  วัดราชวรินทร์  สำเหร่  ซึ่งปัจจุบันคือโรงเรียนวัดราชวรินทร์  สังกัดกรุงเทพมหานครจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่อปี พ.ศ.2490 จึงได้สอบคัดเลือกเข้าโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยาซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของฝั่งธนบุรีในขณะนั้น โดยสามารถสอบคัดเลือกได้ที่ 1  และสามารถสอบไล่ได้ที่ 1  ทุกปีจนจบระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6  เมื่อปี พ.ศ. 2496 พลตรีจำลอง  ศรีเมืองได้สอบเข้าระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสวนกุหลาบ โรงเรียนเตรียมนายร้อยและโรงเรียนเตรียมนายเรือ  ซึ่งพลตรีจำลอง  ศรีเมืองสามารถสอบเข้าได้ทั้ง 3 แห่ง  โดยเฉพาะที่โรงเรียนสวนกุหลาบสามารถสอบเข้าได้ที่ 1  แต่ด้วยการเรียนที่โรงเรียนเตรียมนายร้อยจะประหยัดกว่า เพราะเป็นนักเรียนนายร้อยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งค่าเล่าเรียน  ค่าอาหาร ค่าเครื่องแต่งกาย  รวมถึงถ้าเรียนเก่งก็จะได้รับเงินเดือนด้วย  พลตรีจำลอง  ศรีเมือง จึงเลือกเข้าศึกษาที่โรงเรียนเตรียมนายร้อยและต่อด้วยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า  รุ่นที่ 7[[#_ftn2|[2]]]
                พลตรีจำลองเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนเทศบาล 27  วัดราชวรินทร์  สำเหร่  ซึ่งปัจจุบันคือโรงเรียนวัดราชวรินทร์  สังกัดกรุงเทพมหานครจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่อปี พ.ศ.2490 จึงได้สอบคัดเลือกเข้าโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยาซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของฝั่งธนบุรีในขณะนั้น โดยสามารถสอบคัดเลือกได้ที่ 1  และสามารถสอบไล่ได้ที่ 1  ทุกปีจนจบระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6  เมื่อปี พ.ศ. 2496 พลตรีจำลอง  ศรีเมืองได้สอบเข้าระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสวนกุหลาบ โรงเรียนเตรียมนายร้อยและโรงเรียนเตรียมนายเรือ  ซึ่งพลตรีจำลอง  ศรีเมืองสามารถสอบเข้าได้ทั้ง 3 แห่ง  โดยเฉพาะที่โรงเรียนสวนกุหลาบสามารถสอบเข้าได้ที่ 1  แต่ด้วยการเรียนที่โรงเรียนเตรียมนายร้อยจะประหยัดกว่า เพราะเป็นนักเรียนนายร้อยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งค่าเล่าเรียน  ค่าอาหาร ค่าเครื่องแต่งกาย  รวมถึงถ้าเรียนเก่งก็จะได้รับเงินเดือนด้วย  พลตรีจำลอง  ศรีเมือง จึงเลือกเข้าศึกษาที่โรงเรียนเตรียมนายร้อยและต่อด้วยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า  รุ่นที่ 7[2]


                ระหว่างที่พลตรีจำลอง  ศรีเมืองเป็นนายร้อยชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2  สอบได้ที่ 1 ติดต่อกัน  2  ปีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็น  “หัวหน้าตอน”  และได้รับเงินเดือน ๆ ละ  105  บาท หลังจากนั้นพลตรีจำลอง  ศรีเมือง  ก็สามารถสอบไล่ได้ในอันดับที่ 1  ที่ 2  และที่ 3  สลับกัน  จนได้รับเกียรติจารึกในโล่เกียรติยศของโรงเรียน[[#_ftn3|[3]]]
                ระหว่างที่พลตรีจำลอง  ศรีเมืองเป็นนายร้อยชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2  สอบได้ที่ 1 ติดต่อกัน  2  ปีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็น  “หัวหน้าตอน”  และได้รับเงินเดือน ๆ ละ  105  บาท หลังจากนั้นพลตรีจำลอง  ศรีเมือง  ก็สามารถสอบไล่ได้ในอันดับที่ 1  ที่ 2  และที่ 3  สลับกัน  จนได้รับเกียรติจารึกในโล่เกียรติยศของโรงเรียน[3]


                เมื่อพลตรีจำลอง  ศรีเมืองเป็นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่ 5  ได้รับการคัดเลือกจากคณาจารย์  ผู้บังคับบัญชาและนักเรียนนายร้อยให้รับตำแหน่ง “ หัวหน้านักเรียนนายร้อย”  มีอำนาจปกครองบังคับบัญชานักเรียนนายร้อยทั้งโรงเรียน  ได้รับเงินเดือนๆ ละ  240  บาท[[#_ftn4|[4]]] ในระหว่างที่เป็นหัวหน้านักเรียนได้เกิดเหตุการณ์สำคัญขึ้นเมื่อคณะกรรมการจัดงานหาทุนซื้อเครื่องดนตรี เครื่องกีฬาได้จัดฉายภาพยนตร์รอบพิเศษ เรื่อง “สลี้บปิ้งบิวตี้”ที่ศาลาเฉลิมไทย โดยกำไรทั้งหมดจะนำมาซื้อเครื่องดนตรี เครื่องกีฬา และวิทยุเครื่องใหญ่มอบให้กับสโมสรนักเรียนนายร้อย ซึ่งโรงเรียนนายร้อยฯได้ออกหนังสือชมเชยว่าประกอบคุณงามความดีให้กับโรงเรียน แต่ในบ่ายวันเดียวกันโรงเรียนได้มีคำสั่งปลดพลตรีจำลองและกรรมการทุกคนออกจากตำแหน่งนักเรียนผู้บังคับบัญชามาเป็นนักเรียนลูกแถว เหตุเพราะจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบกได้เคยออกคำสั่งห้ามนักเรียนนายร้อยจัดฉายหนังรอบพิเศษ แต่โดยเหตุที่พลตรีจำลองมีผลการเรียนดีเด่นและมีความประพฤติดี จึงถูกลงโทษโดยให้รับกระบี่หลังจบ 3 เดือน พลตรีจำลองได้บรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไว้ว่า “เมื่อเกิดเรื่องขึ้นมา จอมพลสฤษดิ์ท่านเห็นใจ ฝากพระกริ่ง ผ่านอนุศาสนาจารย์ ไปให้พวกเรา คนละองค์ เพื่อปลอบใจ และให้บำเหน็จพิเศษ คนละขั้น ซึ่งที่จริง จะต้องงด บำเหน็จ เพราะออกรับกระบี่หลังเพื่อนๆ ทำงานไม่เต็มปีเคยใหญ่ที่สุด ต้องกลับมาเล็กที่สุด มาเป็นลูกแถว เพื่อนจบ เป็นนายทหารไปแล้ว เราต้องเป็น นักเรียนถูกแถว ต่ออีกถึง 3 เดือน เพื่อนได้เงินเดือน 1,050บาท ผมและคณะ ได้เบี้ยเลี้ยงวันละ 10 บาท เดือนกุมภาพันธ์ปีนั้น เกิดมี 28 วัน เลยได้แค่ 280 บาทเหมือนกัน เมื่อครบกำหนดโทษ พวกเราทั้ง 10 คน รับกระบี่อย่างเงียบๆ เศร้าซึมๆ จากรองผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อย รับเสร็จแล้วก็เดินลงบันใดไป ไม่มีใครไปแสดงความยินดี ไม่มีพิธีฉลองกระบี่”[[#_ftn5|[5]]]
                เมื่อพลตรีจำลอง  ศรีเมืองเป็นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่ 5  ได้รับการคัดเลือกจากคณาจารย์  ผู้บังคับบัญชาและนักเรียนนายร้อยให้รับตำแหน่ง “ หัวหน้านักเรียนนายร้อย”  มีอำนาจปกครองบังคับบัญชานักเรียนนายร้อยทั้งโรงเรียน  ได้รับเงินเดือนๆ ละ  240  บาท[4] ในระหว่างที่เป็นหัวหน้านักเรียนได้เกิดเหตุการณ์สำคัญขึ้นเมื่อคณะกรรมการจัดงานหาทุนซื้อเครื่องดนตรี เครื่องกีฬาได้จัดฉายภาพยนตร์รอบพิเศษ เรื่อง “สลี้บปิ้งบิวตี้”ที่[[ศาลาเฉลิมไทย]] โดยกำไรทั้งหมดจะนำมาซื้อเครื่องดนตรี เครื่องกีฬา และวิทยุเครื่องใหญ่มอบให้กับสโมสรนักเรียนนายร้อย ซึ่งโรงเรียนนายร้อยฯได้ออกหนังสือชมเชยว่าประกอบคุณงามความดีให้กับโรงเรียน แต่ในบ่ายวันเดียวกันโรงเรียนได้มีคำสั่งปลดพลตรีจำลองและกรรมการทุกคนออกจากตำแหน่งนักเรียนผู้บังคับบัญชามาเป็นนักเรียนลูกแถว เหตุเพราะจอมพล[[จอมพล_สฤษดิ์_ธนะรัชต์|สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ผู้บัญชาการทหารบกได้เคยออกคำสั่งห้ามนักเรียนนายร้อยจัดฉายหนังรอบพิเศษ แต่โดยเหตุที่พลตรีจำลองมีผลการเรียนดีเด่นและมีความประพฤติดี จึงถูกลงโทษโดยให้รับกระบี่หลังจบ 3 เดือน พลตรีจำลองได้บรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไว้ว่า “เมื่อเกิดเรื่องขึ้นมา จอมพลสฤษดิ์ท่านเห็นใจ ฝากพระกริ่ง ผ่านอนุศาสนาจารย์ ไปให้พวกเรา คนละองค์ เพื่อปลอบใจ และให้บำเหน็จพิเศษ คนละขั้น ซึ่งที่จริง จะต้องงด บำเหน็จ เพราะออกรับกระบี่หลังเพื่อนๆ ทำงานไม่เต็มปีเคยใหญ่ที่สุด ต้องกลับมาเล็กที่สุด มาเป็นลูกแถว เพื่อนจบ เป็นนายทหารไปแล้ว เราต้องเป็น นักเรียนถูกแถว ต่ออีกถึง 3 เดือน เพื่อนได้เงินเดือน 1,050บาท ผมและคณะ ได้เบี้ยเลี้ยงวันละ 10 บาท เดือนกุมภาพันธ์ปีนั้น เกิดมี 28 วัน เลยได้แค่ 280 บาทเหมือนกัน เมื่อครบกำหนดโทษ พวกเราทั้ง 10 คน รับกระบี่อย่างเงียบๆ เศร้าซึมๆ จากรองผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อย รับเสร็จแล้วก็เดินลงบันใดไป ไม่มีใครไปแสดงความยินดี ไม่มีพิธีฉลองกระบี่”[5]


                ขณะมียศพันตรีได้ผ่านการคัดเลือกจากกองบัญชาการทหารสูงสุดให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโททางการบริหาร  (MANAGEMENT)  ที่เมืองมอนเตอเร รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงทางวิชาการบริหาร[[#_ftn6|[6]]]
                ขณะมียศพันตรีได้ผ่านการคัดเลือกจากกองบัญชาการทหารสูงสุดให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโททางการบริหาร  (MANAGEMENT)  ที่เมืองมอนเตอเร รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงทางวิชาการบริหาร[6]


                ชีวิตครอบครัว[https://th.wikipedia.org/wiki/สมรส สมรส]กับพันตรีหญิง ศิริลักษณ์ เขียวละออ โดยที่ไม่มีบุตรด้วยกัน ภายหลังได้ร่วมกันทำกิจกรรมสังคมทั้งด้านการปฏิบัติธรรม การกิน[https://th.wikipedia.org/wiki/อาหารมังสวิรัติ อาหารมังสวิรัติ] ดูแลสุนัขจรจัด การส่งเสริมไร่นาส่วนผสมแบบธรรมชาติ การฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงจัดตั้ง[https://th.wikipedia.org/wiki/โรงเรียนผู้นำ โรงเรียนผู้นำ] [[#_ftn7|[7]]]
                ชีวิตครอบครัวสมรสกับพันตรีหญิง ศิริลักษณ์ เขียวละออ โดยที่ไม่มีบุตรด้วยกัน ภายหลังได้ร่วมกันทำกิจกรรมสังคมทั้งด้านการปฏิบัติธรรม การกินอาหารมังสวิรัติ ดูแลสุนัขจรจัด การส่งเสริมไร่นาส่วนผสมแบบธรรมชาติ การฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงจัดตั้งโรงเรียนผู้นำ [7]


 
 
บรรทัดที่ 28: บรรทัดที่ 28:
'''ผลงานที่สำคัญ'''
'''ผลงานที่สำคัญ'''


          พลตรีจำลองเริ่มรับราชการ โดยเลือกเหล่าทหารสื่อสาร โดยให้เหตุผลว่า “เลือกเป็นนายทหารเหล่าสื่อสาร เพราะมีโอกาสจะก้าวหน้าเพราะตอนนั้นสหรัฐอเมริกาสนับสนุนกองทัพไทยเต็มที่ มีทุนไปนอกมาก สำหรับทหารราบมีแต่หลักสูตรสั้นๆ เพียงห้าหกเดือนเท่านั้น สู้ทหารสื่อสารไม่ได้ เป็นทหารสื่อสารได้ไม่นาน ก็สอบคัดเลือกไปเรียนเมืองนอก ปีแรกก็ได้ที่ 1 สมดังความตั้งใจ โดยไปเรียนที่นิวเจอร์ซีก่อน แล้วไปต่อที่ มลรัฐจอร์เจีย”[[#_ftn8|[8]]]
          พลตรีจำลองเริ่มรับราชการ โดยเลือกเหล่าทหารสื่อสาร โดยให้เหตุผลว่า “เลือกเป็นนายทหารเหล่าสื่อสาร เพราะมีโอกาสจะก้าวหน้าเพราะตอนนั้นสหรัฐอเมริกาสนับสนุนกองทัพไทยเต็มที่ มีทุนไปนอกมาก สำหรับทหารราบมีแต่หลักสูตรสั้นๆ เพียงห้าหกเดือนเท่านั้น สู้ทหารสื่อสารไม่ได้ เป็นทหารสื่อสารได้ไม่นาน ก็สอบคัดเลือกไปเรียนเมืองนอก ปีแรกก็ได้ที่ 1 สมดังความตั้งใจ โดยไปเรียนที่นิวเจอร์ซีก่อน แล้วไปต่อที่ มลรัฐจอร์เจีย”[8]


          กลับจากต่างประเทศมาประจำกองร้อยทหารสื่อสาร โดยมีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นผู้บังคับกองร้อย ตอนเย็นได้ทำงานพิเศษที่ฝ่ายเทคนิคสถานีโทรทัศน์ กองทัพบกช่อง 5 ได้เงินเดือนพิเศษ เพิ่มอีกเดือนละ 300บาท บางครั้งก็ติดตาม พันเอกการุณ เก่งระดมยิงไปติดตั้งเครื่องถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์
          กลับจากต่างประเทศมาประจำกองร้อยทหารสื่อสาร โดยมีพลเอก [[ชวลิต_ยงใจยุทธ]] เป็นผู้บังคับกองร้อย ตอนเย็นได้ทำงานพิเศษที่ฝ่ายเทคนิคสถานีโทรทัศน์ กองทัพบกช่อง 5 ได้เงินเดือนพิเศษ เพิ่มอีกเดือนละ 300บาท บางครั้งก็ติดตาม [[พันเอกการุณ_เก่งระดม]]ยิงไปติดตั้งเครื่องถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์


          พลตรีจำลองได้ไปปฏิบัติราชการพิเศษในต่างประเทศ  2 แห่ง คือ ในประเทศลาวและเวียดนาม โดยในพ.ศ.2509 ขณะมียศร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยสื่อสาร พลตรีจำลองได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติราชการในประเทศลาว ในกองบังคับการหน่วยผสม 333 โดยเป็นหัวหน้า ทีมแซต-16 ที่ภูผาที [[#_ftn9|[9]]] และเป็นผู้ช่วยหัวหน้ายุทธการกองพลอาสาสมัครไทยในเวียดนาม[[#_ftn10|[10]]]
          พลตรีจำลองได้ไปปฏิบัติราชการพิเศษในต่างประเทศ  2 แห่ง คือ ในประเทศลาวและเวียดนาม โดยในพ.ศ.2509 ขณะมียศร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยสื่อสาร พลตรีจำลองได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติราชการในประเทศลาว ในกองบังคับการหน่วยผสม 333 โดยเป็นหัวหน้า ทีมแซต-16 ที่ภูผาที [9] และเป็นผู้ช่วยหัวหน้ายุทธการกองพลอาสาสมัครไทยในเวียดนาม[10]


          พลตรีจำลองยังมีบทบาทในการตั้งกลุ่มทหารหนุ่มในปลายปี 2516 ต่อต้นปี 2517 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 กองทัพบกตกอยู่ในสภาวะไร้ผู้นำ พลตรีจำลองซึ่งขณะนั้นครองยศพันตรี ประจำกองแผนและโครงการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้หารือกับเพื่อนร่วมรุ่น จปร.7 เช่น พันตรีมนูญ รูปขจร จาก กองพันทหารม้าที่ 4 พันตรีชูพงศ์ มัทวพันธ์ จากกรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ พันตรีชาญบูรณ์ เพ็ญตระกูล จาก กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ พันตรีแสงศักดิ์ มังคละศิริ จากกรมการทหารช่างและพันตรีปรีดี รามสูตร จากกรมกำลังพลทหารบก ก่อตั้งกลุ่มทหารหนุ่มหรือยังเติร์กขึ้น มองว่าสภาพการณ์ทางการเมืองที่กองทัพมีสถานภาพและเกียรติภูมิที่ตกต่ำลง สืบเนื่องจากในอดีตที่ผู้นำกองทัพเข้าไปเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้ามากจนเป็นผลเสียต่อเกียรติภูมิและการพัฒนากองทัพ  ทำให้นายทหารกลุ่มนี้ต้องการที่จะกอบกู้เกียรติภูมิของกองทัพให้กลับคืนมา เพราะนั่นเป็นจุดแรกที่จะทำให้ทหารสามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองได้อีก[[#_ftn11|[11]]]
          พลตรีจำลองยังมีบทบาทในการตั้งกลุ่มทหารหนุ่มในปลายปี 2516 ต่อต้นปี 2517 ภายหลัง[[14_ตุลาคม_พ.ศ._2516|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516]] กองทัพบกตกอยู่ในสภาวะไร้ผู้นำ พลตรีจำลองซึ่งขณะนั้นครองยศพันตรี ประจำกองแผนและโครงการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้หารือกับเพื่อนร่วมรุ่น จปร.7 เช่น พันตรี[[มนูญ_รูปขจร]] จาก กองพันทหารม้าที่ 4 พันตรีชูพงศ์ มัทวพันธ์ จากกรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ พันตรีชาญบูรณ์ เพ็ญตระกูล จาก กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ พันตรีแสงศักดิ์ มังคละศิริ จากกรมการทหารช่างและพันตรีปรีดี รามสูตร จากกรมกำลังพลทหารบก ก่อตั้งกลุ่ม[[ทหารหนุ่ม]]หรือ[[ทหารยังเติร์กกับการเมืองไทย|ยังเติร์ก]]ขึ้น มองว่าสภาพการณ์ทางการเมืองที่กองทัพมีสถานภาพและเกียรติภูมิที่ตกต่ำลง สืบเนื่องจากในอดีตที่ผู้นำกองทัพเข้าไปเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้ามากจนเป็นผลเสียต่อเกียรติภูมิและการพัฒนากองทัพ  ทำให้นายทหารกลุ่มนี้ต้องการที่จะกอบกู้เกียรติภูมิของกองทัพให้กลับคืนมา เพราะนั่นเป็นจุดแรกที่จะทำให้ทหารสามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองได้อีก[11]


          ก่อนเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มทหารหนุ่มได้มีการเคลื่อนไหวทางการเมือง 3 เหตุการณ์ คือ 1.คัดค้านการที่รัฐบาลไทยจะถอนสถานีเรดาร์ ที่เกาะคา จังหวัดลำปาง ในปี 2519 2.เข้าพบนายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชในวันที่ 13 เมษายน 2519 เพื่อคัดค้านการแต่งตั้งพลเอกกฤษณ์ สีวะรา เป็นรัฐมนตรีกลาโหม 3.จัดนิทรรศการประชาธิปไตยในวันที่ 27 มิถุนายน 2519 ที่สนามไชยในวันเดียวกับที่ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยจัดนิทรรศการจีนแดงที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2519 พลตรีจำลองได้แสวงหาความสนับสนุนจากกลุ่มพลังอื่นเพื่อต่อต้าน “กระแสซ้าย” ซึ่งเป็นกระแสที่แรงมากในขณะนั้น [[#_ftn12|[12]]]
          ก่อนเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มทหารหนุ่มได้มีการเคลื่อนไหวทางการเมือง 3 เหตุการณ์ คือ 1.คัดค้านการที่รัฐบาลไทยจะถอนสถานีเรดาร์ ที่เกาะคา จังหวัดลำปาง ในปี 2519 2.เข้าพบนายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์[[เสนีย์_ปราโมช]]ในวันที่ 13 เมษายน 2519 เพื่อคัดค้านการแต่งตั้งพลเอก[[กฤษณ์_สีวะรา]] เป็น[[รัฐมนตรี]]กลาโหม 3.จัดนิทรรศการประชาธิปไตยในวันที่ 27 มิถุนายน 2519 ที่สนามไชยในวันเดียวกับที่[[ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย]]จัดนิทรรศการจีนแดงที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2519 พลตรีจำลองได้แสวงหาความสนับสนุนจากกลุ่มพลังอื่นเพื่อต่อต้าน “กระแสซ้าย” ซึ่งเป็นกระแสที่แรงมากในขณะนั้น [12]


          ในฐานะแกนนำกลุ่มทหารหนุ่ม พลตรีจำลองได้รับการแต่งตั้งเป็นวุฒิสมาชิกระหว่าง พ.ศ. 2522-2526และได้รับการแต่งตั้งจากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีให้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ.2523-2524 และได้มีโอกาสทำงานในคณะกรรมการต่างๆ เช่น กรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ กรรมการสร้างงานในชนบท กรรมการและเลขานุการนโยบายข้าว
          ในฐานะแกนนำกลุ่มทหารหนุ่ม พลตรีจำลองได้รับการแต่งตั้งเป็น[[วุฒิสมาชิก]]ระหว่าง พ.ศ. 2522-2526และได้รับการแต่งตั้งจากพลเอก[[เปรม_ติณสูลานนท์]] [[นายกรัฐมนตรี]]ให้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ.2523-2524 และได้มีโอกาสทำงานในคณะกรรมการต่างๆ เช่น กรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ กรรมการสร้างงานในชนบท กรรมการและเลขานุการนโยบายข้าว


          วันที่  1 ตุลาคม  2528 หลังจากได้รับพระราชทานยศพลตรีได้เพียง 2 วัน พลตรีจำลองได้ลาออกจากราชการเพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในนามกลุ่มรวมพลัง ได้รับเลือกเป็นผู้ว่ากรุงเทพมหานครด้วยคะแนนเสียง 408,233 คะแนน โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่  17  พฤศจิกายน  2528  ถึง 14  พฤศจิกายน  2532
          วันที่  1 ตุลาคม  2528 หลังจากได้รับพระราชทานยศพลตรีได้เพียง 2 วัน พลตรีจำลองได้ลาออกจากราชการเพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งเป็น[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในนาม[[กลุ่มรวมพลัง|กลุ่มรวมพลัง ]]ได้รับเลือกเป็นผู้ว่ากรุงเทพมหานครด้วยคะแนนเสียง 408,233 คะแนน โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่  17  พฤศจิกายน  2528  ถึง 14  พฤศจิกายน  2532


          ในปี พ.ศ.2531 พลตรีจำลองได้ตั้งพรรคพลังธรรม โดยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค สมาชิกก่อตั้งส่วนใหญ่มาจากกลุ่มสันติอโศก[[#_ftn13|[13]]]และลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่ากรุงเทพมหานครครั้งที่ 2 ใน พ.ศ.2533 โดยชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนน 703,671 คะแนน โดยในสมัยที่ 2 ได้ดำรงตำแหน่งเพียง 2 ปี พลตรีจำลองได้ลาออกในเดือน มีนาคม 2535 เพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและพรรคพลังธรรมได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 41 ที่นั่ง[[#_ftn14|[14]]] โดยชนะการเลือกตั้งในกรุงเทพมหานครถึง 32 คนจากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด 35 คน[[#_ftn15|[15]]]
          ในปี พ.ศ.2531 พลตรีจำลองได้ตั้งพรรค[[พลังธรรม_(พ.ศ._2531)|พลังธรรม]] โดยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค สมาชิกก่อตั้งส่วนใหญ่มาจากกลุ่มสันติอโศก[13]และลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่ากรุงเทพมหานครครั้งที่ 2 ใน พ.ศ.2533 โดยชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนน 703,671 คะแนน โดยในสมัยที่ 2 ได้ดำรงตำแหน่งเพียง 2 ปี พลตรีจำลองได้ลาออกในเดือน มีนาคม 2535 เพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและพรรคพลังธรรมได้รับการเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]จำนวน 41 ที่นั่ง[14] โดยชนะการเลือกตั้งในกรุงเทพมหานครถึง 32 คนจากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด 35 คน[15]


          ภายหลังจากที่พลเอกสุจินดา คราประยูร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535 ท่ามกลางกระแสเรียกร้อง "นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง"ทำให้มีประชาชนมาชุมนุมประท้วง โดยเริ่มจากการ อดข้าวของเรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2535 ในช่วงเช้าของวันที่ 9 เมษายน พรรคพลังธรรม ได้แถลงข่าวที่รัฐสภา คัดค้านนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง และในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2535 พลตรีจำลองได้ประกาศอดข้าวประท้วง [[#_ftn16|[16]]]
          ภายหลังจากที่พลเอก[[สุจินดา_คราประยูร]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535 ท่ามกลางกระแสเรียกร้อง "นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง"ทำให้มีประชาชนมาชุมนุม[[ประท้วง]] โดยเริ่มจากการ อดข้าวของเรืออากาศตรี[[ฉลาด_วรฉัตร]] ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2535 ในช่วงเช้าของวันที่ 9 เมษายน พรรคพลังธรรม ได้แถลงข่าวที่[[รัฐสภา]] คัดค้านนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง และในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2535 พลตรีจำลองได้ประกาศอดข้าวประท้วง [16]


          วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2535 พลตรีจำลองได้ขอมติผู้ชุมนุมเพื่อยุติการอดข้าวประท้วงและมาเป็นแกนนำผู้ชุมนุมพร้อมกับการลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังธรรม[[#_ftn17|[17]]] การชุมนุมทวีความรุนแรงมากขึ้น และพลตรีจำลองถูกจับกุมในบ่ายวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2535ในระหว่างสลายการชุมนุม[[#_ftn18|[18]]]
          วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2535 พลตรีจำลองได้ขอมติผู้ชุมนุมเพื่อยุติการอดข้าวประท้วงและมาเป็นแกนนำผู้ชุมนุมพร้อมกับการลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังธรรม[17] การชุมนุม[[ทวีความรุนแรง]]มากขึ้น และพลตรีจำลองถูกจับกุมในบ่ายวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2535ในระหว่างสลายการชุมนุม[18]


          วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9  พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ ประธานองคมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ องคมนตรีและรัฐบุรุษ นำพลเอกสุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรี และพลตรีจำลอง ศรีเมือง เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อยุติการชุมนุม[[#_ftn19|[19]]] โดยพลเอกสุจินดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลาต่อมาและนายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและให้มีการยุบสภาผู้แทนราษฎร
          วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9  พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์ [[สัญญา_ธรรมศักดิ์]] ประธาน[[คณะองคมนตรี|องคมนตรี]] พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ องคมนตรีและ[[รัฐบุรุษ]] นำพลเอกสุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรี และพลตรีจำลอง ศรีเมือง เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อยุติการชุมนุม[19] โดยพลเอกสุจินดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลาต่อมาและนาย[[อานันท์_ปันยารชุน]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและให้มีการ[[ยุบสภา]]ผู้แทนราษฎร


          การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคพลังธรรมได้รับการเลือกตั้งจำนวน 46 ที่นั่ง[[#_ftn20|[20]]] นายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ต่อมาเมื่อเกิดกรณีการมอบเอกสารสิทธิ์ สปก. 4-01 จังหวัดภูเก็ต พรรคร่วมฝ่ายค้านได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีทั้งคณะในวันที่ 17-18 พฤษภาคม 2538 และมีการลงมติในวันที่ 19 พฤษภาคม 2538 พรรคพลังธรรมได้มีมติงดออกเสียงโดยรัฐมนตรีของพรรคทุกคนจะลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลว่ารัฐบาลก่อนการเลือกตั้งไม่สามารถชี้แจงข้อกล่าวหาของพรรคฝ่ายค้านให้ชัดเจนได้จึงเป็นเหตุที่ทำให้นายกรัฐมนตรีได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร[[#_ftn21|[21]]]
          [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป]] กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคพลังธรรมได้รับการเลือกตั้งจำนวน 46 ที่นั่ง[20] นาย[[ชวน_หลีกภัย|ชวน หลีกภัย ]]ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ต่อมาเมื่อเกิดกรณีการมอบเอกสารสิทธิ์ สปก. 4-01 จังหวัดภูเก็ต [[พรรคร่วมฝ่ายค้าน]]ได้ยื่น[[ญัตติ]]ขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีทั้งคณะในวันที่ 17-18 พฤษภาคม 2538 และมี[[การลงมติ]]ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2538 พรรคพลังธรรมได้มีมติ[[งดออกเสียง]]โดยรัฐมนตรีของพรรคทุกคนจะลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลว่ารัฐบาลก่อนการเลือกตั้งไม่สามารถชี้แจงข้อกล่าวหาของพรรคฝ่ายค้านให้ชัดเจนได้จึงเป็นเหตุที่ทำให้นายกรัฐมนตรีได้ประกาศ[[ยุบสภา]]ผู้แทนราษฎร[21]


          พ.ศ. 2539 ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นสมัยที่ 3 ผลปรากฎว่า นายพิจิตต รัตตกุลได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน[[#_ftn22|[22]]] เป้นผู้แพ้การเลือกตั้ง
          พ.ศ. 2539 ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นสมัยที่ 3 ผลปรากฎว่า นาย[[พิจิตต_รัตตกุล]]ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน[22] เป้นผู้แพ้การเลือกตั้ง


          หลังจากนั้นพลตรีจำลองมีบทบาทในทางการเมืองน้อยลง  จนกระทั่งมีการชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องกดดันให้ ดร.ทักษิณ ชินวัตรลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 พลตรีจำลองได้เข้ามาเป็นแกนนำของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอันได้แก่ นายสนธิ ลิ้มทองกุล นายสมศักดิ์ โกศัยสุข นายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ และนายพิภพ ธงไชย ต่อมากลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องกดดันให้นายสมัคร สุนทรเวชและนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ.2551 [[#_ftn23|[23]]]  ด้วย
          หลังจากนั้นพลตรีจำลองมีบทบาทในทางการเมืองน้อยลง  จนกระทั่งมีการชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องกดดันให้ ดร.[[ทักษิณ_ชินวัตร]]ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยก่อตั้ง[[กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 พลตรีจำลองได้เข้ามาเป็นแกนนำของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอันได้แก่ นาย[[สนธิ_ลิ้มทองกุล]] นาย[[สมศักดิ์_โกศัยสุข]] นาย[[สมเกียรติ_พงษ์ไพบูลย์]] และนาย[[พิภพ_ธงไชย]] ต่อมากลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องกดดันให้นาย[[สมัคร_สุนทรเวช]]และนาย[[สมชาย_วงศ์สวัสดิ์]]ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ.2551 [23]  ด้วย


 
 
บรรทัดที่ 64: บรรทัดที่ 64:
                ปี 2535 ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาการให้บริการของรัฐ (GOVERNMENT SERVICE) ซึ่งได้รับการพิจารณาในขณะดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 
                ปี 2535 ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาการให้บริการของรัฐ (GOVERNMENT SERVICE) ซึ่งได้รับการพิจารณาในขณะดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 


                งานเขียนของพลตรีจำลอง  ศรีเมือง คือ  หนังสือทางสามแพร่งเล่ม 1 ทางสามแพร่งเล่ม 2 ทางสามแพร่งเล่ม 3 และหนังสือร่วมกันสู้ [[#_ftn24|[24]]]
                งานเขียนของพลตรีจำลอง  ศรีเมือง คือ  หนังสือทางสามแพร่งเล่ม 1 ทางสามแพร่งเล่ม 2 ทางสามแพร่งเล่ม 3 และหนังสือร่วมกันสู้ [24]


 
 
บรรทัดที่ 72: บรรทัดที่ 72:
จำลอง ศรีเมือง,'''นิยายภาพ “ชีวิตจำลอง”,''' (กรุงเทพฯ: มูลนิธิจำลอง,2538), หน้า จ-ซ
จำลอง ศรีเมือง,'''นิยายภาพ “ชีวิตจำลอง”,''' (กรุงเทพฯ: มูลนิธิจำลอง,2538), หน้า จ-ซ


บัญชร ชวาลศิลป์, กว่าจะเป็นนายพล (ก้าวที่ 2), (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2553).
บัญชร ชวาลศิลป์, กว่าจะเป็นนายพล (ก้าวที่ 2), (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2553).


ผู้จัดการออนไลน์,'''สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร วันที่ 2 มิถุนายน 2539''', เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx] [https://th.wikipedia.org/wiki/%20เมื่อ  เมื่อ]วันที่  24  กรกฎาคม  2559.
ผู้จัดการออนไลน์,'''สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร วันที่ 2 มิถุนายน 2539''', เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx]  เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.


สถาบันพระปกเกล้า,'''สปก.4-01,'''เข้าถึงจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก. _4-01 เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.
สถาบันพระปกเกล้า,'''สปก.4-01,'''เข้าถึงจาก [http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก]. _4-01 เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.


สถาบันพระปกเกล้า,'''พลังธรรม (พ.ศ. 2531),'''เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.
สถาบันพระปกเกล้า,'''พลังธรรม (พ.ศ. 2531),'''เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.


วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี,'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535''', เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535[https://th.wikipedia.org/wiki/%20เมื่อ เมื่อ]วันที่  24  กรกฎาคม  2559.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี,'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535''', เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535เมื่อวันที่ https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535เมื่อวันที่]  24  กรกฎาคม  2559.


อุเชนทร์ เชียงเสน, '''พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย''',เข้าถึงจาก /index.php/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, [https://th.wikipedia.org/wiki/%20เมื่อ เมื่อ]วันที่ 24 กรกฎาคม 2559.24 กรกฎาคม 2559.         
อุเชนทร์ เชียงเสน, '''พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย''',เข้าถึงจาก /index.php/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2559.24 กรกฎาคม 2559.         


จำลอง ศรีเมือง. '''นายร้อยห้อยกระบี่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/ http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/]Book/jumlonglife/jl08.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
จำลอง ศรีเมือง. '''นายร้อยห้อยกระบี่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559


จำลอง ศรีเมือง.'''ไม่ถึงคราว''',เข้าถึงจาก  http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
จำลอง ศรีเมือง.'''ไม่ถึงคราว''',เข้าถึงจาก  [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559


จำลอง ศรีเมือง.'''สมใจนึก''',เข้าถึงจาก  http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
จำลอง ศรีเมือง.'''สมใจนึก''',เข้าถึงจาก  [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
<div>'''อ้างอิง'''  
<div>'''อ้างอิง'''  
----
----
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]]จำลอง ศรีเมือง,'''นิยายภาพ “ชีวิตจำลอง”,''' (กรุงเทพฯ: มูลนิธิจำลอง,2538), หน้า จ-ซ
[1]จำลอง ศรีเมือง,'''นิยายภาพ “ชีวิตจำลอง”,''' (กรุงเทพฯ: มูลนิธิจำลอง,2538), หน้า จ-ซ
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ
[2] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] จำลอง ศรีเมือง. '''นายร้อยห้อยกระบี่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/ http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/]Book/jumlonglife/jl08.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
[3] จำลอง ศรีเมือง. '''นายร้อยห้อยกระบี่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] จำลอง ศรีเมือง, หน้า จ-ซ
[4] จำลอง ศรีเมือง, หน้า จ-ซ
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] จำลอง ศรีเมือง. '''นายร้อยห้อยกระบี่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/ http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/]Book/jumlonglife/jl08.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
[5] จำลอง ศรีเมือง. '''นายร้อยห้อยกระบี่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]]จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ
[6]จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]]จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ
[7]จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] จำลอง ศรีเมือง.'''นายทหารใหม่''',เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl09.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
[8] จำลอง ศรีเมือง.'''นายทหารใหม่''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl09.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl09.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] จำลอง ศรีเมือง.'''ไม่ถึงคราว''',เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
[9] จำลอง ศรีเมือง.'''ไม่ถึงคราว''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]]จำลอง ศรีเมือง.'''สมใจนึก''',เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
[10]จำลอง ศรีเมือง.'''สมใจนึก''',เข้าถึงจาก [http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html], เมื่อ 15 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] บัญชร ชวาลศิลป์, กว่าจะเป็นนายพล (ก้าวที่ 2), (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2553), หน้า 170-171.
[11] บัญชร ชวาลศิลป์, กว่าจะเป็นนายพล (ก้าวที่ 2), (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน,2553), หน้า 170-171.
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] บัญชร ชวาลศิลป์, หน้า 172 - 173.
[12] บัญชร ชวาลศิลป์, หน้า 172 - 173.
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] สถาบันพระปกเกล้า,'''พลังธรรม (พ.ศ. 2531),'''เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
[13] สถาบันพระปกเกล้า,'''พลังธรรม (พ.ศ. 2531),'''เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
</div> <div id="ftn14">
</div> <div id="ftn14">
[[#_ftnref14|[14]]] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ.
[14] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ.
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] สถาบันพระปกเกล้า,'''พลังธรรม (พ.ศ. 2531),'''เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
[15] สถาบันพระปกเกล้า,'''พลังธรรม (พ.ศ. 2531),'''เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
</div> <div id="ftn16">
</div> <div id="ftn16">
[[#_ftnref16|[16]]] จำลอง ศรีเมือง,'''ร่วมกันสู้,''' (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธีระการพิมพ์, 2535 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 50, 75.
[16] จำลอง ศรีเมือง,'''ร่วมกันสู้,''' (กรุงเทพฯ&nbsp;: โรงพิมพ์ธีระการพิมพ์, 2535 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 50, 75.
</div> <div id="ftn17">
</div> <div id="ftn17">
[[#_ftnref17|[17]]] จำลอง ศรีเมือง,หน้า&nbsp; 111.
[17] จำลอง ศรีเมือง,หน้า&nbsp; 111.
</div> <div id="ftn18">
</div> <div id="ftn18">
[[#_ftnref18|[18]]] จำลอง ศรีเมือง,หน้า&nbsp; 111.
[18] จำลอง ศรีเมือง,หน้า&nbsp; 111.
</div> <div id="ftn19">
</div> <div id="ftn19">
[[#_ftnref19|[19]]] จำลอง ศรีเมือง,หน้า&nbsp; 188.
[19] จำลอง ศรีเมือง,หน้า&nbsp; 188.
</div> <div id="ftn20">
</div> <div id="ftn20">
[[#_ftnref20|[20]]] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี,'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535''', เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535[https://th.wikipedia.org/wiki/%20เมื่อ เมื่อ]วันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
[20] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี,'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535''', เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535เมื่อวันที่ https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535เมื่อวันที่]&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
</div> <div id="ftn21">
</div> <div id="ftn21">
[[#_ftnref21|[21]]] สถาบันพระปกเกล้า,'''สปก.4-01,'''เข้าถึงจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก. _4-01 เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
[21] สถาบันพระปกเกล้า,'''สปก.4-01,'''เข้าถึงจาก [http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก]. _4-01 เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
</div> <div id="ftn22">
</div> <div id="ftn22">
[[#_ftnref22|[22]]] ผู้จัดการออนไลน์,'''สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร วันที่ 2 มิถุนายน 2539''', เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx] [https://th.wikipedia.org/wiki/%20เมื่อ &nbsp;เมื่อ]วันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
[22] ผู้จัดการออนไลน์,'''สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร วันที่ 2 มิถุนายน 2539''', เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx] &nbsp;เมื่อวันที่&nbsp; 24&nbsp; กรกฎาคม&nbsp; 2559.
</div> <div id="ftn23">
</div> <div id="ftn23">
[[#_ftnref23|[23]]] อุเชนทร์ เชียงเสน, '''พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย''',เข้าถึงจาก /index.php/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, [https://th.wikipedia.org/wiki/%20เมื่อ เมื่อ]วันที่ 24 กรกฎาคม 2559.24 กรกฎาคม 2559.
[23] อุเชนทร์ เชียงเสน, '''พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย''',เข้าถึงจาก /index.php/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2559.24 กรกฎาคม 2559.
</div> <div id="ftn24">
</div> <div id="ftn24">
[[#_ftnref24|[24]]] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ.
[24] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ.
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:29, 4 กรกฎาคม 2561

ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์

 ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


พลตรีจำลอง  ศรีเมือง

                พลตรีจำลอง ศรีเมือง อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคพลังธรรม เป็นแกนนำกลุ่มทหารหนุ่มหรือยังเติร์ก แกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี พ.ศ. 2535และแกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา     

ประวัติ

                พลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เกิดเมื่อวันที่  5  กรกฎาคม  พ.ศ.2478  ที่บริเวณซึ่งปัจจุบันเป็นโรงพยาบาลทหารเรือถนนตากสิน  แขวงบุคคโล  เขตธนบุรี  เป็นบุตรของนายฮะเสียว  แซ่โล้วหรือนายสมนึก  ชุนรัตน์  เป็นชาวจีนมีอาชีพขายปลาอยู่ที่ตลาดเจริญพาสน์  ฝั่งธนบุรี  มารดาชื่อนางบุญเรือน  เป็นแม่ค้าหาบเร่หาบของจากฝั่งธนบุรีไปขายยังฝั่งพระนคร  บิดาได้เสียชีวิตลงตั้งแต่พลตรีจำลองยังเป็นเด็กแบเบาะ  ต่อมามารดาได้แต่งงานใหม่กับนายโชตน์  ศรีเมืองซึ่งมีอาชีพเป็นบุรุษไปรษณีย์  ซึ่งได้รับพลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เป็นบุตรบุญธรรม จึงทำให้พลตรีจำลองใช้นามสกุล “ศรีเมือง”[1]

                พลตรีจำลองเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนเทศบาล 27  วัดราชวรินทร์  สำเหร่  ซึ่งปัจจุบันคือโรงเรียนวัดราชวรินทร์  สังกัดกรุงเทพมหานครจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่อปี พ.ศ.2490 จึงได้สอบคัดเลือกเข้าโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยาซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของฝั่งธนบุรีในขณะนั้น โดยสามารถสอบคัดเลือกได้ที่ 1  และสามารถสอบไล่ได้ที่ 1  ทุกปีจนจบระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6  เมื่อปี พ.ศ. 2496 พลตรีจำลอง  ศรีเมืองได้สอบเข้าระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสวนกุหลาบ โรงเรียนเตรียมนายร้อยและโรงเรียนเตรียมนายเรือ  ซึ่งพลตรีจำลอง  ศรีเมืองสามารถสอบเข้าได้ทั้ง 3 แห่ง  โดยเฉพาะที่โรงเรียนสวนกุหลาบสามารถสอบเข้าได้ที่ 1  แต่ด้วยการเรียนที่โรงเรียนเตรียมนายร้อยจะประหยัดกว่า เพราะเป็นนักเรียนนายร้อยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งค่าเล่าเรียน  ค่าอาหาร ค่าเครื่องแต่งกาย  รวมถึงถ้าเรียนเก่งก็จะได้รับเงินเดือนด้วย  พลตรีจำลอง  ศรีเมือง จึงเลือกเข้าศึกษาที่โรงเรียนเตรียมนายร้อยและต่อด้วยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า  รุ่นที่ 7[2]

                ระหว่างที่พลตรีจำลอง  ศรีเมืองเป็นนายร้อยชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2  สอบได้ที่ 1 ติดต่อกัน  2  ปีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็น  “หัวหน้าตอน”  และได้รับเงินเดือน ๆ ละ  105  บาท หลังจากนั้นพลตรีจำลอง  ศรีเมือง  ก็สามารถสอบไล่ได้ในอันดับที่ 1  ที่ 2  และที่ 3  สลับกัน  จนได้รับเกียรติจารึกในโล่เกียรติยศของโรงเรียน[3]

                เมื่อพลตรีจำลอง  ศรีเมืองเป็นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่ 5  ได้รับการคัดเลือกจากคณาจารย์  ผู้บังคับบัญชาและนักเรียนนายร้อยให้รับตำแหน่ง “ หัวหน้านักเรียนนายร้อย”  มีอำนาจปกครองบังคับบัญชานักเรียนนายร้อยทั้งโรงเรียน  ได้รับเงินเดือนๆ ละ  240  บาท[4] ในระหว่างที่เป็นหัวหน้านักเรียนได้เกิดเหตุการณ์สำคัญขึ้นเมื่อคณะกรรมการจัดงานหาทุนซื้อเครื่องดนตรี เครื่องกีฬาได้จัดฉายภาพยนตร์รอบพิเศษ เรื่อง “สลี้บปิ้งบิวตี้”ที่ศาลาเฉลิมไทย โดยกำไรทั้งหมดจะนำมาซื้อเครื่องดนตรี เครื่องกีฬา และวิทยุเครื่องใหญ่มอบให้กับสโมสรนักเรียนนายร้อย ซึ่งโรงเรียนนายร้อยฯได้ออกหนังสือชมเชยว่าประกอบคุณงามความดีให้กับโรงเรียน แต่ในบ่ายวันเดียวกันโรงเรียนได้มีคำสั่งปลดพลตรีจำลองและกรรมการทุกคนออกจากตำแหน่งนักเรียนผู้บังคับบัญชามาเป็นนักเรียนลูกแถว เหตุเพราะจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบกได้เคยออกคำสั่งห้ามนักเรียนนายร้อยจัดฉายหนังรอบพิเศษ แต่โดยเหตุที่พลตรีจำลองมีผลการเรียนดีเด่นและมีความประพฤติดี จึงถูกลงโทษโดยให้รับกระบี่หลังจบ 3 เดือน พลตรีจำลองได้บรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไว้ว่า “เมื่อเกิดเรื่องขึ้นมา จอมพลสฤษดิ์ท่านเห็นใจ ฝากพระกริ่ง ผ่านอนุศาสนาจารย์ ไปให้พวกเรา คนละองค์ เพื่อปลอบใจ และให้บำเหน็จพิเศษ คนละขั้น ซึ่งที่จริง จะต้องงด บำเหน็จ เพราะออกรับกระบี่หลังเพื่อนๆ ทำงานไม่เต็มปีเคยใหญ่ที่สุด ต้องกลับมาเล็กที่สุด มาเป็นลูกแถว เพื่อนจบ เป็นนายทหารไปแล้ว เราต้องเป็น นักเรียนถูกแถว ต่ออีกถึง 3 เดือน เพื่อนได้เงินเดือน 1,050บาท ผมและคณะ ได้เบี้ยเลี้ยงวันละ 10 บาท เดือนกุมภาพันธ์ปีนั้น เกิดมี 28 วัน เลยได้แค่ 280 บาทเหมือนกัน เมื่อครบกำหนดโทษ พวกเราทั้ง 10 คน รับกระบี่อย่างเงียบๆ เศร้าซึมๆ จากรองผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อย รับเสร็จแล้วก็เดินลงบันใดไป ไม่มีใครไปแสดงความยินดี ไม่มีพิธีฉลองกระบี่”[5]

                ขณะมียศพันตรีได้ผ่านการคัดเลือกจากกองบัญชาการทหารสูงสุดให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโททางการบริหาร  (MANAGEMENT)  ที่เมืองมอนเตอเร รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงทางวิชาการบริหาร[6]

                ชีวิตครอบครัวสมรสกับพันตรีหญิง ศิริลักษณ์ เขียวละออ โดยที่ไม่มีบุตรด้วยกัน ภายหลังได้ร่วมกันทำกิจกรรมสังคมทั้งด้านการปฏิบัติธรรม การกินอาหารมังสวิรัติ ดูแลสุนัขจรจัด การส่งเสริมไร่นาส่วนผสมแบบธรรมชาติ การฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงจัดตั้งโรงเรียนผู้นำ [7]

 

ผลงานที่สำคัญ

          พลตรีจำลองเริ่มรับราชการ โดยเลือกเหล่าทหารสื่อสาร โดยให้เหตุผลว่า “เลือกเป็นนายทหารเหล่าสื่อสาร เพราะมีโอกาสจะก้าวหน้าเพราะตอนนั้นสหรัฐอเมริกาสนับสนุนกองทัพไทยเต็มที่ มีทุนไปนอกมาก สำหรับทหารราบมีแต่หลักสูตรสั้นๆ เพียงห้าหกเดือนเท่านั้น สู้ทหารสื่อสารไม่ได้ เป็นทหารสื่อสารได้ไม่นาน ก็สอบคัดเลือกไปเรียนเมืองนอก ปีแรกก็ได้ที่ 1 สมดังความตั้งใจ โดยไปเรียนที่นิวเจอร์ซีก่อน แล้วไปต่อที่ มลรัฐจอร์เจีย”[8]

          กลับจากต่างประเทศมาประจำกองร้อยทหารสื่อสาร โดยมีพลเอก ชวลิต_ยงใจยุทธ เป็นผู้บังคับกองร้อย ตอนเย็นได้ทำงานพิเศษที่ฝ่ายเทคนิคสถานีโทรทัศน์ กองทัพบกช่อง 5 ได้เงินเดือนพิเศษ เพิ่มอีกเดือนละ 300บาท บางครั้งก็ติดตาม พันเอกการุณ_เก่งระดมยิงไปติดตั้งเครื่องถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์

          พลตรีจำลองได้ไปปฏิบัติราชการพิเศษในต่างประเทศ  2 แห่ง คือ ในประเทศลาวและเวียดนาม โดยในพ.ศ.2509 ขณะมียศร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยสื่อสาร พลตรีจำลองได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติราชการในประเทศลาว ในกองบังคับการหน่วยผสม 333 โดยเป็นหัวหน้า ทีมแซต-16 ที่ภูผาที [9] และเป็นผู้ช่วยหัวหน้ายุทธการกองพลอาสาสมัครไทยในเวียดนาม[10]

          พลตรีจำลองยังมีบทบาทในการตั้งกลุ่มทหารหนุ่มในปลายปี 2516 ต่อต้นปี 2517 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 กองทัพบกตกอยู่ในสภาวะไร้ผู้นำ พลตรีจำลองซึ่งขณะนั้นครองยศพันตรี ประจำกองแผนและโครงการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้หารือกับเพื่อนร่วมรุ่น จปร.7 เช่น พันตรีมนูญ_รูปขจร จาก กองพันทหารม้าที่ 4 พันตรีชูพงศ์ มัทวพันธ์ จากกรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ พันตรีชาญบูรณ์ เพ็ญตระกูล จาก กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ พันตรีแสงศักดิ์ มังคละศิริ จากกรมการทหารช่างและพันตรีปรีดี รามสูตร จากกรมกำลังพลทหารบก ก่อตั้งกลุ่มทหารหนุ่มหรือยังเติร์กขึ้น มองว่าสภาพการณ์ทางการเมืองที่กองทัพมีสถานภาพและเกียรติภูมิที่ตกต่ำลง สืบเนื่องจากในอดีตที่ผู้นำกองทัพเข้าไปเกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้ามากจนเป็นผลเสียต่อเกียรติภูมิและการพัฒนากองทัพ  ทำให้นายทหารกลุ่มนี้ต้องการที่จะกอบกู้เกียรติภูมิของกองทัพให้กลับคืนมา เพราะนั่นเป็นจุดแรกที่จะทำให้ทหารสามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองได้อีก[11]

          ก่อนเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มทหารหนุ่มได้มีการเคลื่อนไหวทางการเมือง 3 เหตุการณ์ คือ 1.คัดค้านการที่รัฐบาลไทยจะถอนสถานีเรดาร์ ที่เกาะคา จังหวัดลำปาง ในปี 2519 2.เข้าพบนายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์_ปราโมชในวันที่ 13 เมษายน 2519 เพื่อคัดค้านการแต่งตั้งพลเอกกฤษณ์_สีวะรา เป็นรัฐมนตรีกลาโหม 3.จัดนิทรรศการประชาธิปไตยในวันที่ 27 มิถุนายน 2519 ที่สนามไชยในวันเดียวกับที่ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยจัดนิทรรศการจีนแดงที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2519 พลตรีจำลองได้แสวงหาความสนับสนุนจากกลุ่มพลังอื่นเพื่อต่อต้าน “กระแสซ้าย” ซึ่งเป็นกระแสที่แรงมากในขณะนั้น [12]

          ในฐานะแกนนำกลุ่มทหารหนุ่ม พลตรีจำลองได้รับการแต่งตั้งเป็นวุฒิสมาชิกระหว่าง พ.ศ. 2522-2526และได้รับการแต่งตั้งจากพลเอกเปรม_ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีให้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ.2523-2524 และได้มีโอกาสทำงานในคณะกรรมการต่างๆ เช่น กรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ กรรมการสร้างงานในชนบท กรรมการและเลขานุการนโยบายข้าว

          วันที่  1 ตุลาคม  2528 หลังจากได้รับพระราชทานยศพลตรีได้เพียง 2 วัน พลตรีจำลองได้ลาออกจากราชการเพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในนามกลุ่มรวมพลัง ได้รับเลือกเป็นผู้ว่ากรุงเทพมหานครด้วยคะแนนเสียง 408,233 คะแนน โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่  17  พฤศจิกายน  2528  ถึง 14  พฤศจิกายน  2532

          ในปี พ.ศ.2531 พลตรีจำลองได้ตั้งพรรคพลังธรรม โดยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค สมาชิกก่อตั้งส่วนใหญ่มาจากกลุ่มสันติอโศก[13]และลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่ากรุงเทพมหานครครั้งที่ 2 ใน พ.ศ.2533 โดยชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนน 703,671 คะแนน โดยในสมัยที่ 2 ได้ดำรงตำแหน่งเพียง 2 ปี พลตรีจำลองได้ลาออกในเดือน มีนาคม 2535 เพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและพรรคพลังธรรมได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 41 ที่นั่ง[14] โดยชนะการเลือกตั้งในกรุงเทพมหานครถึง 32 คนจากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด 35 คน[15]

          ภายหลังจากที่พลเอกสุจินดา_คราประยูร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535 ท่ามกลางกระแสเรียกร้อง "นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง"ทำให้มีประชาชนมาชุมนุมประท้วง โดยเริ่มจากการ อดข้าวของเรืออากาศตรีฉลาด_วรฉัตร ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2535 ในช่วงเช้าของวันที่ 9 เมษายน พรรคพลังธรรม ได้แถลงข่าวที่รัฐสภา คัดค้านนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง และในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2535 พลตรีจำลองได้ประกาศอดข้าวประท้วง [16]

          วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2535 พลตรีจำลองได้ขอมติผู้ชุมนุมเพื่อยุติการอดข้าวประท้วงและมาเป็นแกนนำผู้ชุมนุมพร้อมกับการลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังธรรม[17] การชุมนุมทวีความรุนแรงมากขึ้น และพลตรีจำลองถูกจับกุมในบ่ายวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2535ในระหว่างสลายการชุมนุม[18]

          วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9  พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์ สัญญา_ธรรมศักดิ์ ประธานองคมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ องคมนตรีและรัฐบุรุษ นำพลเอกสุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรี และพลตรีจำลอง ศรีเมือง เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อยุติการชุมนุม[19] โดยพลเอกสุจินดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลาต่อมาและนายอานันท์_ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและให้มีการยุบสภาผู้แทนราษฎร

          การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคพลังธรรมได้รับการเลือกตั้งจำนวน 46 ที่นั่ง[20] นายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ต่อมาเมื่อเกิดกรณีการมอบเอกสารสิทธิ์ สปก. 4-01 จังหวัดภูเก็ต พรรคร่วมฝ่ายค้านได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีทั้งคณะในวันที่ 17-18 พฤษภาคม 2538 และมีการลงมติในวันที่ 19 พฤษภาคม 2538 พรรคพลังธรรมได้มีมติงดออกเสียงโดยรัฐมนตรีของพรรคทุกคนจะลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลว่ารัฐบาลก่อนการเลือกตั้งไม่สามารถชี้แจงข้อกล่าวหาของพรรคฝ่ายค้านให้ชัดเจนได้จึงเป็นเหตุที่ทำให้นายกรัฐมนตรีได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร[21]

          พ.ศ. 2539 ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นสมัยที่ 3 ผลปรากฎว่า นายพิจิตต_รัตตกุลได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน[22] เป้นผู้แพ้การเลือกตั้ง

          หลังจากนั้นพลตรีจำลองมีบทบาทในทางการเมืองน้อยลง  จนกระทั่งมีการชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องกดดันให้ ดร.ทักษิณ_ชินวัตรลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 พลตรีจำลองได้เข้ามาเป็นแกนนำของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอันได้แก่ นายสนธิ_ลิ้มทองกุล นายสมศักดิ์_โกศัยสุข นายสมเกียรติ_พงษ์ไพบูลย์ และนายพิภพ_ธงไชย ต่อมากลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องกดดันให้นายสมัคร_สุนทรเวชและนายสมชาย_วงศ์สวัสดิ์ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ.2551 [23]  ด้วย

 

ผลงานอื่นๆ

                พลตรีจำลอง  ศรีเมือง  เคยได้รับรางวัลดีเด่นทั้งในประเทศและต่างประเทศ  เช่น เป็นบุคคลแห่งปี  รางวัลกิตติคุณสัมพันธ์  “สังข์เงิน”  รางวัลนักสิ่งแวดล้อมดีเด่น  และรางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น  เป็นต้น

                ปี 2535 ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาการให้บริการของรัฐ (GOVERNMENT SERVICE) ซึ่งได้รับการพิจารณาในขณะดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 

                งานเขียนของพลตรีจำลอง  ศรีเมือง คือ  หนังสือทางสามแพร่งเล่ม 1 ทางสามแพร่งเล่ม 2 ทางสามแพร่งเล่ม 3 และหนังสือร่วมกันสู้ [24]

 

บรรณานุกรม

จำลอง ศรีเมือง,นิยายภาพ “ชีวิตจำลอง”, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิจำลอง,2538), หน้า จ-ซ

บัญชร ชวาลศิลป์, กว่าจะเป็นนายพล (ก้าวที่ 2), (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2553).

ผู้จัดการออนไลน์,สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร วันที่ 2 มิถุนายน 2539, เข้าถึงจาก http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx  เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

สถาบันพระปกเกล้า,สปก.4-01,เข้าถึงจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก. _4-01 เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

สถาบันพระปกเกล้า,พลังธรรม (พ.ศ. 2531),เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี,การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535, เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

อุเชนทร์ เชียงเสน, พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย,เข้าถึงจาก /index.php/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2559.24 กรกฎาคม 2559.         

จำลอง ศรีเมือง. นายร้อยห้อยกระบี่,เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

จำลอง ศรีเมือง.ไม่ถึงคราว,เข้าถึงจาก  http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

จำลอง ศรีเมือง.สมใจนึก,เข้าถึงจาก  http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

อ้างอิง

[1]จำลอง ศรีเมือง,นิยายภาพ “ชีวิตจำลอง”, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิจำลอง,2538), หน้า จ-ซ

[2] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ

[3] จำลอง ศรีเมือง. นายร้อยห้อยกระบี่,เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

[4] จำลอง ศรีเมือง, หน้า จ-ซ

[5] จำลอง ศรีเมือง. นายร้อยห้อยกระบี่,เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl08.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

[6]จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ

[7]จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ

[8] จำลอง ศรีเมือง.นายทหารใหม่,เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl09.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

[9] จำลอง ศรีเมือง.ไม่ถึงคราว,เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl10.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

[10]จำลอง ศรีเมือง.สมใจนึก,เข้าถึงจาก http://www.asoke.info/09Communication/DharmaPublicize/Book/jumlonglife/jl11.html, เมื่อ 15 มิถุนายน 2559

[11] บัญชร ชวาลศิลป์, กว่าจะเป็นนายพล (ก้าวที่ 2), (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2553), หน้า 170-171.

[12] บัญชร ชวาลศิลป์, หน้า 172 - 173.

[13] สถาบันพระปกเกล้า,พลังธรรม (พ.ศ. 2531),เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

[14] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ.

[15] สถาบันพระปกเกล้า,พลังธรรม (พ.ศ. 2531),เข้าถึงจาก http:/wiki.kpi.ac.th/ index.php?title=พลังธรรม_(พ.ศ._2531) เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

[16] จำลอง ศรีเมือง,ร่วมกันสู้, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธีระการพิมพ์, 2535 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 50, 75.

[17] จำลอง ศรีเมือง,หน้า  111.

[18] จำลอง ศรีเมือง,หน้า  111.

[19] จำลอง ศรีเมือง,หน้า  188.

[20] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี,การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535, เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป_กันยายน_พ.ศ._2535เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

[21] สถาบันพระปกเกล้า,สปก.4-01,เข้าถึงจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สปก. _4-01 เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

[22] ผู้จัดการออนไลน์,สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร วันที่ 2 มิถุนายน 2539, เข้าถึงจาก http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx  เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2559.

[23] อุเชนทร์ เชียงเสน, พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย,เข้าถึงจาก /index.php/พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2559.24 กรกฎาคม 2559.

[24] จำลอง ศรีเมือง,หน้า จ-ซ.