ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชวน หลีกภัย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ ผู้ทรงคุณว..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
Apirom ย้ายหน้า ชวน หลีกภัย (บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์) ไปยัง ชวน หลีกภัย โดยไม่สร้างหน้าเปลี...
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์
ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
'''นายชวน  หลีกภัย'''
'''นายชวน  หลีกภัย'''


          นายชวน  หลีกภัย นายกรัฐมนตรีลำดับที่ 20 เป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย คือสมัยที่ 1 พ.ศ.2535-พ.ศ.253 และสมัยที่ 2 พ.ศ.2540-2544 เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 11 สมัย โดยเคยดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎรและผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นนักการเมืองที่ได้รับสมญานามว่า ใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง
          นายชวน  หลีกภัย [[นายกรัฐมนตรี]]ลำดับที่ 20 เป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย คือสมัยที่ 1 พ.ศ.2535-พ.ศ.253 และสมัยที่ 2 พ.ศ.2540-2544 เป็นหัวหน้าพรรค[[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]] เป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] 11 สมัย โดยเคยดำรงตำแหน่ง[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]และ[[ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร|ผู้นำฝ่ายค้าน]]ใน[[สภาผู้แทนราษฎร]] เป็นนักการเมืองที่ได้รับสมญานามว่า [[ใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง]]


 
 
บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 16:
          นายชวน  หลีกภัย  เกิดเมื่อวันที่  28  กรกฎาคม  2481 ที่ตำบลท้ายพรุ  อำเภอเมือง  จังหวัดตรัง  เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน  9  คนของนายนิยมและนางถ้วน  หลีกภัย โดยบิดาเป็นครูประชาบาลส่วนมารดาเป็นชาวสวนยาง ภายหลังประกอบอาชีพค้าขายอยู่ในตลาดสด[[#_ftn1|[1]]]
          นายชวน  หลีกภัย  เกิดเมื่อวันที่  28  กรกฎาคม  2481 ที่ตำบลท้ายพรุ  อำเภอเมือง  จังหวัดตรัง  เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน  9  คนของนายนิยมและนางถ้วน  หลีกภัย โดยบิดาเป็นครูประชาบาลส่วนมารดาเป็นชาวสวนยาง ภายหลังประกอบอาชีพค้าขายอยู่ในตลาดสด[[#_ftn1|[1]]]


          นายชวน  หลีกภัย เริ่มต้นการศึกษาในระดับประถมศึกษา ณ โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง  ระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนตรังวิทยา เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้เข้ามาศึกษาต่อในกรุงเทพมหานครที่โรงเรียนศิลปศึกษาหรือโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม ขณะเรียนที่เตรียมศิลปากรนายชวนได้รับรางวัลการประกวดภาพหลายครั้ง เช่น ภาพเขียนชื่อประชาธิปไตย ระหว่างเรียนปีที่ 1 ได้สอบเทียบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 8 ได้ จากผลการเรียนที่ดีทั้งสายวิชาศิลปะและวิชาสามัญ  ศาสตราจารย์พันเอกพิเศษหญิง มาลี ภู่เรือหงษ์ เป็นผู้แนะนำว่าน่าจะเอาดีทางสายสามัญมากกว่า เนื่องจากวิชาชีพทางศิลปะในสมัยนั้นสร้างตัวได้ยาก ดังนั้นในระหว่างที่เรียนอยู่ปี 1 ที่โรงเรียนศิลปศึกษา นายชวน ได้สอบเทียบมัธยมศึกษาปีที่ 8 ได้และใช้ประกาศนียบัตรนี้ไปสมัครเรียนต่อที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยปลีกเวลาไปเรียนวิชาศิลปะที่โรงเรียนศิลปศึกษา เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วย[[#_ftn2|[2]]]
          นายชวน  หลีกภัย เริ่มต้นการศึกษาในระดับประถมศึกษา ณ โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง  ระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนตรังวิทยา เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้เข้ามาศึกษาต่อในกรุงเทพมหานครที่โรงเรียนศิลปศึกษาหรือโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม ขณะเรียนที่เตรียมศิลปากรนายชวนได้รับรางวัลการประกวดภาพหลายครั้ง เช่น ภาพเขียนชื่อ[[ประชาธิปไตย]] ระหว่างเรียนปีที่ 1 ได้สอบเทียบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 8 ได้ จากผลการเรียนที่ดีทั้งสายวิชาศิลปะและวิชาสามัญ  ศาสตราจารย์พันเอกพิเศษหญิง มาลี ภู่เรือหงษ์ เป็นผู้แนะนำว่าน่าจะเอาดีทางสายสามัญมากกว่า เนื่องจากวิชาชีพทางศิลปะในสมัยนั้นสร้างตัวได้ยาก ดังนั้นในระหว่างที่เรียนอยู่ปี 1 ที่โรงเรียนศิลปศึกษา นายชวน ได้สอบเทียบมัธยมศึกษาปีที่ 8 ได้และใช้ประกาศนียบัตรนี้ไปสมัครเรียนต่อที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยปลีกเวลาไปเรียนวิชาศิลปะที่โรงเรียนศิลปศึกษา เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วย[[#_ftn2|[2]]]


          นายชวนได้สมัครเข้าคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในพ.ศ. 2501ขณะยังเป็นมหาวิทยาลัยเปิด ซึ่งมีชื่อรุ่นว่า นิติศาสตร์ 01 มีเพื่อนร่วมรุ่นเช่น นายสมัคร สุนทรเวช นายอุทัย พิมพ์ใจชน นายมีชัย ฤชุพันธุ์ สำเร็จการศึกษาใน พ.ศ.  2505 ก่อนจะสอบได้เป็นเนติบัณฑิตไทย พ.ศ. 2507
          นายชวนได้สมัครเข้าคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในพ.ศ. 2501ขณะยังเป็นมหาวิทยาลัยเปิด ซึ่งมีชื่อรุ่นว่า นิติศาสตร์ 01 มีเพื่อนร่วมรุ่นเช่น นาย[[สมัคร_สุนทรเวช]] นาย[[อุทัย_พิมพ์ใจชน]] นาย[[มีชัย_ฤชุพันธุ์]] สำเร็จการศึกษาใน พ.ศ.  2505 ก่อนจะสอบได้เป็นเนติบัณฑิตไทย พ.ศ. 2507


 
 
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 24:
'''เหตุการณ์สำคัญ'''
'''เหตุการณ์สำคัญ'''


          เมื่อจบจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายชวนได้เรียนเนติบัณฑิตพร้อมกับเป็นทนายความชั้น 2 จนเมื่อสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตไทย จึงได้ไปเป็นทนายความอยู่ที่จังหวัดชลบุรี 2 ปี เมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511ในวันที่ 20 มิถุนายน พุทธศักราช 2511 และกำหนดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปขึ้นในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 นายชวนได้ไปขอสมัครเป็น ส.ส.ในนามพรรคประชาธิปัตย์ แต่ในระยะแรกพรรคเลือกผู้สมัครคนอื่นเพราะพรรคฯได้ตรวจสอบแล้วสรุปว่านายชวนไม่มีคนรู้จักจึงตัดสินใจส่งผู้สมัครอีก 2 คนที่เป็นที่รู้จักของประชาชนมากกว่า อย่างไรก็ตามผู้สมัครคนหนึ่งคือครูบุญเหลือ สินไชย ได้ขอถอนตัว นายชวน หลีกภัย จึงได้สมัครในนามของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง โดยได้คะแนนเป็นที่ 1 ของจังหวัด [[#_ftn3|[3]]]
          เมื่อจบจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายชวนได้เรียนเนติบัณฑิตพร้อมกับเป็นทนายความชั้น 2 จนเมื่อสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตไทย จึงได้ไปเป็นทนายความอยู่ที่จังหวัดชลบุรี 2 ปี เมื่อมีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2511]]ในวันที่ 20 มิถุนายน พุทธศักราช 2511 และกำหนดให้มีการเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป]]ขึ้นในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 นายชวนได้ไปขอสมัครเป็น ส.ส.ในนามพรรคประชาธิปัตย์ แต่ในระยะแรกพรรคเลือกผู้สมัครคนอื่นเพราะพรรคฯได้ตรวจสอบแล้วสรุปว่านายชวนไม่มีคนรู้จักจึงตัดสินใจส่งผู้สมัครอีก 2 คนที่เป็นที่รู้จักของประชาชนมากกว่า อย่างไรก็ตามผู้สมัครคนหนึ่งคือครูบุญเหลือ สินไชย ได้ขอถอนตัว นายชวน หลีกภัย จึงได้สมัครในนามของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง โดยได้คะแนนเป็นที่ 1 ของจังหวัด [[#_ftn3|[3]]]


          เมื่อเป็น ส.ส.สมัยที่ 2 ในพ.ศ.2518 นายชวนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็น ส.ส.สมัยที่ 3 ใน พ.ศ. 2519 ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อเกิดการยึดอำนาจโดยคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นายชวนถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์[[#_ftn4|[4]]] ต้องหลบหนีการจับกุมของทางการ
          เมื่อเป็น ส.ส.สมัยที่ 2 ในพ.ศ.2518 นายชวนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็น ส.ส.สมัยที่ 3 ใน พ.ศ. 2519 ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อเกิดการยึดอำนาจโดย[[คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน_(พ.ศ._๒๕๑๙)|คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน]]ในวันที่ [[6_ตุลาคม_พ.ศ._2519|6 ตุลาคม พ.ศ.2519]] นายชวนถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์[[#_ftn4|[4]]] ต้องหลบหนีการจับกุมของทางการ


          ในรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายชวนได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญ เช่น พ.ศ.2523 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2524 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ.2525 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร พ.ศ.2526 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ พ.ศ.2529-2531 ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร
          ในรัฐบาลของพลเอก[[เปรม_ติณสูลานนท์]] นายชวนได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญ เช่น พ.ศ.2523 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2524 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ.2525 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร พ.ศ.2526 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ พ.ศ.2529-2531 ดำรงตำแหน่ง[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]


          ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พ.ศ.2531นายชวนดำรงตำแหน่ง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2532 เป็นรองนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2533 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์ เมื่อรัฐบาลพลเอกชาติชายถูกกล่าวหาในเรื่องการทุจริตและคอรัปชั่น จนเกิดฉายาจากสื่อมวลชนว่า “บุฟเฟต์คาบิเน็ต” พรรคประชาธิปัตย์ได้ถอนตัวจากการเป็นพรรคร่วมรัฐบาล ในวันที่ 12 ธันวาคม 2533 หลังจากนั้นได้เกิดผันผวนทางการเมืองอย่างรุนแรง นำไปสู่เหตุการณ์ยึดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534[[#_ftn5|[5]]]
          ในรัฐบาลของพลเอก[[ชาติชาย_ชุณหะวัณ]] พ.ศ.2531นายชวนดำรงตำแหน่ง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2532 เป็นรองนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2533 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์ เมื่อรัฐบาลพลเอกชาติชายถูกกล่าวหาในเรื่องการ[[ทุจริตและคอรัปชั่น]] จนเกิดฉายาจากสื่อมวลชนว่า “[[บุฟเฟต์คาบิเน็ต]]” พรรคประชาธิปัตย์ได้ถอนตัวจากการเป็น[[พรรคร่วมรัฐบาล]] ในวันที่ 12 ธันวาคม 2533 หลังจากนั้นได้เกิดผันผวนทางการเมืองอย่างรุนแรง นำไปสู่เหตุการณ์ยึดอำนาจของ [[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] ([[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ|รสช.]]) ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534[[#_ftn5|[5]]]


          พ.ศ.2534 เมื่อนายพิชัย รัตตกุล หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ครบวาระในการดำรงตำแหน่ง มีการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคคนใหม่ โดยนายชวนรองหัวหน้าพรรคฯภาคได้ลงแข่งขันกับนายมารุต บุนนาค  รองหัวหน้าพรรคฯกรุงเทพมหานคร ผลปรากฏว่านายชวนได้รับการเลือกจากที่ประชุมใหญ่พรรคประชาธิปัตย์ให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคลำดับที่ 5 และเป็นเป็น ส.ส. จากต่างจังหวัดคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าพรรค[[#_ftn6|[6]]]
          พ.ศ.2534 เมื่อนาย[[พิชัย_รัตตกุล]] [[หัวหน้าพรรค]]ประชาธิปัตย์ครบวาระในการดำรงตำแหน่ง มีการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคคนใหม่ โดยนายชวนรองหัวหน้าพรรคฯภาคได้ลงแข่งขันกับนายมารุต บุนนาค  รองหัวหน้าพรรคฯกรุงเทพมหานคร ผลปรากฏว่านายชวนได้รับการเลือกจากที่ประชุมใหญ่พรรคประชาธิปัตย์ให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคลำดับที่ 5 และเป็นเป็น ส.ส. จากต่างจังหวัดคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าพรรค[[#_ftn6|[6]]]


          ภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535  มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่  13  กันยายน  พ.ศ.2535  ผลปรากฏว่าพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ 79 เสียง  ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งประกอบด้วยพรรคการเมืองอีก 4 พรรค คือ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม นายชวน  หลีกภัยได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นลำดับที่ 20  โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในวันที่  23  กันยายน พ.ศ.2535[[#_ftn7|[7]]] การเป็นนายกรัฐมนตรีของนายชวน หลีกภัยในครั้งนั้น ฉลามเขียว คอลัมน์นิสค์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐได้เขียนในคอลัมน์ชายคาหน้า 3 ว่า “..เป็นผู้เดินทางสายกลาง ไม่ก้าวร้าวรุนแรง ในสถานการณ์ที่ต้องการความสามัคคีในชาติ นายชวนมีความเหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีที่สุด..”[[#_ftn8|[8]]]
          ภายหลัง[[พฤษภาทมิฬ|เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535  มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่  13  กันยายน  พ.ศ.2535  ผลปรากฏว่าพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ 79 เสียง  ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้ง[[รัฐบาล]] ซึ่งประกอบด้วย[[พรรคการเมือง]]อีก 4 พรรค คือ พรรค[[ความหวังใหม่]] [[พรรคพลังธรรม]] [[พรรคเอกภาพ]] และ[[พรรคกิจสังคม]] นายชวน  หลีกภัยได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นลำดับที่ 20  โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในวันที่  23  กันยายน พ.ศ.2535[[#_ftn7|[7]]] การเป็นนายกรัฐมนตรีของนายชวน หลีกภัยในครั้งนั้น ฉลามเขียว คอลัมน์นิสค์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐได้เขียนในคอลัมน์ชายคาหน้า 3 ว่า “..เป็นผู้เดินทางสายกลาง ไม่ก้าวร้าวรุนแรง ในสถานการณ์ที่ต้องการความสามัคคีในชาติ นายชวนมีความเหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีที่สุด..”[[#_ftn8|[8]]]


          วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2537 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่กำกับดูแลสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร ได้เป็นประธานแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 ให้กับผู้ได้รับจำนวน 486 ราย ในจำนวนนี้เศรษฐีและคหบดีในจังหวัดภูเก็ตจำนวน 10 ตระกูล โดยรวมถึงนายทศพร เทพบุตร สามีนางอัญชลี วาณิช เทพบุตร ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับด้วยจนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก ซึ่งทำให้นายสุเทพ เทือกสุบรรณลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2537และนายนิพนธ์ พร้อมพันธ์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ลาออกในวันที่ 13 ธันวาคม เมื่อพรรคฝ่ายค้านยื่นขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 16-17 พฤษภาคม พ.ศ.2538 โดยยกประเด็นนี้เป็นประเด็นหลัก ในวันลงมติวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538 พรรคพลังธรรมซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลงดออกเสียงและในวันรุ่งขึ้นได้ประกาศถอนตัวออกจากการร่วมรัฐบาล นายชวน หลีกภัย จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 19 พฤษภาคม 2538[[#_ftn9|[9]]]
          วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2537 นาย[[สุเทพ_เทือกสุบรรณ]] รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่กำกับดูแลสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร ได้เป็นประธานแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 ให้กับผู้ได้รับจำนวน 486 ราย ในจำนวนนี้เศรษฐีและคหบดีในจังหวัดภูเก็ตจำนวน 10 ตระกูล โดยรวมถึงนาย[[ทศพร_เทพบุตร]] สามีนาง[[อัญชลี_วาณิช_เทพบุตร]] ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับด้วยจนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก ซึ่งทำให้นายสุเทพ เทือกสุบรรณลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2537และนาย[[นิพนธ์_พร้อมพันธ์]]รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ลาออกในวันที่ 13 ธันวาคม เมื่อพรรคฝ่ายค้าน[[ยื่นขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ]]ในวันที่ 16-17 พฤษภาคม พ.ศ.2538 โดยยกประเด็นนี้เป็นประเด็นหลัก ในวันลงมติวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538 [[พรรคพลังธรรม]]ซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล[[งดออกเสียง]]และในวันรุ่งขึ้นได้ประกาศถอนตัวออกจากการร่วมรัฐบาล นายชวน หลีกภัย จึงได้ประกาศ[[ยุบสภา]]ผู้แทนราษฎรในวันที่ 19 พฤษภาคม 2538[[#_ftn9|[9]]]


          การเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้น ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พรรคชาติไทยได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล นายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2538 หลังจากนายบรรหาร ได้บริหารราชการมาเป็นเวลา 1 ปีเศษ ถูกกล่าวหาในเรื่องคุณสมบัติส่วนตัว และความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่างๆ  ได้ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539 และมีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พรรคความหวังใหม่ได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี และนายชวน ได้ขึ้นเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยที่สอง
          การเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้น ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 [[พรรคชาติไทย]]ได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล นาย[[บรรหาร_ศิลปอาชา]] หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย ได้รับการแต่งตั้งเป็น[[ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร|ผู้นำฝ่ายค้าน]]ในสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2538 หลังจากนายบรรหาร ได้บริหารราชการมาเป็นเวลา 1 ปีเศษ ถูกกล่าวหาในเรื่องคุณสมบัติส่วนตัว และความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่างๆ  ได้ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539 และมีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พรรคความหวังใหม่ได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี และนายชวน ได้ขึ้นเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยที่สอง


          แต่วิกฤติการณ์เศรษฐกิจที่เรียกว่า “ฟองสบู่แตก” หรือ “วิกฤติต้มยำกุ้ง” ทำให้รัฐบาลของพลเอกชวลิตประสบปัญหา โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2540 และขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศในวันที่ 5 สิงหาคม ในวงเงิน 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ สถาบันการเงินถูกปิดจำนวน 56 แห่ง[[#_ftn10|[10]]] กลายเป็นวิกฤติการณ์ทางการเงินครั้งสำคัญของประเทศ  พลเอกชวลิตได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2540
          แต่วิกฤติการณ์เศรษฐกิจที่เรียกว่า “ฟองสบู่แตก” หรือ “วิกฤติต้มยำกุ้ง” ทำให้รัฐบาลของพลเอกชวลิตประสบปัญหา โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2540 และขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศในวันที่ 5 สิงหาคม ในวงเงิน 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ สถาบันการเงินถูกปิดจำนวน 56 แห่ง[[#_ftn10|[10]]] กลายเป็นวิกฤติการณ์ทางการเงินครั้งสำคัญของประเทศ  พลเอกชวลิตได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2540


          พรรคการเมืองต่างๆพยายามจับขั้วการเมืองใหม่เพื่อจัดตั้งรัฐบาล การเดินเกมการเมืองของ พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์  ได้ดึง ส.ส.จำนวน 12 คนจาก 18 คนของพรรคประชากรไทยมาเข้าร่วมได้ ส่งผลให้พรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล นายชวน หลีกภัยเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สอง และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอีกตำแหน่งหนึ่ง การจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้ทำให้เกิดคำว่า “กลุ่มงูเห่า”อันเป็นตำนานการเมืองไทยที่พรรคการเมืองพรรคเดียวเป็นทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล[[#_ftn11|[11]]]
          พรรคการเมืองต่างๆพยายามจับขั้วการเมืองใหม่เพื่อจัดตั้งรัฐบาล การเดินเกมการเมืองของ พลตรี[[สนั่น_ขจรประศาสน์]] [[เลขาธิการพรรค]]ประชาธิปัตย์  ได้ดึง ส.ส.จำนวน 12 คนจาก 18 คนของ[[พรรคประชากรไทย]]มาเข้าร่วมได้ ส่งผลให้พรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล นายชวน หลีกภัยเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สอง และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอีกตำแหน่งหนึ่ง การจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้ทำให้เกิดคำว่า “[[กลุ่มงูเห่า]]”อันเป็นตำนานการเมืองไทยที่พรรคการเมืองพรรคเดียวเป็นทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล[[#_ftn11|[11]]]


          หลังจากบริหารประเทศสมัยที่ 2 มาจนสภาผู้แทนราษฎรใกล้ครบวาระ นายชวน  หลีกภัย จึงประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543  การเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้นเมื่อในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พรรคไทยรักไทยได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ดร.ทักษิณ ชินวัตรหัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยนายชวนได้ขึ้นเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยที่ 3 ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2544
          หลังจากบริหารประเทศสมัยที่ 2 มาจนสภาผู้แทนราษฎรใกล้ครบวาระ นายชวน  หลีกภัย จึงประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543  การเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้นเมื่อในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พรรคไทยรักไทยได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ดร.[[ทักษิณ_ชินวัตร]]หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยนายชวนได้ขึ้นเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยที่ 3 ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2544


          วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546เมื่อครบวาระการดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคของนายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐานได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่พรรคประชาธิปัตย์ให้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนใหม่โดยนายชวนได้รับการเสนอชื่อให้เป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์
          วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546เมื่อครบวาระการดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคของนายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐานได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่พรรคประชาธิปัตย์ให้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนใหม่โดยนายชวนได้รับการเสนอชื่อให้เป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์
บรรทัดที่ 84: บรรทัดที่ 84:
'''บรรณานุกรม'''
'''บรรณานุกรม'''


กองบรรณาธิการมติชน,'''289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน''',(กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, 2550).หน้า 231.
กองบรรณาธิการมติชน,'''289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน''',(กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, 2550).หน้า 231.


ชวน หลีกภัย,'''วัยเด็กนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ http://www.chuan.org/bio_child.asp, เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
ชวน หลีกภัย,'''วัยเด็กนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ http://www.chuan.org/bio_child.asp, เมื่อ] 6 กันยายน 2559.


ชวน หลีกภัย,'''วัยเรียน''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_study.asp [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ  เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
ชวน หลีกภัย,'''วัยเรียน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_study.asp http://www.chuan.org/bio_study.asp] [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ  เมื่อ] 6 กันยายน 2559.


ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.asp[http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_politic.asp http://www.chuan.org/bio_politic.asp][http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.


ชวน หลีกภัย,'''ประวัติ''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio.asp[http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
ชวน หลีกภัย,'''ประวัติ''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio.asp http://www.chuan.org/bio.asp][http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.


ณรงค์  พกเกษม, '''ชวน  หลีกภัย  นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด'','''''(เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์.พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 178.
ณรงค์  พกเกษม, '''ชวน  หลีกภัย  นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด'','''''(เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์.พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 178.


บูฆอรี ยีหมะ, '''การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2550 จังหวัดสงขลา''', (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2550), หน้า 52.
บูฆอรี ยีหมะ, '''การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2550 จังหวัดสงขลา''', (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2550), หน้า 52.


พรรคประชาธิปัตย์, '''ประวัติพรรคประชาธิปัตย์,'''  เข้าถึงจาก [http://www.democrat.or.th/th/about/history/ http://www.democrat.or.th/th/about/history/] [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ  เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
พรรคประชาธิปัตย์, '''ประวัติพรรคประชาธิปัตย์,'''  เข้าถึงจาก [http://www.democrat.or.th/th/about/history/ http://www.democrat.or.th/th/about/history/] [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ  เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
บรรทัดที่ 106: บรรทัดที่ 106:
[[#_ftnref1|[1]]] ชวน หลีกภัย,'''วัยเด็กนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ http://www.chuan.org/bio_child.asp, เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref1|[1]]] ชวน หลีกภัย,'''วัยเด็กนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ http://www.chuan.org/bio_child.asp, เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] ชวน หลีกภัย,'''วัยเรียน''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_study.asp [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ &nbsp;เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref2|[2]]] ชวน หลีกภัย,'''วัยเรียน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_study.asp http://www.chuan.org/bio_study.asp] [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ &nbsp;เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.asp[http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref3|[3]]] ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_politic.asp http://www.chuan.org/bio_politic.asp][http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.asp[http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref4|[4]]] ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_politic.asp http://www.chuan.org/bio_politic.asp][http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] พรรคประชาธิปัตย์, '''ประวัติพรรคประชาธิปัตย์,''' &nbsp;เข้าถึงจาก [http://www.democrat.or.th/th/about/history/ http://www.democrat.or.th/th/about/history/] [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ &nbsp;เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref5|[5]]] พรรคประชาธิปัตย์, '''ประวัติพรรคประชาธิปัตย์,''' &nbsp;เข้าถึงจาก [http://www.democrat.or.th/th/about/history/ http://www.democrat.or.th/th/about/history/] [http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ &nbsp;เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.asp[http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref6|[6]]] ชวน หลีกภัย,'''บนเส้นทางการเมืองของนายชวน''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio_politic.asp http://www.chuan.org/bio_politic.asp][http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] วีระชาติ&nbsp; ชุ่มสนิท,&nbsp; '''24 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ: บริษัท ออลบุ๊คส์พับลิสซิ่ง จำกัด, 2549), หน้า 179.
[[#_ftnref7|[7]]] วีระชาติ&nbsp; ชุ่มสนิท,&nbsp; '''24 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ: บริษัท ออลบุ๊คส์พับลิสซิ่ง จำกัด, 2549), หน้า 179.
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[8] บูฆอรี ยีหมะ, '''การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2550 จังหวัดสงขลา''', (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2550), หน้า 52.
[8] บูฆอรี ยีหมะ, '''การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2550 จังหวัดสงขลา''', (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2550), หน้า 52.
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] กองบรรณาธิการมติชน,'''289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน''',(กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, 2550).หน้า 231.
[[#_ftnref9|[9]]] กองบรรณาธิการมติชน,'''289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน''',(กรุงเทพ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน, 2550).หน้า 231.
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] กองบรรณาธิการมติชน,หน้า 264.
[[#_ftnref10|[10]]] กองบรรณาธิการมติชน,หน้า 264.
บรรทัดที่ 128: บรรทัดที่ 128:
[12] บูฆอรี ยีหมะ,หน้า 50-52.
[12] บูฆอรี ยีหมะ,หน้า 50-52.
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] ณรงค์&nbsp; พกเกษม, '''ชวน&nbsp; หลีกภัย&nbsp; นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด'','''''(เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์.พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 178.
[[#_ftnref13|[13]]] ณรงค์&nbsp; พกเกษม, '''ชวน&nbsp; หลีกภัย&nbsp; นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด'','''''(เชียงใหม่&nbsp;: โรงพิมพ์แสงศิลป์.พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 178.
</div> <div id="ftn14">
</div> <div id="ftn14">
[[#_ftnref14|[14]]] ชวน หลีกภัย,'''ประวัติ''',เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio.asp[http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
[[#_ftnref14|[14]]] ชวน หลีกภัย,'''ประวัติ''',เข้าถึงจาก [http://www.chuan.org/bio.asp http://www.chuan.org/bio.asp][http://www.chuan.org/bio_child.asp,%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559.
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:33, 6 พฤษภาคม 2563

ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


นายชวน  หลีกภัย

          นายชวน  หลีกภัย นายกรัฐมนตรีลำดับที่ 20 เป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย คือสมัยที่ 1 พ.ศ.2535-พ.ศ.253 และสมัยที่ 2 พ.ศ.2540-2544 เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 11 สมัย โดยเคยดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎรและผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นนักการเมืองที่ได้รับสมญานามว่า ใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง

 

ประวัติส่วนบุคคล

          นายชวน  หลีกภัย  เกิดเมื่อวันที่  28  กรกฎาคม  2481 ที่ตำบลท้ายพรุ  อำเภอเมือง  จังหวัดตรัง  เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน  9  คนของนายนิยมและนางถ้วน  หลีกภัย โดยบิดาเป็นครูประชาบาลส่วนมารดาเป็นชาวสวนยาง ภายหลังประกอบอาชีพค้าขายอยู่ในตลาดสด[1]

          นายชวน  หลีกภัย เริ่มต้นการศึกษาในระดับประถมศึกษา ณ โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง  ระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนตรังวิทยา เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้เข้ามาศึกษาต่อในกรุงเทพมหานครที่โรงเรียนศิลปศึกษาหรือโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม ขณะเรียนที่เตรียมศิลปากรนายชวนได้รับรางวัลการประกวดภาพหลายครั้ง เช่น ภาพเขียนชื่อประชาธิปไตย ระหว่างเรียนปีที่ 1 ได้สอบเทียบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 8 ได้ จากผลการเรียนที่ดีทั้งสายวิชาศิลปะและวิชาสามัญ  ศาสตราจารย์พันเอกพิเศษหญิง มาลี ภู่เรือหงษ์ เป็นผู้แนะนำว่าน่าจะเอาดีทางสายสามัญมากกว่า เนื่องจากวิชาชีพทางศิลปะในสมัยนั้นสร้างตัวได้ยาก ดังนั้นในระหว่างที่เรียนอยู่ปี 1 ที่โรงเรียนศิลปศึกษา นายชวน ได้สอบเทียบมัธยมศึกษาปีที่ 8 ได้และใช้ประกาศนียบัตรนี้ไปสมัครเรียนต่อที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยปลีกเวลาไปเรียนวิชาศิลปะที่โรงเรียนศิลปศึกษา เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วย[2]

          นายชวนได้สมัครเข้าคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในพ.ศ. 2501ขณะยังเป็นมหาวิทยาลัยเปิด ซึ่งมีชื่อรุ่นว่า นิติศาสตร์ 01 มีเพื่อนร่วมรุ่นเช่น นายสมัคร_สุนทรเวช นายอุทัย_พิมพ์ใจชน นายมีชัย_ฤชุพันธุ์ สำเร็จการศึกษาใน พ.ศ.  2505 ก่อนจะสอบได้เป็นเนติบัณฑิตไทย พ.ศ. 2507

 

เหตุการณ์สำคัญ

          เมื่อจบจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายชวนได้เรียนเนติบัณฑิตพร้อมกับเป็นทนายความชั้น 2 จนเมื่อสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตไทย จึงได้ไปเป็นทนายความอยู่ที่จังหวัดชลบุรี 2 ปี เมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2511ในวันที่ 20 มิถุนายน พุทธศักราช 2511 และกำหนดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปขึ้นในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 นายชวนได้ไปขอสมัครเป็น ส.ส.ในนามพรรคประชาธิปัตย์ แต่ในระยะแรกพรรคเลือกผู้สมัครคนอื่นเพราะพรรคฯได้ตรวจสอบแล้วสรุปว่านายชวนไม่มีคนรู้จักจึงตัดสินใจส่งผู้สมัครอีก 2 คนที่เป็นที่รู้จักของประชาชนมากกว่า อย่างไรก็ตามผู้สมัครคนหนึ่งคือครูบุญเหลือ สินไชย ได้ขอถอนตัว นายชวน หลีกภัย จึงได้สมัครในนามของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง โดยได้คะแนนเป็นที่ 1 ของจังหวัด [3]

          เมื่อเป็น ส.ส.สมัยที่ 2 ในพ.ศ.2518 นายชวนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็น ส.ส.สมัยที่ 3 ใน พ.ศ. 2519 ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อเกิดการยึดอำนาจโดยคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นายชวนถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์[4] ต้องหลบหนีการจับกุมของทางการ

          ในรัฐบาลของพลเอกเปรม_ติณสูลานนท์ นายชวนได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญ เช่น พ.ศ.2523 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2524 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ.2525 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร พ.ศ.2526 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ พ.ศ.2529-2531 ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร

          ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย_ชุณหะวัณ พ.ศ.2531นายชวนดำรงตำแหน่ง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2532 เป็นรองนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2533 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์ เมื่อรัฐบาลพลเอกชาติชายถูกกล่าวหาในเรื่องการทุจริตและคอรัปชั่น จนเกิดฉายาจากสื่อมวลชนว่า “บุฟเฟต์คาบิเน็ต” พรรคประชาธิปัตย์ได้ถอนตัวจากการเป็นพรรคร่วมรัฐบาล ในวันที่ 12 ธันวาคม 2533 หลังจากนั้นได้เกิดผันผวนทางการเมืองอย่างรุนแรง นำไปสู่เหตุการณ์ยึดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534[5]

          พ.ศ.2534 เมื่อนายพิชัย_รัตตกุล หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ครบวาระในการดำรงตำแหน่ง มีการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคคนใหม่ โดยนายชวนรองหัวหน้าพรรคฯภาคได้ลงแข่งขันกับนายมารุต บุนนาค  รองหัวหน้าพรรคฯกรุงเทพมหานคร ผลปรากฏว่านายชวนได้รับการเลือกจากที่ประชุมใหญ่พรรคประชาธิปัตย์ให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคลำดับที่ 5 และเป็นเป็น ส.ส. จากต่างจังหวัดคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าพรรค[6]

          ภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535  มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่  13  กันยายน  พ.ศ.2535  ผลปรากฏว่าพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ 79 เสียง  ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งประกอบด้วยพรรคการเมืองอีก 4 พรรค คือ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม นายชวน  หลีกภัยได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นลำดับที่ 20  โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในวันที่  23  กันยายน พ.ศ.2535[7] การเป็นนายกรัฐมนตรีของนายชวน หลีกภัยในครั้งนั้น ฉลามเขียว คอลัมน์นิสค์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐได้เขียนในคอลัมน์ชายคาหน้า 3 ว่า “..เป็นผู้เดินทางสายกลาง ไม่ก้าวร้าวรุนแรง ในสถานการณ์ที่ต้องการความสามัคคีในชาติ นายชวนมีความเหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีที่สุด..”[8]

          วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2537 นายสุเทพ_เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่กำกับดูแลสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร ได้เป็นประธานแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 ให้กับผู้ได้รับจำนวน 486 ราย ในจำนวนนี้เศรษฐีและคหบดีในจังหวัดภูเก็ตจำนวน 10 ตระกูล โดยรวมถึงนายทศพร_เทพบุตร สามีนางอัญชลี_วาณิช_เทพบุตร ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับด้วยจนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก ซึ่งทำให้นายสุเทพ เทือกสุบรรณลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2537และนายนิพนธ์_พร้อมพันธ์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ลาออกในวันที่ 13 ธันวาคม เมื่อพรรคฝ่ายค้านยื่นขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 16-17 พฤษภาคม พ.ศ.2538 โดยยกประเด็นนี้เป็นประเด็นหลัก ในวันลงมติวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538 พรรคพลังธรรมซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลงดออกเสียงและในวันรุ่งขึ้นได้ประกาศถอนตัวออกจากการร่วมรัฐบาล นายชวน หลีกภัย จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 19 พฤษภาคม 2538[9]

          การเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้น ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พรรคชาติไทยได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล นายบรรหาร_ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2538 หลังจากนายบรรหาร ได้บริหารราชการมาเป็นเวลา 1 ปีเศษ ถูกกล่าวหาในเรื่องคุณสมบัติส่วนตัว และความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่างๆ  ได้ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539 และมีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พรรคความหวังใหม่ได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี และนายชวน ได้ขึ้นเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยที่สอง

          แต่วิกฤติการณ์เศรษฐกิจที่เรียกว่า “ฟองสบู่แตก” หรือ “วิกฤติต้มยำกุ้ง” ทำให้รัฐบาลของพลเอกชวลิตประสบปัญหา โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2540 และขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศในวันที่ 5 สิงหาคม ในวงเงิน 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ สถาบันการเงินถูกปิดจำนวน 56 แห่ง[10] กลายเป็นวิกฤติการณ์ทางการเงินครั้งสำคัญของประเทศ  พลเอกชวลิตได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2540

          พรรคการเมืองต่างๆพยายามจับขั้วการเมืองใหม่เพื่อจัดตั้งรัฐบาล การเดินเกมการเมืองของ พลตรีสนั่น_ขจรประศาสน์ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์  ได้ดึง ส.ส.จำนวน 12 คนจาก 18 คนของพรรคประชากรไทยมาเข้าร่วมได้ ส่งผลให้พรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล นายชวน หลีกภัยเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สอง และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอีกตำแหน่งหนึ่ง การจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้ทำให้เกิดคำว่า “กลุ่มงูเห่า”อันเป็นตำนานการเมืองไทยที่พรรคการเมืองพรรคเดียวเป็นทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล[11]

          หลังจากบริหารประเทศสมัยที่ 2 มาจนสภาผู้แทนราษฎรใกล้ครบวาระ นายชวน  หลีกภัย จึงประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543  การเลือกตั้งทั่วไปที่มีขึ้นเมื่อในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พรรคไทยรักไทยได้เสียงมากที่สุดและเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ดร.ทักษิณ_ชินวัตรหัวหน้าพรรคได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยนายชวนได้ขึ้นเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรสมัยที่ 3 ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2544

          วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546เมื่อครบวาระการดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคของนายชวน หลีกภัย นายบัญญัติ บรรทัดฐานได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่พรรคประชาธิปัตย์ให้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนใหม่โดยนายชวนได้รับการเสนอชื่อให้เป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์

          นายชวน หลีกภัยจึงเป็นนักการเมืองที่มีภาพลักษณ์ทางการเมืองที่ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย ยึดมั่นในระบบรัฐสภา เป็นผู้เดินทางสายกลาง ไม่ก้าวร้าวรุนแรง และมีภาพพจน์ความซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ มีชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ปัจจัยเหล่านี้ทำให้นายชวน ได้รับการยอมรับจากประชาชนในวงกว้าง โดยเฉพาะในภาคใต้ เมื่อมีการชูประเด็น “นายกฯคนใต้” หลังจากที่เคยภาคถูมิใจกับพลเอกเปรม ติณสูลานนท์นายกรัฐมนตรีที่มาจากภาคใต้[12]

         

ผลงานอื่นๆ

          นายชวน หลีกภัยยังดำรงตำแหน่งที่สำคัญอื่นๆ เช่น [13]

          1.อุปนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

          2.กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

          3.กรรมการสภามหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

          4.กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร

          5.กรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

          6.อาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

          นายชวน หลีกภัยยังได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ ดังนี้ [14]ดุษฎีกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง  ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางนิติศาสตร์  มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์  และ พ.ศ. 2537 ดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม (ภาพเขียน) มหาวิทยาลัยศิลปากร

 

หนังสือแนะนำ

ชวน หลีกภัย (2535).เย็นลมป่า เรื่องจริงของ ชวน หลีกภัย.(พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ดอกเบี้ย

ณรงค์  พกเกษ.(2544). ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด (พิมพ์ครั้งที่ 2), เชียงใหม่: โรงพิมพ์แสงศิลป์.

วีระชาติ ชุ่มสนิท.(2549). 24 นายกรัฐมนตรีไทย.กรุงเทพฯ: บริษัท ออลบุ๊คส์พับลิสซิ่ง จำกัด.

 

บรรณานุกรม

กองบรรณาธิการมติชน,289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน,(กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, 2550).หน้า 231.

ชวน หลีกภัย,วัยเด็กนายชวน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_child.asp, เมื่อ 6 กันยายน 2559.

ชวน หลีกภัย,วัยเรียน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_study.asp  เมื่อ 6 กันยายน 2559.

ชวน หลีกภัย,บนเส้นทางการเมืองของนายชวน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.aspเมื่อ 6 กันยายน 2559.

ชวน หลีกภัย,ประวัติ,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio.aspเมื่อ 6 กันยายน 2559.

ณรงค์  พกเกษม, ชวน  หลีกภัย  นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด,(เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์.พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 178.

บูฆอรี ยีหมะ, การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2550 จังหวัดสงขลา, (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2550), หน้า 52.

พรรคประชาธิปัตย์, ประวัติพรรคประชาธิปัตย์,  เข้าถึงจาก http://www.democrat.or.th/th/about/history/  เมื่อ 6 กันยายน 2559.

วีระชาติ  ชุ่มสนิท,  24 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ: บริษัท ออลบุ๊คส์พับลิสซิ่ง จำกัด, 2549), หน้า 179.

 

อ้างอิง

[1] ชวน หลีกภัย,วัยเด็กนายชวน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_child.asp, เมื่อ 6 กันยายน 2559.

[2] ชวน หลีกภัย,วัยเรียน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_study.asp  เมื่อ 6 กันยายน 2559.

[3] ชวน หลีกภัย,บนเส้นทางการเมืองของนายชวน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.aspเมื่อ 6 กันยายน 2559.

[4] ชวน หลีกภัย,บนเส้นทางการเมืองของนายชวน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.aspเมื่อ 6 กันยายน 2559.

[5] พรรคประชาธิปัตย์, ประวัติพรรคประชาธิปัตย์,  เข้าถึงจาก http://www.democrat.or.th/th/about/history/  เมื่อ 6 กันยายน 2559.

[6] ชวน หลีกภัย,บนเส้นทางการเมืองของนายชวน,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio_politic.aspเมื่อ 6 กันยายน 2559.

[7] วีระชาติ  ชุ่มสนิท,  24 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ: บริษัท ออลบุ๊คส์พับลิสซิ่ง จำกัด, 2549), หน้า 179.

[8] บูฆอรี ยีหมะ, การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2550 จังหวัดสงขลา, (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2550), หน้า 52.

[9] กองบรรณาธิการมติชน,289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน,(กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, 2550).หน้า 231.

[10] กองบรรณาธิการมติชน,หน้า 264.

[11] กองบรรณาธิการมติชน,หน้า 267.

[12] บูฆอรี ยีหมะ,หน้า 50-52.

[13] ณรงค์  พกเกษม, ชวน  หลีกภัย  นายกรัฐมนตรีที่มาจากเด็กวัด,(เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์.พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 178.

[14] ชวน หลีกภัย,ประวัติ,เข้าถึงจาก http://www.chuan.org/bio.aspเมื่อ 6 กันยายน 2559.