ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"
สร้างหน้าด้วย "<div> ผู้แต่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล ผู้..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 8 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div> | <div> | ||
ผู้เรียบเรียง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล | |||
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายภัทระ คำพิทักษ์ | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายภัทระ คำพิทักษ์ | ||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
= กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 = | = กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 = | ||
</div> | </div> | ||
เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 | เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]ได้เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ และได้มีการยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2550|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ยกเว้นในหมวด 2 พระมหากษัตริย์ โดยให้เหตุผลว่าได้มีการเกิดสถานการณ์[[ความขัดแย้ง|ความขัดแย้ง]]ทางการเมืองขึ้นในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียงต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนลุกลามไปสู่แทบทุกภูมิภาคของประเทศ ประชาชนแตกแยกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ขาดความสามัคคีและมีทัศนคติไม่เป็นมิตรต่อกัน จนนำไปสู่การใช้กำลัง ส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพและการดำรงชีวิตของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองการใช้อำนาจในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร และในทางตุลาการ การบังคับใช้[[กฎหมาย|กฎหมาย]]ไม่ได้ผล คณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงจำเป็นต้องเข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ โดยได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาไว้สามระยะคือ ระยะเฉพาะหน้า เป็นการใช้อำนาจสกัดการใช้กำลังและการนำอาวุธมาใช้คุกคามประชาชน ยุติความหวาดระแวง และแก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง ที่สะสมมากว่าหกเดือนให้คลี่คลายลง เพื่อเตรียมเข้าสู่ระยะที่สองซึ่งจะจัดให้มี[[รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว|รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว]] จัดตั้งสภาขึ้นทำหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ และให้มีคณะรัฐบาล[[การบริหารราชการแผ่นดิน|บริหารราชการแผ่นดิน]] แก้ไขสถานการณ์อันวิกฤติให้กลับคืนสู่สภาวะปกติ ฟื้นฟูความสงบเรียบร้อย ความรู้รักสามัคคี และความเป็นธรรม แก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง จัดให้มีกฎหมายที่จำเป็นเร่งด่วน จัดตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและองค์กรต่าง ๆ เพื่อให้มีการปฏิรูปในด้านการเมืองและด้านอื่น ๆ และให้มีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่วางกติกาการเมืองให้รัดกุม เหมาะสม ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สามารถตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเป็นธรรม | ||
หลังจากนั้น เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 | หลังจากนั้น เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ประกาศประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งกำหนดกระบวนและขั้นตอนในการร่างรัฐธรรมนูญไว้โดย[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]] ได้เกิดจากกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญของคณะผู้จัดทำ 2 ชุด คือ 1) [[คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ|คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ]] จำนวน 36 คน โดยมี[[บวรศักดิ์_อุวรรณโณ|ศาสตราจารย์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]] เป็นประธานคณะกรรมาธิการ และ 2) [[คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ|คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ]] จำนวน 21 คน โดยมี[[มีชัย_ฤชุพันธ์|นายมีชัย ฤชุพันธ์]] เป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญของแต่ละคณะทำงานมีกระบวนการและขั้นตอนดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ | ||
<div> | <div> | ||
= '''กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญโดยคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ''' = | |||
</div> | </div> | ||
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง “คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ” ขึ้น เพื่อร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ | รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง “คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ” ขึ้น เพื่อร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ | ||
บรรทัดที่ 18: | บรรทัดที่ 18: | ||
'''ที่มาของคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ''' | '''ที่มาของคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ''' | ||
การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน | การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน นับแต่ที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก[[#_ftn1|[1]]] ซึ่งประกอบด้วยบุคคล ดังนี้ | ||
- ประธานคณะกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ | - ประธานคณะกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ | ||
- ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติ จำนวน | - ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติ จำนวน 20 คน | ||
- | - ผู้ซึ่ง[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] จำนวน 5 คน | ||
- | - ผู้ซึ่ง[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]] จำนวน 5 คน | ||
- ผู้ซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ จำนวน | - ผู้ซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ จำนวน 5 คน | ||
ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ | ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้[[ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ|ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ]]แต่งตั้งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตำแหน่งที่ว่างตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตำแหน่ง | ||
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน | คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตามมาตรา 31(2) ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติจะต้องเสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะดังกล่าวต่อ[[คณะกรรมาธิการ|คณะกรรมาธิการ]]ยกร่างรัฐธรรมนูญภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จให้นำร่างดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ | ||
'''1.1 กรอบและเนื้อหาสาระในการร่างรัฐธรรมนูญ''' | |||
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในมาตรา | การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 35 ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย | ||
( | (1) การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ | ||
( | (2) การให้มีการปกครอง[[ระบอบประชาธิปไตย|ระบอบประชาธิปไตย]]อันมี[[พระมหากษัตริย์|พระมหากษัตริย์]]ทรงเป็นประมุขที่เหมาะสมกับสภาพสังคมของไทย | ||
( | (3) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกำกับและควบคุมให้การใช้อำนาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน | ||
( | (4) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทำการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทำการอันทำให้การเลือกตั้งไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด | ||
( | (5) กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและพรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดำเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงำหรือชี้นำโดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย | ||
( | (6) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ | ||
( | (7) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมืองที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว | ||
( | (8) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่า และตอบสนองต่อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไกการตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ | ||
( | (9) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทำลายหลักการสำคัญที่รัฐธรรมนูญจะได้วางไว้ | ||
( | (10) กลไกที่จะผลักดันให้มี[[การปฏิรูป|การปฏิรูป]]เรื่องสำคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป | ||
โดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะต้องพิจารณาถึงความจำเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จำเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดำเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย | โดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะต้องพิจารณาถึงความจำเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จำเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดำเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย | ||
บรรทัดที่ 74: | บรรทัดที่ 74: | ||
'''1.2 ระยะเวลาในการร่างรัฐธรรมนูญ''' | '''1.2 ระยะเวลาในการร่างรัฐธรรมนูญ''' | ||
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน | คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตามมาตรา 31(2) ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติจะต้องเสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จให้นำร่างดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ | ||
ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปตามมาตรา | ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปตามมาตรา 37 ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการดำเนินการเพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ขึ้น เพื่อดำเนินการแทนตามอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ | ||
หากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน | หากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง ทั้งนี้ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดเดิมที่สิ้นสุดนี้ จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีชุดใหม่มิได้ | ||
'''1.3 ขั้นตอนการการนำร่างรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาขอความเห็นชอบ''' | '''1.3 ขั้นตอนการการนำร่างรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาขอความเห็นชอบ''' | ||
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา | เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 36 ดังนี้ | ||
1. เสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทำเสร็จต่อประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณาเสนอแนะ หรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายใน | 1. เสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทำเสร็จต่อประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณาเสนอแนะ หรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายใน 10 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ | ||
2. ส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติด้วย | 2. ส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติด้วย | ||
บรรทัดที่ 92: | บรรทัดที่ 92: | ||
ร่างรัฐธรรมนูญที่แล้วเสร็จนี้ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี หรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สามารถเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ โดยการยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ดังนี้ | ร่างรัฐธรรมนูญที่แล้วเสร็จนี้ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี หรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สามารถเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ โดยการยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ดังนี้ | ||
| 1. สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณาตามวรรคหนึ่ง คำขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคำขอหรือที่ให้คำรับรองคำขอของสมาชิกอื่นแล้ว จะยื่นคำขอหรือรับรองคำขอของสมาชิกอื่นอีกมิได้ | ||
| 2. คณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ | ||
'''1.5 การพิจารณาความเห็นหรือคำขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ''' | '''1.5 การพิจารณาความเห็นหรือคำขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ''' | ||
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน | ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ครบกำหนดยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมตามมาตรา 36 วรรคสอง ในการนี้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญอาจแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่เห็นสมควร ในกรณีที่คำขอแก้ไขเพิ่มเติมมีประเด็นที่ต้องพิจารณาเป็นจำนวนมากหรืออาจมีผลกระทบต่อโครงสร้างของร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นว่าไม่อาจพิจารณาให้แล้วเสร็จได้ภายในกำหนดเวลาดังกล่าว คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะมีมติให้ขยายระยะเวลาพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมออกไปได้อีกครั้งหนึ่งซึ่งต้องไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว และให้แจ้งมติขยายระยะเวลาพร้อมเหตุผลให้สภาปฏิรูปแห่งชาติทราบก่อนครบกำหนดเวลานั้นด้วย[[#_ftn2|[2]]] | ||
'''1.6 การพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ''' | '''1.6 การพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ''' | ||
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ แล้วให้สภาปฏิรูปแห่งชาติรอไว้ | เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ แล้วให้สภาปฏิรูปแห่งชาติรอไว้ 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมเพื่อลงมติให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ครบกำหนดดังกล่าว ในการนี้จะมีการแก้ไขเพิ่มเติมใดๆ มิได้ เว้นแต่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้แก้ไขเฉพาะในกรณีพบเห็นข้อผิดพลาดที่มิใช่สาระสำคัญและจำเป็นต้องแก้ไขให้ถูกต้องครบถ้วน | ||
และเมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญ | และเมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญ ให้แจ้งคณะรัฐมนตรีทราบและให้คณะรัฐมนตรีแจ้ง[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]]ทราบโดยเร็ว โดยให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการดำเนินการให้มี[[การออกเสียงประชามติ|การออกเสียงประชามติ]]ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา|ราชกิจจานุเบกษา]] ทั้งนี้ ให้นำ[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ_พ.ศ._2552|พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ_พ.ศ._2552]] ในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดและบทกำหนดโทษมาใช้บังคับแก่การดำเนินการออกเสียงประชามติตามรัฐธรรมนูญนี้ด้วย | ||
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้นำเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่แล้วเสร็จและนำต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ในวันที่ 6 กันยายน 2558 และที่ประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติได้ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนน 135 ต่อ 105 เสียง งดออกเสียง 7 คน เป็นผลทำให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นอันตกไป และมีผลทำให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง ในการนี้ การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการชุดใหม่นี้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีมิได้ | คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้นำเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่แล้วเสร็จและนำต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ในวันที่ 6 กันยายน 2558 และที่ประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติได้ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนน 135 ต่อ 105 เสียง งดออกเสียง 7 คน เป็นผลทำให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นอันตกไป และมีผลทำให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง ในการนี้ การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการชุดใหม่นี้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีมิได้ | ||
ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. | ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 8 ของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พ.ศ._2557_(ฉบับที่_1)|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พ.ศ._2557_(ฉบับที่_1)]] พ.ศ. 2558 มาตรา 39/1 ได้กำหนดให้ “ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง หรือนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลงตามมาตรา 39 หรือนับแต่วันที่ร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันตกไปตามมาตรา 37 วรรคแปด แล้วแต่กรณี ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกไม่เกิน 21 คน เพื่อทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง โดยให้นำมาตรา 33 และมาตรา 35 มาใช้บังคับโดยอนุโลม” | ||
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยจึงได้ออกประกาศรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยมีนายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธานกรรมการ และกรรมการอื่นอีก จำนวน 20 คน ทำหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน | คณะรักษาความสงบเรียบร้อยจึงได้ออกประกาศรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยมีนายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธานกรรมการ และกรรมการอื่นอีก จำนวน 20 คน ทำหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง | ||
<div> | <div> | ||
= '''กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ''' = | |||
</div> | </div> | ||
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน | คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน กรอบในการร่างรัฐธรรมนูญ ยังคงยึดตามหลักการในมาตรา 35 ทั้งนี้ ในระหว่างการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญรับฟังความคิดเห็นของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประชาชน ประกอบด้วย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และภายในกำหนดเวลาที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญกำหนด โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้เสนอกรอบในการร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มเติม 5 ประการ ดังนี้ | ||
1. ให้ร่างรัฐธรรมนูญให้เป็นที่ยอมรับนับถือของสากล แต่ขณะเดียวกันต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหา ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประเทศและคนไทยที่มีอยู่หรือเป็นอยู่ | 1. ให้ร่างรัฐธรรมนูญให้เป็นที่ยอมรับนับถือของสากล แต่ขณะเดียวกันต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหา ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประเทศและคนไทยที่มีอยู่หรือเป็นอยู่ | ||
บรรทัดที่ 125: | บรรทัดที่ 125: | ||
5. ให้สร้างกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้มีการมีส่วนร่วมของประชาชนในอันที่จะปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ และร่วมกันรับรู้และรับผิดชอบต่อความเจริญและการพัฒนาประเทศและสังคมโดยรวม | 5. ให้สร้างกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้มีการมีส่วนร่วมของประชาชนในอันที่จะปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ และร่วมกันรับรู้และรับผิดชอบต่อความเจริญและการพัฒนาประเทศและสังคมโดยรวม | ||
'''2.1 ขั้นตอนการการนำร่างรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาขอความเห็นชอบ''' | '''2.1 ขั้นตอนการการนำร่างรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาขอความเห็นชอบ''' | ||
บรรทัดที่ 138: | บรรทัดที่ 136: | ||
การจัดให้มีการออกเสียงประชามติ ให้ออกเสียงประชามติว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ โดยต้องกระทำในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร ในการนี้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะมีมติเสนอประเด็นอื่นใดไม่เกินหนึ่งประเด็นที่สมควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพิ่มเติมว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบพร้อมไปในคราวเดียวกันด้วยก็ได้ แต่ทั้งนี้ ต้องเสนอภายในสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคสามเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติรับฟังความคิดเห็นของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศประกอบการพิจารณาด้วย | การจัดให้มีการออกเสียงประชามติ ให้ออกเสียงประชามติว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ โดยต้องกระทำในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร ในการนี้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะมีมติเสนอประเด็นอื่นใดไม่เกินหนึ่งประเด็นที่สมควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพิ่มเติมว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบพร้อมไปในคราวเดียวกันด้วยก็ได้ แต่ทั้งนี้ ต้องเสนอภายในสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคสามเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติรับฟังความคิดเห็นของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศประกอบการพิจารณาด้วย | ||
| กำหนดเวลาการออกเสียงประชามติ | ||
ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดวันออกเสียงประชามติ ซึ่งต้องไม่เร็วกว่าเก้าสิบวันแต่ไม่ช้ากว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญส่งคำอธิบายสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง | ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดวันออกเสียงประชามติ ซึ่งต้องไม่เร็วกว่าเก้าสิบวันแต่ไม่ช้ากว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญส่งคำอธิบายสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง | ||
บรรทัดที่ 144: | บรรทัดที่ 142: | ||
''' 2.3 การเสนอประเด็นเพื่ออกเสียงประชามติเพิ่มเติม''' | ''' 2.3 การเสนอประเด็นเพื่ออกเสียงประชามติเพิ่มเติม''' | ||
สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะมีมติเสนอประเด็นอื่นที่สมควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพิ่มเติมว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบพร้อมไปในคราวเดียวกันด้วยก็ได้ โดยต้องเสนอภายใน | สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะมีมติเสนอประเด็นอื่นที่สมควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพิ่มเติมว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบพร้อมไปในคราวเดียวกันด้วยก็ได้ โดยต้องเสนอภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญและเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติรับฟังความคิดเห็นของ[[สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ|สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ]]ประกอบการพิจารณาด้วย | ||
และในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้มีการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติมดังกล่าว และเสียงข้างมากของผู้ออกเสียงประชามติเห็นชอบด้วยกับประเด็นนั้น หากจะมีผลให้บทบัญญัติของร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดำเนินการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติให้แล้วเสร็จภายใน | และในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้มีการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติมดังกล่าว และเสียงข้างมากของผู้ออกเสียงประชามติเห็นชอบด้วยกับประเด็นนั้น หากจะมีผลให้บทบัญญัติของร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดำเนินการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผลการออกเสียงประชามติ แล้วส่งร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาว่าเป็นการชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติแล้วหรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ | ||
หากศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่าได้มีการแก้ไขให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติแล้วหรือในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่าบทบัญญัติใดยังไม่สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติและได้ส่งร่างรัฐธรรมนูญคืนให้แก่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้ดำเนินการแก้ไขตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยแล้วซึ่งต้องทำให้แล้วเสร็จภายใน | หากศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่าได้มีการแก้ไขให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติแล้วหรือในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่าบทบัญญัติใดยังไม่สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติและได้ส่งร่างรัฐธรรมนูญคืนให้แก่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้ดำเนินการแก้ไขตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยแล้วซึ่งต้องทำให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน | ||
ในการออกเสียงประชามติ ถ้าผลการออกเสียงประชามติมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญมากกว่าคะแนนเสียงไม่เห็นชอบ ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน | ในการออกเสียงประชามติ ถ้าผลการออกเสียงประชามติมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญมากกว่าคะแนนเสียงไม่เห็นชอบ ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผลการออกเสียงประชามติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนอง[[พระบรมราชโองการ|พระบรมราชโองการ]] | ||
เมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมแล้ว หากมีกรณีที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกตว่าสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อความใดภายใน ๙๐ วัน ให้นายกรัฐมนตรีขอรับพระราชทานร่างรัฐธรรมนูญนั้นคืนมา เพื่อดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมเฉพาะประเด็นตามข้อสังเกตนั้นและประเด็นที่เกี่ยวเนื่อง และแก้ไขเพิ่มเติมคำปรารภของร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกัน แล้วให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายใหม่ภายใน | เมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมแล้ว หากมีกรณีที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกตว่าสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อความใดภายใน ๙๐ วัน ให้นายกรัฐมนตรีขอรับพระราชทานร่างรัฐธรรมนูญนั้นคืนมา เพื่อดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมเฉพาะประเด็นตามข้อสังเกตนั้นและประเด็นที่เกี่ยวเนื่อง และแก้ไขเพิ่มเติมคำปรารภของร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกัน แล้วให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายใหม่ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับพระราชทานคืนมาตามที่ขอ เมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายและทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ | ||
ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้น | ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้น 90 วัน นับแต่วันที่นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้วแต่กรณี ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นเป็นอันตกไป | ||
สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 คณะกรรมการเลือกตั้งได้กำหนดให้มีการลงประชามติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ | สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 คณะกรรมการเลือกตั้งได้กำหนดให้มีการลงประชามติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ พร้อมด้วยประเด็นคำถามพ่วงซึ่งเป็นประเด็นเพิ่มเติมจาก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ([[สนช.|สนช.]]) ว่า “ท่านเห็นชอบหรือไม่ว่า เพื่อให้การปฏิรูปประเทศเกิดความต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติ สมควรกำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลว่า ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี” โดยจัดให้มีการลงประชามติ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559[[#_ftn4|[4]]] ผลการลงประชามติปรากฏว่าประชนมีมติเสียงข้างมากเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนนเสียง 16,820,402 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 61.35 ขณะที่คำถามพ่วงว่าด้วยการกำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเลือกนายกรัฐมนตรีภายในระยะเวลา 5 ปีแรกผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง 15,132,050 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 58.7 [[#_ftn5|[5]]] ซึ่งผลจากคำถามพ่วงนี้ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจึงได้นำร่างรัฐธรรมนูญไปปรับปรุงในบางมาตราและในบทเฉพาะกาลเพื่อให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติมนั้น โดยได้มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๗๒ ซึ่งเป็นบทเฉพาะกาล และส่งร่างรัฐธรรมนูญให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา | ||
| ผลคำวินิจฉัยของ[[ศาลรัฐธรรมนูญ|ศาลรัฐธรรมนูญ]]สามารถสรุปได้ ดังนี้[[#_ftn6|[6]]] | ||
| 1. ผู้ที่มีสิทธิเสนอชื่อ[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]และผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบนายกรัฐมนตรี | ||
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ตามที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูนได้แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามมาตรา | ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ตามที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูนได้แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามมาตรา 272 วรรคแรก โดยกำหนดให้ผู้มีสิทธิเสนอชื่อบุคคลที่สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคือ[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] และผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบให้กระทำในที่ประชุมร่วมกันของทั้งสองสภานั้นสอดคล้องและชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติแล้ว | ||
| 2. ผู้มีสิทธิเสนอขอยกเว้นการเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อ และมติในการให้ความเห็นชอบ | ||
ร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา | ร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 วรรคสองที่กำหนดให้ในกรณีที่ไม่แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่บัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 ให้เป็นหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอต่อ[[ประธานรัฐสภา|ประธานรัฐสภา]]เพื่อขอให้[[รัฐสภา|รัฐสภา]]มีมติยกเว้นไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อดังกล่าว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขในมาตรา 272 วรรคสองในประเด็นยกเว้นไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่[[พรรคการเมือง|พรรคการเมือง]]แจ้งไว้ตามมาตรา 88 นี้ ไม่สอดคล้องและไม่ชอบด้วยผลการออกเสียงประชามติ ส่วนมติในการให้ความเห็นให้ยกเว้น คือ มติไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภานั้นชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติแล้ว | ||
| 3. กำหนดเวลาและวันเริ่มนับเวลาตามร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 วรรคหนึ่งและวรรคสอง | ||
ร่างรัฐธรรมนูญมาตรา | ร่างรัฐธรรมนูญมาตรา 272 ที่กำหนดว่า "ในระหว่าง 5 ปี แรก นับแต่วันที่มีรัฐสภาภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามมาตรา 268..." จึงเป็นประเด็นว่า"รัฐสภา" หมายถึงสภาใด ซึ่งตามร่างรัฐธรรมนูญแปลเจตนารมณ์ว่า “รัฐสภา หมายถึง ที่[[ประชุมร่วมกันของรัฐสภา|ประชุมร่วมกันของรัฐสภา]] คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา” ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งได้มีการแก้ไขในเรื่องกำหนดเวลาและวันเริ่มนับเวลาตามร่างรัฐธรรมนูญมาตรา 272 วรรคหนึ่งและวรรคสอง นี้ ไม่สอดคล้องและไม่ชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติ | ||
จากผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจึงได้แก้ไขตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ในร่างรัฐธรรมนูญมาตรา | จากผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจึงได้แก้ไขตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ในร่างรัฐธรรมนูญมาตรา 272 ดังนี้ | ||
| 1) ผู้ที่มีสิทธิขอยกเว้นไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ คือ สมาชิกรัฐสภาจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา | ||
| 2) กำหนดเวลาและวันเริ่มนับเวลา ตามมาตรา 272 วรรคหนึ่งและวรรคสอง คือ ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ | ||
หลังจากนั้นเมื่อปรับปรุงร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้นแล้วคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะทำการส่งร่างกลับคืนนายกรัฐมนตรีให้นำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญ และประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560[[#_ftn7|[7]]] ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ที่ผ่านการออกเสียงประชามติ ต่อจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 | หลังจากนั้นเมื่อปรับปรุงร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้นแล้วคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะทำการส่งร่างกลับคืนนายกรัฐมนตรีให้นำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญ และประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560[[#_ftn7|[7]]] ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ที่ผ่านการออกเสียงประชามติ ต่อจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 | ||
บรรทัดที่ 193: | บรรทัดที่ 191: | ||
| style="width:237px;" | | | style="width:237px;" | | ||
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ''''''2560''' | '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ''''''2560''' | ||
|- | |- | ||
บรรทัดที่ 243: | บรรทัดที่ 241: | ||
| | ||
<div> | <div> | ||
= '''บรรณานุกรม''' = | |||
</div> | </div> | ||
คำชี้แจงของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญประกอบการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติม. สืบค้นจาก https://cdc.parliament.go.th/draftconstitution2/download/article/article_20160908100646.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. | คำชี้แจงของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญประกอบการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติม. สืบค้นจาก [https://cdc.parliament.go.th/draftconstitution2/download/article/article_20160908100646.pdf https://cdc.parliament.go.th/draftconstitution2/download/article/article_20160908100646.pdf] สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. | ||
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 32 ก ลงวันที่ 20 เมษายน 2559. | ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 32 ก ลงวันที่ 20 เมษายน 2559. | ||
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียงประชามติ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 69 ก ลงวันที่ 11 เมษายน 2559. สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. | ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียงประชามติ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 69 ก ลงวันที่ 11 เมษายน 2559. สืบค้นจาก [https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf] เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. | ||
ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2558 | ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2558 | ||
พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, สรุปคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญที่ ๖/๒๕๕๙ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙, จุลนิติ: พ.ย. - ธ.ค. ๕๙ สืบค้นจาก เมื่อวันที่ http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf | พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, สรุปคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญที่ ๖/๒๕๕๙ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙, จุลนิติ: พ.ย. - ธ.ค. ๕๙ สืบค้นจาก เมื่อวันที่ [http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf] | ||
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 | รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 | ||
บรรทัดที่ 275: | บรรทัดที่ 273: | ||
[[#_ftnref4|[4]]] ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 32 ก ลงวันที่ 20 เมษายน 2559. | [[#_ftnref4|[4]]] ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 32 ก ลงวันที่ 20 เมษายน 2559. | ||
</div> <div id="ftn5"> | </div> <div id="ftn5"> | ||
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียงประชามติ, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 69 ก ลงวันที่ 11 เมษายน 2559, สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. | ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียงประชามติ, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 69 ก ลงวันที่ 11 เมษายน 2559, สืบค้นจาก [https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf] เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. | ||
</div> <div id="ftn6"> | </div> <div id="ftn6"> | ||
[[#_ftnref6|[6]]] พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, สรุปคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญที่ ๖/๒๕๕๙ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙, จุลนิติ: พ.ย. - ธ.ค. ๕๙ สืบค้นจาก เมื่อวันที่ http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf. | [[#_ftnref6|[6]]] พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, สรุปคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญที่ ๖/๒๕๕๙ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙, จุลนิติ: พ.ย. - ธ.ค. ๕๙ สืบค้นจาก เมื่อวันที่ [http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf]. | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 40 ก หน้า 1. | [[#_ftnref7|[7]]] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 40 ก หน้า 1. | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:รัฐธรรมนูญ]] | | ||
| |||
[[Category:กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญ]] [[Category:รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:36, 18 มีนาคม 2563
ผู้เรียบเรียง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายภัทระ คำพิทักษ์
กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ และได้มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยกเว้นในหมวด 2 พระมหากษัตริย์ โดยให้เหตุผลว่าได้มีการเกิดสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองขึ้นในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียงต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนลุกลามไปสู่แทบทุกภูมิภาคของประเทศ ประชาชนแตกแยกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ขาดความสามัคคีและมีทัศนคติไม่เป็นมิตรต่อกัน จนนำไปสู่การใช้กำลัง ส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพและการดำรงชีวิตของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองการใช้อำนาจในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร และในทางตุลาการ การบังคับใช้กฎหมายไม่ได้ผล คณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงจำเป็นต้องเข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ โดยได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาไว้สามระยะคือ ระยะเฉพาะหน้า เป็นการใช้อำนาจสกัดการใช้กำลังและการนำอาวุธมาใช้คุกคามประชาชน ยุติความหวาดระแวง และแก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง ที่สะสมมากว่าหกเดือนให้คลี่คลายลง เพื่อเตรียมเข้าสู่ระยะที่สองซึ่งจะจัดให้มีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว จัดตั้งสภาขึ้นทำหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ และให้มีคณะรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดิน แก้ไขสถานการณ์อันวิกฤติให้กลับคืนสู่สภาวะปกติ ฟื้นฟูความสงบเรียบร้อย ความรู้รักสามัคคี และความเป็นธรรม แก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง จัดให้มีกฎหมายที่จำเป็นเร่งด่วน จัดตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและองค์กรต่าง ๆ เพื่อให้มีการปฏิรูปในด้านการเมืองและด้านอื่น ๆ และให้มีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่วางกติกาการเมืองให้รัดกุม เหมาะสม ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สามารถตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเป็นธรรม
หลังจากนั้น เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ประกาศประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งกำหนดกระบวนและขั้นตอนในการร่างรัฐธรรมนูญไว้โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้เกิดจากกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญของคณะผู้จัดทำ 2 ชุด คือ 1) คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 36 คน โดยมีศาสตราจารย์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เป็นประธานคณะกรรมาธิการ และ 2) คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 21 คน โดยมีนายมีชัย ฤชุพันธ์ เป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญของแต่ละคณะทำงานมีกระบวนการและขั้นตอนดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญโดยคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง “คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ” ขึ้น เพื่อร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ที่มาของคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ
การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน นับแต่ที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก[1] ซึ่งประกอบด้วยบุคคล ดังนี้
- ประธานคณะกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ
- ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติ จำนวน 20 คน
- ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จำนวน 5 คน
- ผู้ซึ่งคณะรัฐมนตรี จำนวน 5 คน
- ผู้ซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ จำนวน 5 คน
ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตำแหน่งที่ว่างตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตำแหน่ง
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตามมาตรา 31(2) ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติจะต้องเสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จให้นำร่างดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ
1.1 กรอบและเนื้อหาสาระในการร่างรัฐธรรมนูญ
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 35 ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย
(1) การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
(2) การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่เหมาะสมกับสภาพสังคมของไทย
(3) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกำกับและควบคุมให้การใช้อำนาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน
(4) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทำการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทำการอันทำให้การเลือกตั้งไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด
(5) กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและพรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดำเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงำหรือชี้นำโดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(6) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
(7) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมืองที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว
(8) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่า และตอบสนองต่อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไกการตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ
(9) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทำลายหลักการสำคัญที่รัฐธรรมนูญจะได้วางไว้
(10) กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสำคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป
โดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะต้องพิจารณาถึงความจำเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จำเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดำเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย
นอกจากนี้ ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะต้องนำความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากภาคส่วนต่างๆ เพื่อประกอบการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญด้วย ดังนี้
- สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- คณะรัฐมนตรี และ
- คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และ
- ภาคประชาชน และ
- หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.2 ระยะเวลาในการร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 120 นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตามมาตรา 31(2) ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติจะต้องเสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จให้นำร่างดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ
ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปตามมาตรา 37 ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการดำเนินการเพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ขึ้น เพื่อดำเนินการแทนตามอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้
หากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง ทั้งนี้ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดเดิมที่สิ้นสุดนี้ จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีชุดใหม่มิได้
1.3 ขั้นตอนการการนำร่างรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาขอความเห็นชอบ
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 36 ดังนี้
1. เสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทำเสร็จต่อประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณาเสนอแนะ หรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายใน 10 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ
2. ส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติด้วย
1.4 การเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ
ร่างรัฐธรรมนูญที่แล้วเสร็จนี้ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี หรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สามารถเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ โดยการยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ดังนี้
1. สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณาตามวรรคหนึ่ง คำขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคำขอหรือที่ให้คำรับรองคำขอของสมาชิกอื่นแล้ว จะยื่นคำขอหรือรับรองคำขอของสมาชิกอื่นอีกมิได้
2. คณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ
1.5 การพิจารณาความเห็นหรือคำขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ครบกำหนดยื่นคำขอแก้ไขเพิ่มเติมตามมาตรา 36 วรรคสอง ในการนี้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญอาจแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่เห็นสมควร ในกรณีที่คำขอแก้ไขเพิ่มเติมมีประเด็นที่ต้องพิจารณาเป็นจำนวนมากหรืออาจมีผลกระทบต่อโครงสร้างของร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นว่าไม่อาจพิจารณาให้แล้วเสร็จได้ภายในกำหนดเวลาดังกล่าว คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะมีมติให้ขยายระยะเวลาพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมออกไปได้อีกครั้งหนึ่งซึ่งต้องไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาพิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว และให้แจ้งมติขยายระยะเวลาพร้อมเหตุผลให้สภาปฏิรูปแห่งชาติทราบก่อนครบกำหนดเวลานั้นด้วย[2]
1.6 การพิจารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ แล้วให้สภาปฏิรูปแห่งชาติรอไว้ 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมเพื่อลงมติให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ครบกำหนดดังกล่าว ในการนี้จะมีการแก้ไขเพิ่มเติมใดๆ มิได้ เว้นแต่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้แก้ไขเฉพาะในกรณีพบเห็นข้อผิดพลาดที่มิใช่สาระสำคัญและจำเป็นต้องแก้ไขให้ถูกต้องครบถ้วน
และเมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญ ให้แจ้งคณะรัฐมนตรีทราบและให้คณะรัฐมนตรีแจ้งคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบโดยเร็ว โดยให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการดำเนินการให้มีการออกเสียงประชามติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ ให้นำพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ_พ.ศ._2552 ในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดและบทกำหนดโทษมาใช้บังคับแก่การดำเนินการออกเสียงประชามติตามรัฐธรรมนูญนี้ด้วย
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้นำเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่แล้วเสร็จและนำต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ในวันที่ 6 กันยายน 2558 และที่ประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติได้ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนน 135 ต่อ 105 เสียง งดออกเสียง 7 คน เป็นผลทำให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นอันตกไป และมีผลทำให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง ในการนี้ การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการชุดใหม่นี้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีมิได้
ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 8 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พ.ศ._2557_(ฉบับที่_1) พ.ศ. 2558 มาตรา 39/1 ได้กำหนดให้ “ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง หรือนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลงตามมาตรา 39 หรือนับแต่วันที่ร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันตกไปตามมาตรา 37 วรรคแปด แล้วแต่กรณี ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกไม่เกิน 21 คน เพื่อทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง โดยให้นำมาตรา 33 และมาตรา 35 มาใช้บังคับโดยอนุโลม”
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยจึงได้ออกประกาศรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยมีนายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธานกรรมการ และกรรมการอื่นอีก จำนวน 20 คน ทำหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน กรอบในการร่างรัฐธรรมนูญ ยังคงยึดตามหลักการในมาตรา 35 ทั้งนี้ ในระหว่างการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญรับฟังความคิดเห็นของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประชาชน ประกอบด้วย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และภายในกำหนดเวลาที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญกำหนด โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้เสนอกรอบในการร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มเติม 5 ประการ ดังนี้
1. ให้ร่างรัฐธรรมนูญให้เป็นที่ยอมรับนับถือของสากล แต่ขณะเดียวกันต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหา ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประเทศและคนไทยที่มีอยู่หรือเป็นอยู่
2. ให้มีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการปฏิรูปและสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นให้ได้
3. ให้มีมาตรการป้องกันไม่ให้การเมืองใช้อำนาจแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองและพวกพ้อง โดยใช้เงินแผ่นดินไปอ่อยเหยื่อกับประชาชนเพื่อสร้างความชอบธรรม โดยมิได้มุ่งหมายให้ประชาชนอยู่ดีมีสุขในระยะยาว จนเกิดความเสียหายแก่ประเทศอย่างร้ายแรง และเกิดวิกฤตที่หาทางออกไม่ได้
4. มีแนวทางการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างได้ผล
5. ให้สร้างกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้มีการมีส่วนร่วมของประชาชนในอันที่จะปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ และร่วมกันรับรู้และรับผิดชอบต่อความเจริญและการพัฒนาประเทศและสังคมโดยรวม
2.1 ขั้นตอนการการนำร่างรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาขอความเห็นชอบ
เมื่อคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้วให้แจ้งคณะรัฐมนตรีทราบ และให้คณะรัฐมนตรีแจ้งคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบโดยเร็ว โดยให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการดำเนินการให้มีการออกเสียงประชามติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและประกาศในราชกิจจานุเบกษา[3]
2.2 การจัดให้มีการออกเสียงประชามติ
เมื่อคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้นำร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไปดำเนินการออกเสียงประชามติให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับโดยไม่ต้องผ่านการพิจารณาของสภาใดๆ และให้แจ้งคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบ และให้คณะรัฐมนตรีแจ้งคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบโดยเร็ว เพื่อดำเนินการจัดให้มีการออกเสียงประชามติตามมาตรานี้ และให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจัดทำคำอธิบายสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญโดยสรุปในลักษณะที่ประชาชนจะสามารถเข้าใจเนื้อหาสำคัญ ๆ ของร่างรัฐธรรมนูญได้โดยสะดวก และส่งให้คณะกรรมการการเลือกตั้งภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันถัดจากวันที่แจ้งคณะรัฐมนตรี
การจัดให้มีการออกเสียงประชามติ ให้ออกเสียงประชามติว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ โดยต้องกระทำในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร ในการนี้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะมีมติเสนอประเด็นอื่นใดไม่เกินหนึ่งประเด็นที่สมควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพิ่มเติมว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบพร้อมไปในคราวเดียวกันด้วยก็ได้ แต่ทั้งนี้ ต้องเสนอภายในสิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคสามเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติรับฟังความคิดเห็นของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศประกอบการพิจารณาด้วย
กำหนดเวลาการออกเสียงประชามติ
ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดวันออกเสียงประชามติ ซึ่งต้องไม่เร็วกว่าเก้าสิบวันแต่ไม่ช้ากว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันถัดจากวันที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญส่งคำอธิบายสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง
2.3 การเสนอประเด็นเพื่ออกเสียงประชามติเพิ่มเติม
สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะมีมติเสนอประเด็นอื่นที่สมควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพิ่มเติมว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบพร้อมไปในคราวเดียวกันด้วยก็ได้ โดยต้องเสนอภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญและเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติรับฟังความคิดเห็นของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศประกอบการพิจารณาด้วย
และในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้มีการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติมดังกล่าว และเสียงข้างมากของผู้ออกเสียงประชามติเห็นชอบด้วยกับประเด็นนั้น หากจะมีผลให้บทบัญญัติของร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดำเนินการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผลการออกเสียงประชามติ แล้วส่งร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาว่าเป็นการชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติแล้วหรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ
หากศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่าได้มีการแก้ไขให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติแล้วหรือในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่าบทบัญญัติใดยังไม่สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติและได้ส่งร่างรัฐธรรมนูญคืนให้แก่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้ดำเนินการแก้ไขตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยแล้วซึ่งต้องทำให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน
ในการออกเสียงประชามติ ถ้าผลการออกเสียงประชามติมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญมากกว่าคะแนนเสียงไม่เห็นชอบ ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผลการออกเสียงประชามติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
เมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมแล้ว หากมีกรณีที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกตว่าสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อความใดภายใน ๙๐ วัน ให้นายกรัฐมนตรีขอรับพระราชทานร่างรัฐธรรมนูญนั้นคืนมา เพื่อดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมเฉพาะประเด็นตามข้อสังเกตนั้นและประเด็นที่เกี่ยวเนื่อง และแก้ไขเพิ่มเติมคำปรารภของร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกัน แล้วให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายใหม่ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับพระราชทานคืนมาตามที่ขอ เมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายและทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้น 90 วัน นับแต่วันที่นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้วแต่กรณี ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นเป็นอันตกไป
สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 คณะกรรมการเลือกตั้งได้กำหนดให้มีการลงประชามติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ พร้อมด้วยประเด็นคำถามพ่วงซึ่งเป็นประเด็นเพิ่มเติมจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ว่า “ท่านเห็นชอบหรือไม่ว่า เพื่อให้การปฏิรูปประเทศเกิดความต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์แห่งชาติ สมควรกำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลว่า ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี” โดยจัดให้มีการลงประชามติ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559[4] ผลการลงประชามติปรากฏว่าประชนมีมติเสียงข้างมากเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนนเสียง 16,820,402 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 61.35 ขณะที่คำถามพ่วงว่าด้วยการกำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเลือกนายกรัฐมนตรีภายในระยะเวลา 5 ปีแรกผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง 15,132,050 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 58.7 [5] ซึ่งผลจากคำถามพ่วงนี้ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจึงได้นำร่างรัฐธรรมนูญไปปรับปรุงในบางมาตราและในบทเฉพาะกาลเพื่อให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติมนั้น โดยได้มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๗๒ ซึ่งเป็นบทเฉพาะกาล และส่งร่างรัฐธรรมนูญให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา
ผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสามารถสรุปได้ ดังนี้[6]
1. ผู้ที่มีสิทธิเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีและผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบนายกรัฐมนตรี
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ตามที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูนได้แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามมาตรา 272 วรรคแรก โดยกำหนดให้ผู้มีสิทธิเสนอชื่อบุคคลที่สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบให้กระทำในที่ประชุมร่วมกันของทั้งสองสภานั้นสอดคล้องและชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติแล้ว
2. ผู้มีสิทธิเสนอขอยกเว้นการเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อ และมติในการให้ความเห็นชอบ
ร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 วรรคสองที่กำหนดให้ในกรณีที่ไม่แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่บัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 ให้เป็นหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภาเพื่อขอให้รัฐสภามีมติยกเว้นไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อดังกล่าว ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขในมาตรา 272 วรรคสองในประเด็นยกเว้นไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 นี้ ไม่สอดคล้องและไม่ชอบด้วยผลการออกเสียงประชามติ ส่วนมติในการให้ความเห็นให้ยกเว้น คือ มติไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภานั้นชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติแล้ว
3. กำหนดเวลาและวันเริ่มนับเวลาตามร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 วรรคหนึ่งและวรรคสอง
ร่างรัฐธรรมนูญมาตรา 272 ที่กำหนดว่า "ในระหว่าง 5 ปี แรก นับแต่วันที่มีรัฐสภาภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามมาตรา 268..." จึงเป็นประเด็นว่า"รัฐสภา" หมายถึงสภาใด ซึ่งตามร่างรัฐธรรมนูญแปลเจตนารมณ์ว่า “รัฐสภา หมายถึง ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา” ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งได้มีการแก้ไขในเรื่องกำหนดเวลาและวันเริ่มนับเวลาตามร่างรัฐธรรมนูญมาตรา 272 วรรคหนึ่งและวรรคสอง นี้ ไม่สอดคล้องและไม่ชอบด้วยกับผลการออกเสียงประชามติ
จากผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจึงได้แก้ไขตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ในร่างรัฐธรรมนูญมาตรา 272 ดังนี้
1) ผู้ที่มีสิทธิขอยกเว้นไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ คือ สมาชิกรัฐสภาจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
2) กำหนดเวลาและวันเริ่มนับเวลา ตามมาตรา 272 วรรคหนึ่งและวรรคสอง คือ ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้
หลังจากนั้นเมื่อปรับปรุงร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้นแล้วคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะทำการส่งร่างกลับคืนนายกรัฐมนตรีให้นำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญ และประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560[7] ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ที่ผ่านการออกเสียงประชามติ ต่อจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
เนื้อหา |
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 |
'รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. '2560 |
1. ที่มาและองค์ประกอบของคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ |
สภาร่างรัฐธรรมนูญแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นหรือไม่ได้เป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญก็ได้ จำนวน 35 คน เป็นคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ |
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มาจากการแต่งตั้งโดยประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ จำนวน 36 คน และคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มาจากการแต่งตั้งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จำนวน 21 คน |
2. กรอบในการร่างรัฐธรรมนูญ |
1) สิทธิเสรีภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชน และการกระจายอำนาจ 2) สถาบันการเมือง 3) องค์กรตรวจสอบอิสระ |
เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 มาตรา 35 |
3. การเสนอประเด็นอื่นเพิ่มเติม |
ไม่สามารถเสนอประเด็นอื่นได้ |
สภาปฏิรูปแห่งชาติหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติเสนอประเด็นอื่นใดที่สมควรได้ |
4. การเห็นชอบรัฐธรรมนูญ |
การออกเสียงประชามติ |
การออกเสียงประชามติ |
บรรณานุกรม
คำชี้แจงของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญประกอบการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสียงประชามติในประเด็นเพิ่มเติม. สืบค้นจาก https://cdc.parliament.go.th/draftconstitution2/download/article/article_20160908100646.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562.
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 32 ก ลงวันที่ 20 เมษายน 2559.
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียงประชามติ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 69 ก ลงวันที่ 11 เมษายน 2559. สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562.
ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2558
พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, สรุปคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญที่ ๖/๒๕๕๙ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙, จุลนิติ: พ.ย. - ธ.ค. ๕๙ สืบค้นจาก เมื่อวันที่ http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2558.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 40 ก.
[1] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557, มาตรา ๓2.
[2] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๗.
[3] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๙/๑.
[4] ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันออกเสียงประชามติ, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 32 ก ลงวันที่ 20 เมษายน 2559.
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการออกเสียงประชามติ, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 69 ก ลงวันที่ 11 เมษายน 2559, สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_give/cdc58-ect-110859-11.pdf เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562.
[6] พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, สรุปคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญที่ ๖/๒๕๕๙ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙, จุลนิติ: พ.ย. - ธ.ค. ๕๙ สืบค้นจาก เมื่อวันที่ http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/con79.pdf.
[7] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 40 ก หน้า 1.