ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยุบสภาผู้แทนราษฎร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' วิริยะ คล้ายแดง
'''ผู้เรียบเรียง''' วิริยะ คล้ายแดง


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง  
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


----
----


“การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดย[[นายกรัฐมนตรี]]เป็นผู้เสนอและสนองพระบรมราชโองการ นายกรัฐมนตรีมีอำนาจทำได้เสมอ นอกเสียจากว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ยอม[[ลงพระปรมาภิไธย]]… แต่ก็ไม่เคยปรากฏลักษณะเช่นนี้มาก่อน”<ref>กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง, 2530. '''“การยุบสภาในประเทศไทย,”''' (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) หน้า 38.</ref> วลีดังกล่าว คือคำให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์เมื่อปีพ.ศ. 2529 ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่เป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหารและมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ก่อนที่จะมีการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ[[รัฐมนตรี]]ทั้งคณะเพียง 2 วัน เพื่อยุติปัญหาความขัดแย้งภายในพรรคการเมืองร่วมรัฐบาล
“การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดย[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]เป็นผู้เสนอและสนองพระบรมราชโองการ นายกรัฐมนตรีมีอำนาจทำได้เสมอ นอกเสียจากว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ยอม[[ลงพระปรมาภิไธย|ลงพระปรมาภิไธย]]… แต่ก็ไม่เคยปรากฏลักษณะเช่นนี้มาก่อน”<ref>กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง, 2530. '''“การยุบสภาในประเทศไทย,”''' (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) หน้า 38.</ref> วลีดังกล่าว คือคำให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์เมื่อปีพ.ศ. 2529 ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่เป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหารและมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ก่อนที่จะมีการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ[[รัฐมนตรี|รัฐมนตรี]]ทั้งคณะเพียง 2 วัน เพื่อยุติปัญหาความขัดแย้งภายในพรรคการเมืองร่วมรัฐบาล


ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และใช้รูปแบบระบบรัฐสภา แบ่งแยกผู้ใช้อำนาจออกเป็นสามฝ่าย ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ แต่ระบบรัฐสภานี้ มิได้ยอมรับหลักการแบ่งแยกอำนาจเด็ดขาด หมายถึงยินยอมให้ฝ่ายบริหารเกี่ยวข้องกับฝ่ายนิติบัญญัติได้ โดยฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลหรือ[[คณะรัฐมนตรี]]ต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภาด้วยการเข้ารับหน้าที่บริหารงานโดยความไว้วางใจของรัฐสภา และรัฐสภาอาจถูกควบคุมได้โดยฝ่ายบริหาร ซึ่งการควบคุมเช่นนี้แท้จริงแล้วเป็นการควบคุมโดยผ่านทางประมุขของรัฐนั่นเอง โดยนายกรัฐมนตรีอาจเสนอให้ประมุขของรัฐยุบสภานิติบัญญัติได้ในกรณีเกิดความขัดแย้งกัน<ref>วิษณุ เครืองาม, 2523. '''กฎหมายรัฐธรรมนูญ,''' พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : แสงสุทธิการพิมพ์, หน้า 194 – 195.</ref>
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และใช้รูปแบบระบบรัฐสภา แบ่งแยกผู้ใช้อำนาจออกเป็นสามฝ่าย ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ แต่ระบบรัฐสภานี้ มิได้ยอมรับหลักการแบ่งแยกอำนาจเด็ดขาด หมายถึงยินยอมให้ฝ่ายบริหารเกี่ยวข้องกับฝ่ายนิติบัญญัติได้ โดยฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลหรือ[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]ต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภาด้วยการเข้ารับหน้าที่บริหารงานโดยความไว้วางใจของรัฐสภา และรัฐสภาอาจถูกควบคุมได้โดยฝ่ายบริหาร ซึ่งการควบคุมเช่นนี้แท้จริงแล้วเป็นการควบคุมโดยผ่านทางประมุขของรัฐนั่นเอง โดยนายกรัฐมนตรีอาจเสนอให้ประมุขของรัฐยุบสภานิติบัญญัติได้ในกรณีเกิดความขัดแย้งกัน<ref>วิษณุ เครืองาม, 2523. '''กฎหมายรัฐธรรมนูญ,''' พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : แสงสุทธิการพิมพ์, หน้า 194 – 195.</ref>


สัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารเช่นนี้ เกี่ยวเนื่องกันด้วยอำนาจ ที่มีลักษณะของการแบ่งแยกอำนาจกันอย่างไม่เด็ดขาดเพื่อการควบคุมและถ่วงดุลย์อำนาจต่อกัน มิให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีน้ำหนักมากกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง<ref>กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง อ้างถึง โอภาส ชัยนาม, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับสภาผู้แทนราษฎร”, '''รัฐสภาสาร''' 4 (ธันวาคม 2499) : 10.</ref> ซึ่งการยุบสภาผู้แทนราษฎร ถือว่าเป็นการใช้อำนาจของฝ่ายบริหารควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติโดยผ่านทางประมุขของรัฐ และเป็นวิธีการหนึ่งของหลักการถ่วงดุลอำนาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารอาจจำเป็นต้องใช้กลไกการยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่ออุทธรณ์ต่อประชาชน หรือหมายถึงการให้ประชาชนตัดสินปัญหาข้อขัดแย้ง โดยใช้[[การเลือกตั้ง]]เป็นเครื่องมือชี้ขาดว่า ฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารเป็นผู้ปฏิบัติการตรงต่อเจตจำนงของประชาชน  
สัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารเช่นนี้ เกี่ยวเนื่องกันด้วยอำนาจ ที่มีลักษณะของการแบ่งแยกอำนาจกันอย่างไม่เด็ดขาดเพื่อการควบคุมและถ่วงดุลย์อำนาจต่อกัน มิให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีน้ำหนักมากกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง<ref>กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง อ้างถึง โอภาส ชัยนาม, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับสภาผู้แทนราษฎร”, '''รัฐสภาสาร''' 4 (ธันวาคม 2499) : 10.</ref> ซึ่งการยุบสภาผู้แทนราษฎร ถือว่าเป็นการใช้อำนาจของฝ่ายบริหารควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติโดยผ่านทางประมุขของรัฐ และเป็นวิธีการหนึ่งของหลักการถ่วงดุลอำนาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารอาจจำเป็นต้องใช้กลไกการยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่ออุทธรณ์ต่อประชาชน หรือหมายถึงการให้ประชาชนตัดสินปัญหาข้อขัดแย้ง โดยใช้[[การเลือกตั้ง|การเลือกตั้ง]]เป็นเครื่องมือชี้ขาดว่า ฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารเป็นผู้ปฏิบัติการตรงต่อเจตจำนงของประชาชน


==ความหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎร==
== ความหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ==


คำว่า “การยุบสภาผู้แทนราษฎร” อาจกล่าวหรือระบุแค่เพียง “การยุบสภา” ซึ่งมีความหมาย เช่นเดียวกันกับคำว่า การยุบสภาผู้แทนราษฎร
คำว่า “การยุบสภาผู้แทนราษฎร” อาจกล่าวหรือระบุแค่เพียง “การยุบสภา” ซึ่งมีความหมาย เช่นเดียวกันกับคำว่า การยุบสภาผู้แทนราษฎร


ศ.ดร.วิษณุ เครืองาม<ref>วิษณุ เครืองาม, 2523. อ้างแล้ว, หน้า 284.</ref> ให้ความหมายคำว่า “การยุบสภา” ที่ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Dissolution of Parliament หมายถึง การที่ประมุขของรัฐโดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารประกาศให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงพร้อมกันก่อนครบวาระ
ศ.ดร.วิษณุ เครืองาม<ref>วิษณุ เครืองาม, 2523. อ้างแล้ว, หน้า 284.</ref> ให้ความหมายคำว่า “การยุบสภา” ที่ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Dissolution of Parliament หมายถึง การที่ประมุขของรัฐโดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารประกาศให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงพร้อมกันก่อนครบวาระ


สำหรับปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย โดย คณิน บุญสุวรรณ<ref>คนิณ บุญสุวรรณ, 2548. '''ปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์,''' กรุงเทพ : สุภาพใจ, หน้า 724.</ref> ให้ความหมายของการยุบสภา หมายถึง การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งต้องพ้นจากสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรไปพร้อมกัน และจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาที่ว่านี้ใช้กับสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับ[[วุฒิสภา]] เพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา การยุบสภาผู้แทนราษฏร เป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งของการปกครองระบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ซึ่งให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายนิติบัญญัติ
สำหรับปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย โดย คณิน บุญสุวรรณ<ref>คนิณ บุญสุวรรณ, 2548. '''ปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์,''' กรุงเทพ : สุภาพใจ, หน้า 724.</ref> ให้ความหมายของการยุบสภา หมายถึง การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งต้องพ้นจากสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรไปพร้อมกัน และจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาที่ว่านี้ใช้กับสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับ[[วุฒิสภา|วุฒิสภา]] เพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา การยุบสภาผู้แทนราษฏร เป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งของการปกครองระบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ซึ่งให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายนิติบัญญัติ


==บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเรื่องการยุบสภาผู้แทนราษฎร==
== บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเรื่องการยุบสภาผู้แทนราษฎร ==


นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน (2552) บทบัญญัติเรื่องการยุบสภาได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเกือบทุกฉบับ ยกเว้น พระราชบัญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2515 รัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักร พุทธศักราช 2519 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 และธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. พุทธศักราช 2534<ref>ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, 2546. '''ปัญหาทางกฎหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย,''' หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. หน้า 39.</ref> ซึ่งบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาของรัฐธรรมนูญจะมีหลักการคล้ายกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไว้ว่า
นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน (2552) บทบัญญัติเรื่องการยุบสภาได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเกือบทุกฉบับ ยกเว้น พระราชบัญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2515 รัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักร พุทธศักราช 2519 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 และธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. พุทธศักราช 2534<ref>ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, 2546. '''ปัญหาทางกฎหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย,''' หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. หน้า 39.</ref> ซึ่งบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาของรัฐธรรมนูญจะมีหลักการคล้ายกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไว้ว่า


“มาตรา 108 [[พระมหากษัตริย์]]ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่
“มาตรา 108 [[พระมหากษัตริย์|พระมหากษัตริย์]]ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่


การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดย[[พระราชกฤษฎีกา]] ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไปภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันยุบสภาผู้แทนราษฎร และวันเลือกตั้งนั้นต้องกำหนดเป็นวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร
การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดย[[พระราชกฤษฎีกา|พระราชกฤษฎีกา]] ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไปภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันยุบสภาผู้แทนราษฎร และวันเลือกตั้งนั้นต้องกำหนดเป็นวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร


การยุบสภาผู้แทนราษฎรจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน"
การยุบสภาผู้แทนราษฎรจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน"


ในช่วงเวลาการยกร่างรัฐธรรมนูญประเด็นนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม ของสภาร่างรัฐธรรมนูญ<ref>สภาร่างรัฐธรรมนูญ, 2550. '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,''' สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 108.</ref> ได้บันทึกเจตนารมณ์ของบทบัญญัติ มาตรา 108 ไว้ว่า
ในช่วงเวลาการยกร่างรัฐธรรมนูญประเด็นนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม ของสภาร่างรัฐธรรมนูญ<ref>สภาร่างรัฐธรรมนูญ, 2550. '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,''' สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 108.</ref> ได้บันทึกเจตนารมณ์ของบทบัญญัติ มาตรา 108 ไว้ว่า


1) เจตนารมณ์เพื่อให้มีการถ่วงดุลอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหาร
1) เจตนารมณ์เพื่อให้มีการถ่วงดุลอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหาร


2) หลักการเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เป็นครั้งแรก
2) หลักการเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เป็นครั้งแรก


3) หลักการคงเดิมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่แก้ไขเรื่องกำหนดระยะเวลา โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันยุบสภา ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งมีระยะเวลาพอสมควรในการเตรียมการเลือกตั้งให้พร้อม เนื่องจากการเลือกตั้งหลังการยุบสภาผู้แทนราษฎรเกิดขึ้นโดยกะทันหันไม่มีผู้ใดทราบล่วงหน้า
3) หลักการคงเดิมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่แก้ไขเรื่องกำหนดระยะเวลา โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันยุบสภา ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งมีระยะเวลาพอสมควรในการเตรียมการเลือกตั้งให้พร้อม เนื่องจากการเลือกตั้งหลังการยุบสภาผู้แทนราษฎรเกิดขึ้นโดยกะทันหันไม่มีผู้ใดทราบล่วงหน้า


ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ<ref>คัดลอกและย่อความจาก ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, อ้างแล้ว, หน้า 15-23.</ref> ได้วิเคราะห์เรื่องการยุบสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญไว้ดังต่อไปนี้
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ<ref>คัดลอกและย่อความจาก ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, อ้างแล้ว, หน้า 15-23.</ref> ได้วิเคราะห์เรื่องการยุบสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญไว้ดังต่อไปนี้


'''1. ผู้มีอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร''' [[รัฐธรรมนูญ]]ที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรทุกฉบับ บัญญัติให้พระมหากษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติว่า “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่….” ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาหัวหน้าของฝ่ายบริหารได้แก่ นายกรัฐมนตรี จะเป็นผู้ถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรทุกครั้ง แต่พระมหากษัตริย์อาจปฏิเสธการยุบสภาผู้แทนราษฎรได้โดยการไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว แม้รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจดังกล่าว ไว้ก็ตาม ถือว่าเป็นพระราชอำนาจตามพระราชอัธยาศัยอย่างหนึ่งตามประเพณีการปกครองแผ่นดิน เมื่อทั้งประมุขของรัฐได้แก่พระมหากษัตริย์ และหัวหน้าของฝ่ายบริหาร ได้แก่ นายกรัฐมนตรีต่างใช้อำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรโดยลำพังเองมิได้ต้องร่วมกันใช้อำนาจดังกล่าว หากฝ่ายใดปฏิเสธไม่ใช้อำนาจดังกล่าว การยุบสภาผู้แทนราษฎรก็เกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้นอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร จึงถือเป็นอำนาจร่วมระหว่างประมุขของรัฐกับหัวหน้าของฝ่ายบริหาร
'''1. ผู้มีอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร''' [[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]]ที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรทุกฉบับ บัญญัติให้พระมหากษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติว่า “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่….” ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาหัวหน้าของฝ่ายบริหารได้แก่ นายกรัฐมนตรี จะเป็นผู้ถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรทุกครั้ง แต่พระมหากษัตริย์อาจปฏิเสธการยุบสภาผู้แทนราษฎรได้โดยการไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว แม้รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจดังกล่าว ไว้ก็ตาม ถือว่าเป็นพระราชอำนาจตามพระราชอัธยาศัยอย่างหนึ่งตามประเพณีการปกครองแผ่นดิน เมื่อทั้งประมุขของรัฐได้แก่พระมหากษัตริย์ และหัวหน้าของฝ่ายบริหาร ได้แก่ นายกรัฐมนตรีต่างใช้อำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรโดยลำพังเองมิได้ต้องร่วมกันใช้อำนาจดังกล่าว หากฝ่ายใดปฏิเสธไม่ใช้อำนาจดังกล่าว การยุบสภาผู้แทนราษฎรก็เกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้นอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร จึงถือเป็นอำนาจร่วมระหว่างประมุขของรัฐกับหัวหน้าของฝ่ายบริหาร


'''2. รูปแบบของการยุบสภาผู้แทนราษฎร''' รัฐธรรมนูญที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรทุกฉบับ บัญญัติให้รูปแบบของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ต้องทำเป็นพระราชกฤษฎีกา ดังที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 108 ว่า “…การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา…”
'''2. รูปแบบของการยุบสภาผู้แทนราษฎร''' รัฐธรรมนูญที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรทุกฉบับ บัญญัติให้รูปแบบของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ต้องทำเป็นพระราชกฤษฎีกา ดังที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 108 ว่า “…การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา…”


'''3. ผลทางกฎหมายที่เกิดจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร'''  
'''3. ผลทางกฎหมายที่เกิดจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.1 ทำให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพ้นจากตำแหน่งทันที เนื่องจากเมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงพร้อมกัน และต้องพ้นจากตำแหน่งทันทีจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปไม่ได้ เพราะเมื่อไม่มี[[สภาผู้แทนราษฎร]]แล้ว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ทำหน้าที่ต่อไปไม่ได้ ส่วนสมาชิกวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไป จนกว่าจะครบวาระ เพราะไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับใดที่บัญญัติให้สมาชิกภาพของวุฒิสภาต้องสิ้นสุดลงเมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.1 ทำให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพ้นจากตำแหน่งทันที เนื่องจากเมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงพร้อมกัน และต้องพ้นจากตำแหน่งทันทีจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปไม่ได้ เพราะเมื่อไม่มี[[สภาผู้แทนราษฎร|สภาผู้แทนราษฎร]]แล้ว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ทำหน้าที่ต่อไปไม่ได้ ส่วนสมาชิกวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไป จนกว่าจะครบวาระ เพราะไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับใดที่บัญญัติให้สมาชิกภาพของวุฒิสภาต้องสิ้นสุดลงเมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.2 ทำให้คณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่ง เพราะไม่มีสภาผู้แทนราษฎรไว้ควบคุม[[การบริหารราชการแผ่นดิน]]ต่อไปแล้ว คณะรัฐมนตรีก็อยู่ในตำแหน่งต่อไปไม่ได้ แต่คณะรัฐมนตรียังคงปฏิบัติหน้าที่ได้ต่อไป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 181 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ โดยคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่ได้เท่าที่จำเป็น ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ดังต่อไปนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.2 ทำให้คณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่ง เพราะไม่มีสภาผู้แทนราษฎรไว้ควบคุม[[การบริหารราชการแผ่นดิน|การบริหารราชการแผ่นดิน]]ต่อไปแล้ว คณะรัฐมนตรีก็อยู่ในตำแหน่งต่อไปไม่ได้ แต่คณะรัฐมนตรียังคงปฏิบัติหน้าที่ได้ต่อไป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 181 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ โดยคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่ได้เท่าที่จำเป็น ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ดังต่อไปนี้


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1) ไม่กระทำการอันเป็นการใช้อำนาจแต่งตั้งหรือโยกย้ายข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ หรือพนักงานของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือให้บุคคลดังกล่าวพ้นจากการปฏิบัติหน้าที่หรือพ้นจากตำแหน่ง หรือให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจาก[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]]ก่อน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1) ไม่กระทำการอันเป็นการใช้อำนาจแต่งตั้งหรือโยกย้ายข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ หรือพนักงานของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือให้บุคคลดังกล่าวพ้นจากการปฏิบัติหน้าที่หรือพ้นจากตำแหน่ง หรือให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจาก[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]]ก่อน


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2) ไม่กระทำการอันมีผลเป็นการอนุมัติให้ใช้จ่ายงบประมาณสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้งก่อน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2) ไม่กระทำการอันมีผลเป็นการอนุมัติให้ใช้จ่ายงบประมาณสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้งก่อน


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3) ไม่กระทำการอันมีผลเป็นการอนุมัติงานหรือโครงการ หรือมีผลเป็นการสร้างความผูกพันต่อคณะรัฐมนตรีชุดต่อไป
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3) ไม่กระทำการอันมีผลเป็นการอนุมัติงานหรือโครงการ หรือมีผลเป็นการสร้างความผูกพันต่อคณะรัฐมนตรีชุดต่อไป


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;4) ไม่ใช้ทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพื่อกระทำการใดซึ่งจะมีผลต่อการเลือกตั้ง และไม่กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนข้อห้ามตามระเบียบที่คณะกรรมการเลือกตั้งกำหนด
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;4) ไม่ใช้ทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพื่อกระทำการใดซึ่งจะมีผลต่อการเลือกตั้ง และไม่กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนข้อห้ามตามระเบียบที่คณะกรรมการเลือกตั้งกำหนด


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.3 ร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร หรือค้างการพิจารณาในวุฒิสภาเป็นอันตกไป โดยที่ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา รัฐสภา ได้แก่ [[วุฒิสภา]] และ[[สภาผู้แทนราษฎร]] เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรเสียแล้วก็ไม่มีรัฐสภาที่จะให้คำแนะนำและยินยอม ร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาที่มาจากการริเริ่มเสนอของสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ก็ต้องตกไปด้วย เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน แต่ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติที่มีอันตกไป อาจนำกลับเข้ามาพิจารณาต่อเนื่องในสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่ได้อีกตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญกำหนด ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 153 บัญญัติว่า “ในกรณีที่อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา แล้วแต่กรณี จะพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังมิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปร้องขอภายในหกสิบวัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งทั่วไป และรัฐสภามีมติเห็นชอบด้วย แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีมิได้ร้องขอภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมหรือร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป”
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.3 ร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร หรือค้างการพิจารณาในวุฒิสภาเป็นอันตกไป โดยที่ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา รัฐสภา ได้แก่ [[วุฒิสภา|วุฒิสภา]] และ[[สภาผู้แทนราษฎร|สภาผู้แทนราษฎร]] เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรเสียแล้วก็ไม่มีรัฐสภาที่จะให้คำแนะนำและยินยอม ร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาที่มาจากการริเริ่มเสนอของสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ก็ต้องตกไปด้วย เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน แต่ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติที่มีอันตกไป อาจนำกลับเข้ามาพิจารณาต่อเนื่องในสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่ได้อีกตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญกำหนด ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 153 บัญญัติว่า “ในกรณีที่อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา แล้วแต่กรณี จะพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังมิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปร้องขอภายในหกสิบวัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งทั่วไป และรัฐสภามีมติเห็นชอบด้วย แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีมิได้ร้องขอภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมหรือร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป”


'''4. ระยะเวลาที่มีผลทางกฎหมาย''' โดยทั่วไป วันที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรกับวันที่ประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรมักเป็นวันเดียวกัน แต่หากเป็นคนละวันกันตามกฎหมายจะถือว่ามีการยุบสภาผู้แทนราษฎรตามวันที่ประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกา เพราะการยุบสภาผู้แทนราษฎรจะมีผลทางกฎหมายต้องนับแต่วันที่มีการประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]
'''4. ระยะเวลาที่มีผลทางกฎหมาย''' โดยทั่วไป วันที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรกับวันที่ประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรมักเป็นวันเดียวกัน แต่หากเป็นคนละวันกันตามกฎหมายจะถือว่ามีการยุบสภาผู้แทนราษฎรตามวันที่ประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกา เพราะการยุบสภาผู้แทนราษฎรจะมีผลทางกฎหมายต้องนับแต่วันที่มีการประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรใน[[ราชกิจจานุเบกษา|ราชกิจจานุเบกษา]]


'''5. การห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ''' รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเสนอ[[ญัตติ]]ขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ในมาตรา 158 ว่า “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรี... และเมื่อได้มีการเสนอญัตติแล้ว จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมิได้ … ” การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเสนอญัตติขอเปิดอภิปราย ทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีนั้น เพื่อจำกัดตัดทอนอำนาจของนายกรัฐมนตรีลงไปว่าระหว่างที่ญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจอยู่ในสภา นายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้จนกว่าญัตตินั้นจะลงมติแล้ว เพราะไม่เช่นนั้นพอมีการยื่นญัตติดังกล่าวนายกรัฐมนตรีอาจจะเห็นว่าชื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่รวมทั้งเสียงข้างมากในสภาอาจทำให้ตนแพ้ญัตติไม่ไว้วางใจและชิงยุบสภาเสียก่อน ถ้าอย่างนั้นมันก็เกิดการเสียดุลขึ้นในระบบรัฐสภา คือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีทางไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารได้เลย ไม่มีทางอภิปรายได้ เพราะนายกรัฐมนตรียุบสภาได้ตลอดเวลา ซึ่งบทบัญญัติในประเด็นนี้เริ่มมีครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่เดิมมิได้กำหนดไว้ และในประวัติศาสตร์การยุบสภาผู้แทนราษฎร เคยมีกรณีที่มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจเกิดขึ้น คือในสมัย รัฐบาลของ [[คึกฤทธิ์ ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] พรรคกิจสังคมเป็นแกนนำจัดตั้ง รัฐบาลที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพียง 18 คน ประกอบด้วย[[พรรคการเมือง]]หลายพรรค มีความขัดแย้งกันตลอดแม้จะได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีก็ตาม ประกอบกับพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2519 จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ก่อนวันเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2 วัน  
'''5. การห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ''' รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเสนอ[[ญัตติ|ญัตติ]]ขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ในมาตรา 158 ว่า “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรี... และเมื่อได้มีการเสนอญัตติแล้ว จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมิได้ … ” การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเสนอญัตติขอเปิดอภิปราย ทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีนั้น เพื่อจำกัดตัดทอนอำนาจของนายกรัฐมนตรีลงไปว่าระหว่างที่ญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจอยู่ในสภา นายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้จนกว่าญัตตินั้นจะลงมติแล้ว เพราะไม่เช่นนั้นพอมีการยื่นญัตติดังกล่าวนายกรัฐมนตรีอาจจะเห็นว่าชื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่รวมทั้งเสียงข้างมากในสภาอาจทำให้ตนแพ้ญัตติไม่ไว้วางใจและชิงยุบสภาเสียก่อน ถ้าอย่างนั้นมันก็เกิดการเสียดุลขึ้นในระบบรัฐสภา คือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีทางไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารได้เลย ไม่มีทางอภิปรายได้ เพราะนายกรัฐมนตรียุบสภาได้ตลอดเวลา ซึ่งบทบัญญัติในประเด็นนี้เริ่มมีครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่เดิมมิได้กำหนดไว้ และในประวัติศาสตร์การยุบสภาผู้แทนราษฎร เคยมีกรณีที่มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจเกิดขึ้น คือในสมัย รัฐบาลของ [[คึกฤทธิ์_ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] พรรคกิจสังคมเป็นแกนนำจัดตั้ง รัฐบาลที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพียง 18 คน ประกอบด้วย[[พรรคการเมือง|พรรคการเมือง]]หลายพรรค มีความขัดแย้งกันตลอดแม้จะได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีก็ตาม ประกอบกับพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2519 จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ก่อนวันเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2 วัน


==การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย==
== การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย ==


ในประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 ที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในระบบรัฐสภา จนถึงปัจจุบัน (2552) ปรากฏว่ามีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมาแล้วรวม 11 ครั้ง อาจจะจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการยุบสภาผู้แทนราษฎรที่ผ่านมา<ref>กาญจนา เกิดโพธิ์รอด, อ้างแล้ว, หน้า 137-138.</ref> ได้ดังต่อไปนี้
ในประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 ที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในระบบรัฐสภา จนถึงปัจจุบัน (2552) ปรากฏว่ามีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมาแล้วรวม 11 ครั้ง อาจจะจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการยุบสภาผู้แทนราษฎรที่ผ่านมา<ref>กาญจนา เกิดโพธิ์รอด, อ้างแล้ว, หน้า 137-138.</ref> ได้ดังต่อไปนี้


1) เพื่อให้ฝ่ายบริหารใช้เป็นเครื่องมือถ่วงดุลอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ
1) เพื่อให้ฝ่ายบริหารใช้เป็นเครื่องมือถ่วงดุลอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ


2) เพื่ออุทธรณ์ข้อขัดแย้งต่อประชาชน
2) เพื่ออุทธรณ์ข้อขัดแย้งต่อประชาชน


3) เพื่อประโยชน์ของพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล
3) เพื่อประโยชน์ของพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล


4) เพื่อหาทางออกหรือทางตันเกี่ยวกับปัญหาทางการเมืองการปกครอง
4) เพื่อหาทางออกหรือทางตันเกี่ยวกับปัญหาทางการเมืองการปกครอง


เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ก็พบว่าแต่ละครั้งของการยุบสภาผู้แทนราษฎรล้วนมีเหตุการณ์และเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุแตกต่างกันไป ซึ่งพอสรุปถึงสาเหตุใหญ่ 3 ประการ<ref>ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, อ้างแล้ว, หน้า 23.</ref> ได้แก่ 1) ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ 2) ความขัดแย้งภายในพรรคการเมืองร่วมรัฐบาล และ 3) ปัญหาทางการเมืองหรือวิกฤตการณ์ทางการเมือง
เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ก็พบว่าแต่ละครั้งของการยุบสภาผู้แทนราษฎรล้วนมีเหตุการณ์และเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุแตกต่างกันไป ซึ่งพอสรุปถึงสาเหตุใหญ่ 3 ประการ<ref>ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, อ้างแล้ว, หน้า 23.</ref> ได้แก่ 1) ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ 2) ความขัดแย้งภายในพรรคการเมืองร่วมรัฐบาล และ 3) ปัญหาทางการเมืองหรือวิกฤตการณ์ทางการเมือง


ลำดับเหตุการณ์การยุบสภาผู้แทนราษฎรของผู้นำฝ่ายบริหารทั้ง 11 ครั้ง มีดังต่อไปนี้
ลำดับเหตุการณ์การยุบสภาผู้แทนราษฎรของผู้นำฝ่ายบริหารทั้ง 11 ครั้ง มีดังต่อไปนี้


{|
{|
|ครั้งที่ 1
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 11 กันยายน 2481|วันที่ 11 กันยายน 2481]]
|[[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา]]เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 2
| ครั้งที่ 1
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 15 ตุลาคม 2488|วันที่ 15 ตุลาคม 2488]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_11_กันยายน_2481|วันที่ 11 กันยายน 2481]]
|[[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา]]เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
| ครั้งที่ 2
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_15_ตุลาคม_2488|วันที่ 15 ตุลาคม 2488]]
| [[เสนีย์_ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 3
| ครั้งที่ 3
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 12 มกราคม 2519|วันที่ 12 มกราคม 2519]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_12_มกราคม_2519|วันที่ 12 มกราคม 2519]]
|[[คึกฤทธิ์ ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| [[คึกฤทธิ์_ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 4
| ครั้งที่ 4
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 19 มีนาคม 2526|วันที่ 19 มีนาคม 2526]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_19_มีนาคม_2526|วันที่ 19 มีนาคม 2526]]
|[[เปรม ติณสูลานนท์|พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| [[เปรม_ติณสูลานนท์|พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 5
| ครั้งที่ 5
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 1 พฤษภาคม 2529|วันที่ 1 พฤษภาคม 2529]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_1_พฤษภาคม_2529|วันที่ 1 พฤษภาคม 2529]]
|พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
| พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 6
| ครั้งที่ 6
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 29 เมษายน 2531|วันที่ 29 เมษายน 2531]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_29_เมษายน_2531|วันที่ 29 เมษายน 2531]]
|พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
| พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 7
| ครั้งที่ 7
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 30 มิถุนายน 2535|วันที่ 30 มิถุนายน 2535]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_30_มิถุนายน_2535|วันที่ 30 มิถุนายน 2535]]
|นาย[[อานันท์ ปันยารชุน]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| นาย[[อานันท์_ปันยารชุน|อานันท์ ปันยารชุน]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 8
| ครั้งที่ 8
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 19 พฤษภาคม 2538|วันที่ 19 พฤษภาคม 2538]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_19_พฤษภาคม_2538|วันที่ 19 พฤษภาคม 2538]]
|นาย[[ชวน หลีกภัย]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| นาย[[ชวน_หลีกภัย|ชวน หลีกภัย]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 9
| ครั้งที่ 9
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 28 กันยายน 2539|วันที่ 28 กันยายน 2539]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_28_กันยายน_2539|วันที่ 28 กันยายน 2539]]
|นาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| นาย[[บรรหาร_ศิลปอาชา|บรรหาร ศิลปอาชา]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 10  
| ครั้งที่ 10
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 9 พฤศจิกายน 2543|วันที่ 9 พศจิกายน 2543]]  
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_9_พฤศจิกายน_2543|วันที่ 9 พศจิกายน 2543]]
|นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
| นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|-
|ครั้งที่ 11
| ครั้งที่ 11
|[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549|วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549]]
| [[การยุบสภาผู้แทนราษฎร_วันที่_24_กุมภาพันธ์_2549|วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549]]
|[[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| [[ทักษิณ_ชินวัตร|พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|}
|}


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==


<references/>
<references />


==บรรณานุกรม==
== บรรณานุกรม ==


กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง, '''“การยุบสภาในประเทศไทย,”''' (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 2530.
กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง, '''“การยุบสภาในประเทศไทย,”''' (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 2530.


คนิณ บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์,''' กรุงเทพ : สุภาพใจ, 2548.
คนิณ บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์,''' กรุงเทพ&nbsp;: สุภาพใจ, 2548.


ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, '''ปัญหาทางกฎหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย,''' หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2546.
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, '''ปัญหาทางกฎหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย,''' หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2546.


วิษณุ เครืองาม, '''กฎหมายรัฐธรรมนูญ,''' พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : แสงสุทธิการพิมพ์, 2523.
วิษณุ เครืองาม, '''กฎหมายรัฐธรรมนูญ,''' พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร&nbsp;: แสงสุทธิการพิมพ์, 2523.


สภาร่างรัฐธรรมนูญ, '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,''' สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.
สภาร่างรัฐธรรมนูญ, '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,''' สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.


โอภาส ชัยนาม, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับสภาผู้แทนราษฎร”, '''รัฐสภาสาร 4''' (ธันวาคม 2499) : 10.
โอภาส ชัยนาม, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับสภาผู้แทนราษฎร”, '''รัฐสภาสาร 4''' (ธันวาคม 2499)&nbsp;: 10.


[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]
[[Category:การยุบสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:01, 17 มีนาคม 2560

ผู้เรียบเรียง วิริยะ คล้ายแดง

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


“การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอและสนองพระบรมราชโองการ นายกรัฐมนตรีมีอำนาจทำได้เสมอ นอกเสียจากว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ยอมลงพระปรมาภิไธย… แต่ก็ไม่เคยปรากฏลักษณะเช่นนี้มาก่อน”[1] วลีดังกล่าว คือคำให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์เมื่อปีพ.ศ. 2529 ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่เป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหารและมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ก่อนที่จะมีการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีทั้งคณะเพียง 2 วัน เพื่อยุติปัญหาความขัดแย้งภายในพรรคการเมืองร่วมรัฐบาล

ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และใช้รูปแบบระบบรัฐสภา แบ่งแยกผู้ใช้อำนาจออกเป็นสามฝ่าย ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ แต่ระบบรัฐสภานี้ มิได้ยอมรับหลักการแบ่งแยกอำนาจเด็ดขาด หมายถึงยินยอมให้ฝ่ายบริหารเกี่ยวข้องกับฝ่ายนิติบัญญัติได้ โดยฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภาด้วยการเข้ารับหน้าที่บริหารงานโดยความไว้วางใจของรัฐสภา และรัฐสภาอาจถูกควบคุมได้โดยฝ่ายบริหาร ซึ่งการควบคุมเช่นนี้แท้จริงแล้วเป็นการควบคุมโดยผ่านทางประมุขของรัฐนั่นเอง โดยนายกรัฐมนตรีอาจเสนอให้ประมุขของรัฐยุบสภานิติบัญญัติได้ในกรณีเกิดความขัดแย้งกัน[2]

สัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารเช่นนี้ เกี่ยวเนื่องกันด้วยอำนาจ ที่มีลักษณะของการแบ่งแยกอำนาจกันอย่างไม่เด็ดขาดเพื่อการควบคุมและถ่วงดุลย์อำนาจต่อกัน มิให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีน้ำหนักมากกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง[3] ซึ่งการยุบสภาผู้แทนราษฎร ถือว่าเป็นการใช้อำนาจของฝ่ายบริหารควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติโดยผ่านทางประมุขของรัฐ และเป็นวิธีการหนึ่งของหลักการถ่วงดุลอำนาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารอาจจำเป็นต้องใช้กลไกการยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่ออุทธรณ์ต่อประชาชน หรือหมายถึงการให้ประชาชนตัดสินปัญหาข้อขัดแย้ง โดยใช้การเลือกตั้งเป็นเครื่องมือชี้ขาดว่า ฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารเป็นผู้ปฏิบัติการตรงต่อเจตจำนงของประชาชน

ความหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎร

คำว่า “การยุบสภาผู้แทนราษฎร” อาจกล่าวหรือระบุแค่เพียง “การยุบสภา” ซึ่งมีความหมาย เช่นเดียวกันกับคำว่า การยุบสภาผู้แทนราษฎร

ศ.ดร.วิษณุ เครืองาม[4] ให้ความหมายคำว่า “การยุบสภา” ที่ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Dissolution of Parliament หมายถึง การที่ประมุขของรัฐโดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารประกาศให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงพร้อมกันก่อนครบวาระ

สำหรับปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย โดย คณิน บุญสุวรรณ[5] ให้ความหมายของการยุบสภา หมายถึง การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งต้องพ้นจากสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรไปพร้อมกัน และจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาที่ว่านี้ใช้กับสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับวุฒิสภา เพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา การยุบสภาผู้แทนราษฏร เป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งของการปกครองระบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ซึ่งให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายนิติบัญญัติ

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเรื่องการยุบสภาผู้แทนราษฎร

นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน (2552) บทบัญญัติเรื่องการยุบสภาได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเกือบทุกฉบับ ยกเว้น พระราชบัญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2515 รัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักร พุทธศักราช 2519 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 และธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. พุทธศักราช 2534[6] ซึ่งบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาของรัฐธรรมนูญจะมีหลักการคล้ายกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไว้ว่า

“มาตรา 108 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่

การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไปภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันยุบสภาผู้แทนราษฎร และวันเลือกตั้งนั้นต้องกำหนดเป็นวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

การยุบสภาผู้แทนราษฎรจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน"

ในช่วงเวลาการยกร่างรัฐธรรมนูญประเด็นนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม ของสภาร่างรัฐธรรมนูญ[7] ได้บันทึกเจตนารมณ์ของบทบัญญัติ มาตรา 108 ไว้ว่า

1) เจตนารมณ์เพื่อให้มีการถ่วงดุลอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหาร

2) หลักการเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เป็นครั้งแรก

3) หลักการคงเดิมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่แก้ไขเรื่องกำหนดระยะเวลา โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันยุบสภา ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งมีระยะเวลาพอสมควรในการเตรียมการเลือกตั้งให้พร้อม เนื่องจากการเลือกตั้งหลังการยุบสภาผู้แทนราษฎรเกิดขึ้นโดยกะทันหันไม่มีผู้ใดทราบล่วงหน้า

ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ[8] ได้วิเคราะห์เรื่องการยุบสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญไว้ดังต่อไปนี้

1. ผู้มีอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร รัฐธรรมนูญที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรทุกฉบับ บัญญัติให้พระมหากษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติว่า “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่….” ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาหัวหน้าของฝ่ายบริหารได้แก่ นายกรัฐมนตรี จะเป็นผู้ถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรทุกครั้ง แต่พระมหากษัตริย์อาจปฏิเสธการยุบสภาผู้แทนราษฎรได้โดยการไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว แม้รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจดังกล่าว ไว้ก็ตาม ถือว่าเป็นพระราชอำนาจตามพระราชอัธยาศัยอย่างหนึ่งตามประเพณีการปกครองแผ่นดิน เมื่อทั้งประมุขของรัฐได้แก่พระมหากษัตริย์ และหัวหน้าของฝ่ายบริหาร ได้แก่ นายกรัฐมนตรีต่างใช้อำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรโดยลำพังเองมิได้ต้องร่วมกันใช้อำนาจดังกล่าว หากฝ่ายใดปฏิเสธไม่ใช้อำนาจดังกล่าว การยุบสภาผู้แทนราษฎรก็เกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้นอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร จึงถือเป็นอำนาจร่วมระหว่างประมุขของรัฐกับหัวหน้าของฝ่ายบริหาร

2. รูปแบบของการยุบสภาผู้แทนราษฎร รัฐธรรมนูญที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบสภาผู้แทนราษฎรทุกฉบับ บัญญัติให้รูปแบบของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ต้องทำเป็นพระราชกฤษฎีกา ดังที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 108 ว่า “…การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา…”

3. ผลทางกฎหมายที่เกิดจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

     3.1 ทำให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพ้นจากตำแหน่งทันที เนื่องจากเมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงพร้อมกัน และต้องพ้นจากตำแหน่งทันทีจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปไม่ได้ เพราะเมื่อไม่มีสภาผู้แทนราษฎรแล้ว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ทำหน้าที่ต่อไปไม่ได้ ส่วนสมาชิกวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไป จนกว่าจะครบวาระ เพราะไม่มีรัฐธรรมนูญฉบับใดที่บัญญัติให้สมาชิกภาพของวุฒิสภาต้องสิ้นสุดลงเมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร

     3.2 ทำให้คณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่ง เพราะไม่มีสภาผู้แทนราษฎรไว้ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปแล้ว คณะรัฐมนตรีก็อยู่ในตำแหน่งต่อไปไม่ได้ แต่คณะรัฐมนตรียังคงปฏิบัติหน้าที่ได้ต่อไป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 181 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ โดยคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่ได้เท่าที่จำเป็น ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ดังต่อไปนี้

          1) ไม่กระทำการอันเป็นการใช้อำนาจแต่งตั้งหรือโยกย้ายข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ หรือพนักงานของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือให้บุคคลดังกล่าวพ้นจากการปฏิบัติหน้าที่หรือพ้นจากตำแหน่ง หรือให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้งก่อน

          2) ไม่กระทำการอันมีผลเป็นการอนุมัติให้ใช้จ่ายงบประมาณสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้งก่อน

          3) ไม่กระทำการอันมีผลเป็นการอนุมัติงานหรือโครงการ หรือมีผลเป็นการสร้างความผูกพันต่อคณะรัฐมนตรีชุดต่อไป

          4) ไม่ใช้ทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพื่อกระทำการใดซึ่งจะมีผลต่อการเลือกตั้ง และไม่กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนข้อห้ามตามระเบียบที่คณะกรรมการเลือกตั้งกำหนด

     3.3 ร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร หรือค้างการพิจารณาในวุฒิสภาเป็นอันตกไป โดยที่ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา รัฐสภา ได้แก่ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรเสียแล้วก็ไม่มีรัฐสภาที่จะให้คำแนะนำและยินยอม ร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาที่มาจากการริเริ่มเสนอของสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ก็ต้องตกไปด้วย เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน แต่ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติที่มีอันตกไป อาจนำกลับเข้ามาพิจารณาต่อเนื่องในสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่ได้อีกตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญกำหนด ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 153 บัญญัติว่า “ในกรณีที่อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา แล้วแต่กรณี จะพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังมิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปร้องขอภายในหกสิบวัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งทั่วไป และรัฐสภามีมติเห็นชอบด้วย แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีมิได้ร้องขอภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมหรือร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป”

4. ระยะเวลาที่มีผลทางกฎหมาย โดยทั่วไป วันที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรกับวันที่ประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรมักเป็นวันเดียวกัน แต่หากเป็นคนละวันกันตามกฎหมายจะถือว่ามีการยุบสภาผู้แทนราษฎรตามวันที่ประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกา เพราะการยุบสภาผู้แทนราษฎรจะมีผลทางกฎหมายต้องนับแต่วันที่มีการประกาศพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรในราชกิจจานุเบกษา

5. การห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี ในมาตรา 158 ว่า “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรี... และเมื่อได้มีการเสนอญัตติแล้ว จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมิได้ … ” การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติห้ามยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการเสนอญัตติขอเปิดอภิปราย ทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีนั้น เพื่อจำกัดตัดทอนอำนาจของนายกรัฐมนตรีลงไปว่าระหว่างที่ญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจอยู่ในสภา นายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้จนกว่าญัตตินั้นจะลงมติแล้ว เพราะไม่เช่นนั้นพอมีการยื่นญัตติดังกล่าวนายกรัฐมนตรีอาจจะเห็นว่าชื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่รวมทั้งเสียงข้างมากในสภาอาจทำให้ตนแพ้ญัตติไม่ไว้วางใจและชิงยุบสภาเสียก่อน ถ้าอย่างนั้นมันก็เกิดการเสียดุลขึ้นในระบบรัฐสภา คือฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีทางไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารได้เลย ไม่มีทางอภิปรายได้ เพราะนายกรัฐมนตรียุบสภาได้ตลอดเวลา ซึ่งบทบัญญัติในประเด็นนี้เริ่มมีครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่เดิมมิได้กำหนดไว้ และในประวัติศาสตร์การยุบสภาผู้แทนราษฎร เคยมีกรณีที่มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างที่มีการยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจเกิดขึ้น คือในสมัย รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช พรรคกิจสังคมเป็นแกนนำจัดตั้ง รัฐบาลที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพียง 18 คน ประกอบด้วยพรรคการเมืองหลายพรรค มีความขัดแย้งกันตลอดแม้จะได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีก็ตาม ประกอบกับพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้เสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2519 จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ก่อนวันเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2 วัน

การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย

ในประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 ที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในระบบรัฐสภา จนถึงปัจจุบัน (2552) ปรากฏว่ามีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมาแล้วรวม 11 ครั้ง อาจจะจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการยุบสภาผู้แทนราษฎรที่ผ่านมา[9] ได้ดังต่อไปนี้

1) เพื่อให้ฝ่ายบริหารใช้เป็นเครื่องมือถ่วงดุลอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ

2) เพื่ออุทธรณ์ข้อขัดแย้งต่อประชาชน

3) เพื่อประโยชน์ของพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล

4) เพื่อหาทางออกหรือทางตันเกี่ยวกับปัญหาทางการเมืองการปกครอง

เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุของการยุบสภาผู้แทนราษฎร ก็พบว่าแต่ละครั้งของการยุบสภาผู้แทนราษฎรล้วนมีเหตุการณ์และเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุแตกต่างกันไป ซึ่งพอสรุปถึงสาเหตุใหญ่ 3 ประการ[10] ได้แก่ 1) ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ 2) ความขัดแย้งภายในพรรคการเมืองร่วมรัฐบาล และ 3) ปัญหาทางการเมืองหรือวิกฤตการณ์ทางการเมือง

ลำดับเหตุการณ์การยุบสภาผู้แทนราษฎรของผู้นำฝ่ายบริหารทั้ง 11 ครั้ง มีดังต่อไปนี้

ครั้งที่ 1 วันที่ 11 กันยายน 2481 พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 2 วันที่ 15 ตุลาคม 2488 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 3 วันที่ 12 มกราคม 2519 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 4 วันที่ 19 มีนาคม 2526 พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 5 วันที่ 1 พฤษภาคม 2529 พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 6 วันที่ 29 เมษายน 2531 พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 7 วันที่ 30 มิถุนายน 2535 นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 8 วันที่ 19 พฤษภาคม 2538 นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 9 วันที่ 28 กันยายน 2539 นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 10 วันที่ 9 พศจิกายน 2543 นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 11 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี

อ้างอิง

  1. กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง, 2530. “การยุบสภาในประเทศไทย,” (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) หน้า 38.
  2. วิษณุ เครืองาม, 2523. กฎหมายรัฐธรรมนูญ, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : แสงสุทธิการพิมพ์, หน้า 194 – 195.
  3. กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง อ้างถึง โอภาส ชัยนาม, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับสภาผู้แทนราษฎร”, รัฐสภาสาร 4 (ธันวาคม 2499) : 10.
  4. วิษณุ เครืองาม, 2523. อ้างแล้ว, หน้า 284.
  5. คนิณ บุญสุวรรณ, 2548. ปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์, กรุงเทพ : สุภาพใจ, หน้า 724.
  6. ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, 2546. ปัญหาทางกฎหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย, หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. หน้า 39.
  7. สภาร่างรัฐธรรมนูญ, 2550. เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 108.
  8. คัดลอกและย่อความจาก ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, อ้างแล้ว, หน้า 15-23.
  9. กาญจนา เกิดโพธิ์รอด, อ้างแล้ว, หน้า 137-138.
  10. ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, อ้างแล้ว, หน้า 23.

บรรณานุกรม

กาญจนา เกิดโพธิ์ทอง, “การยุบสภาในประเทศไทย,” (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 2530.

คนิณ บุญสุวรรณ, ปทานุกรมคำศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์, กรุงเทพ : สุภาพใจ, 2548.

ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ, ปัญหาทางกฎหมายของการยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย, หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2546.

วิษณุ เครืองาม, กฎหมายรัฐธรรมนูญ, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : แสงสุทธิการพิมพ์, 2523.

สภาร่างรัฐธรรมนูญ, เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.

โอภาส ชัยนาม, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับสภาผู้แทนราษฎร”, รัฐสภาสาร 4 (ธันวาคม 2499) : 10.