ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div> | <div><div> | ||
= พระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 = | = พระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 = | ||
</div> | </div> | ||
| | ||
<div> | <div> | ||
== ''' | == '''ความเป็นมา''' == | ||
</div> | </div> | ||
นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศตลอดมา ทรงเป็นทั้งเจ้าแผ่นดิน เจ้าชีวิตและเจ้าของที่ดินตลอดทั่วราชอาณาจักร[[#_ftn1|[1]]] | นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศตลอดมา ทรงเป็นทั้งเจ้าแผ่นดิน เจ้าชีวิตและเจ้าของที่ดินตลอดทั่วราชอาณาจักร[[#_ftn1|[1]]] ต่อมาเมื่อมี[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_24_มิถุนายน_2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475]] พระราชสถานะของพระมหากษัตริย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นพระมหากษัตริย์ภายในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขแห่งรัฐโดยมี[[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]]แห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดการใช้อำนาจอธิปไตย (อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ) ให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้[[อำนาจอธิปไตย|อำนาจอธิปไตย]]ผ่านทางองค์กร 3 ฝ่าย คือ [[ฝ่ายบริหาร|ฝ่ายบริหาร]] [[ฝ่ายนิติบัญญัติ|ฝ่ายนิติบัญญัติ]]และ[[ฝ่ายตุลาการ|ฝ่ายตุลาการ]] ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้กำหนดสถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไว้ในหมวดที่ 2 ตั้งแต่มาตรา 6 ถึง มาตรา 24 รวม 19 มาตรา บทบัญญัติในหมวดนี้กำหนดขึ้นเพื่อรองรับ[[พระราชอำนาจ|พระราชอำนาจ]]ของพระมหากษัตริย์ ใน[[พระมหากษัตริย์ไทยในระบอบประชาธิปไตย|การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] | ||
อย่างไรก็ตามในหมวดพระมหากษัตริย์นี้ได้เพิ่มบทบัญญัติที่สำคัญหลายประการอันแตกต่างจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับที่ผ่าน ๆ มาในอดีต ดังนี้[[#_ftn2|[2]]] | อย่างไรก็ตามในหมวดพระมหากษัตริย์นี้ได้เพิ่มบทบัญญัติที่สำคัญหลายประการอันแตกต่างจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับที่ผ่าน ๆ มาในอดีต ดังนี้[[#_ftn2|[2]]] | ||
1) การแต่งตั้ง[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ และได้มีการปรับปรุงหลักการหลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ โดยให้การสถาปนาฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่บุคคลใด ย่อมเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะตามพระราชอัธยาศัย และบัญญัติพระราชอำนาจในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์ และเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไว้ซึ่งแต่เดิมพระราชอำนาจในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์จะบัญญัติไว้ในหมวดคณะรัฐมนตรี (มาตรา 9) | |||
2) การจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ใน[[พระราชกฤษฎีกา|พระราชกฤษฎีกา]] (มาตรา 15 วรรคสอง) ถือเป็นบทบัญญัติที่เพิ่มขึ้นใหม่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 | |||
3) | 3) ในกรณีที่พระมหากัตริย์ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ เนื่องจากในยุคปัจจุบันนี้การติดต่อสื่อสาร และการเดินทางมีความสะดวกรวดเร็ว และไม่มีปัญหาต่อ[[การบริหารราชการแผ่นดิน|การบริหารราชการแผ่นดิน]] การที่กำหนดให้ต้องมีการตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในทุกครั้งไปเช่นเดิมนั้นย่อมไม่สอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าของสังคมในปัจจุบัน | ||
4) วิธีการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในกรณีที่มิได้มีการแต่งตั้งไว้แล้วเกิดกรณีจำเป็นที่จะต้องแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (มาตรา 17) บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ได้บัญญัติเปลี่ยนแปลงจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ ทั้งนี้ เป็นผลมาจากการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2560 (มาตรา 2 วรรคสาม) แต่เดิมมักจะกำหนดกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ไว้ ให้[[คณะองคมนตรี|คณะองคมนตรี]]เสนอชื่อผู้ใดผู้หนึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในส่วนของการเปลี่ยนแปลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติหลักการใหม่ความว่า “ตามลำดับที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมกำหนดไว้ก่อนแล้ว” หมายความว่า พระมหากษัตริย์จะทรงกำหนดบัญชีรายชื่อไว้ล่วงหน้า เมื่อมีเหตุที่คณะองคมนตรีจะเสนอชื่อบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะเพื่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จะต้องเป็นไปตามลำดับบัญชีรายชื่อที่ทรงกำหนดไว้ก่อนแล้วเท่านั้น | |||
| | ||
<div> | <div> | ||
== ''' | == '''สถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช '''''2560''' == | ||
</div> | </div> | ||
ในส่วนของการมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขนั้นเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาและการมีประเพณีในการปกครองที่ยาวนานของรัฐนั้นตลอดจนเป็นการแยกพระมหากษัตริย์ออกจากการเมือง เพื่อไม่ให้เกิดการผูกขาดและรวมศูนย์อำนาจไว้มากเกินไป ทั้งนี้ การมีพระมหากษัตริย์จึงช่วยรักษาดุลยภาพให้เกิดขึ้นทั้งภายในสังคมและในทางการเมือง สะท้อนให้เห็นลักษณะการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ ที่เรียกว่า | ในส่วนของการมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขนั้นเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาและการมีประเพณีในการปกครองที่ยาวนานของรัฐนั้นตลอดจนเป็นการแยกพระมหากษัตริย์ออกจากการเมือง เพื่อไม่ให้เกิดการผูกขาดและรวมศูนย์อำนาจไว้มากเกินไป ทั้งนี้ การมีพระมหากษัตริย์จึงช่วยรักษาดุลยภาพให้เกิดขึ้นทั้งภายในสังคมและในทางการเมือง สะท้อนให้เห็นลักษณะการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ ที่เรียกว่า “[[ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ|ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ]]” (Limited Monarchy) | ||
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ในหลายประเด็น กล่าวคือ | เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ในหลายประเด็น กล่าวคือ | ||
บรรทัดที่ 36: | บรรทัดที่ 30: | ||
พระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะเป็นประมุขของรัฐ (Head of State) ซึ่งมีสถานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระนามพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ (มาตรา 6) และยังมีสถานะอื่น ๆ คือ ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก (มาตรา 7) ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย (มาตรา 8) | พระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะเป็นประมุขของรัฐ (Head of State) ซึ่งมีสถานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระนามพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ (มาตรา 6) และยังมีสถานะอื่น ๆ คือ ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก (มาตรา 7) ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย (มาตรา 8) | ||
การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ | การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ถือเป็น[[กระบวนการตรากฎหมาย|กระบวนการตรากฎหมาย]]ในรูปแบบของ[[รัฐสภา|รัฐสภา]] สืบเนื่องจากหลัก “[[ประมุขของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน|ประมุขของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน]]” (King can do no wrong) จึงทำให้[[พระราชอำนาจ|พระราชอำนาจ]]ของพระองค์ทรงอยู่เหนือการเมือง ตามบทบัญญัติมาตรา 6 “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดํารงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้” ในอดีตการลงนามรับสนอง[[พระบรมราชโองการ|พระบรมราชโองการ]]ไม่ใช่หลักความรับผิดชอบแทนพระมหากษัตริย์ แต่เป็นหลักที่มาจากกฎหมายที่ออกจากพระมหากษัตริย์ในสมัยก่อนต้องได้รับการยินยอมจากประธานคณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ ด้วยการลงนามกำกับว่ากฎหมายที่ออกจะไม่ขัดต่อจารีตประเพณี | ||
ภายหลังเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย | ภายหลังเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย [[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]จึงเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีหรือบุคคลอื่นใดเป็นผู้ทำหน้าที่แทน บุคคลผู้รับลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ คือ บุคคลที่จะต้องรับผิดชอบในทุกทาง เพราะในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์ทรงเป็นกลางทางการเมืองและไม่ทรงยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ดังนี้ จึงเป็นการเหมาะสมภายใต้หลักประมุขของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน | ||
'''2.2 พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์''' | '''2.2 พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์''' | ||
บรรทัดที่ 46: | บรรทัดที่ 40: | ||
1) ในส่วนพระราชอำนาจของการสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ พระราชอำนาจในการพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (มาตรา 9) | 1) ในส่วนพระราชอำนาจของการสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ พระราชอำนาจในการพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (มาตรา 9) | ||
2) | 2) พระราชอำนาจในการทรงเลือกและทรงแต่งตั้ง[[ประธานองคมนตรี|ประธานองคมนตรี]]และ[[คณะองคมนตรี|คณะองคมนตรี]] (มาตรา 10) | ||
3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม (มาตรา 16) | 3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม (มาตรา 16) | ||
4) | 4) พระมหากษัตริย์ยังทรงมีพระราชอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติม[[กฎมณเฑียรบาล_(โดม_ไกรปกรณ์)|กฎมณเฑียรบาล]]ว่าด้วย[[การสืบราชสันตติวงศ์|การสืบราชสันตติวงศ์]] พระพุทธศักราช 2467 ทรงเป็นพระราชอำนาจเฉพาะของพระองค์เท่านั้น (มาตรา 20) และพระราชอำนาจในการแต่งตั้งพระรัชทายาทตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 | ||
สำหรับในทาง[[กฎหมาย|กฎหมาย]]แล้วพระมหากษัตริย์ถือเป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมาย เนื่องจากร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของ[[รัฐสภา|รัฐสภา]]แล้วจะต้องให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ลงนามก่อนที่จะมีการประกาศใช้ หากพระมหากษัตริย์ไม่ลงนามในร่างกฎหมายฉบับใดร่างกฎหมายนั้นก็ไม่มีผลบังคับใช้ นอกจากนี้ยังมีพระราชอำนาจในการพระราชทานอภัยโทษซึ่งเป็นหลักสากลที่ประมุขของรัฐเป็นผู้มีอำนาจดังกล่าว ดังนั้น เมื่อพระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขแห่งรัฐเป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมายแล้วยังสามารถระงับยับยั้งผลแห่งกฎหมายนั้นได้ด้วย ตามความในมาตรา 3 แห่งรัฐธรรมนูญที่บัญญัติว่า “อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ” | |||
[[การลงพระปรมาภิไธย|การลงพระปรมาภิไธย]]ของพระมหากษัตริย์ สืบเนื่องจากพระราชอำนาจที่มีมาแต่ดั้งเดิม “พระบรมราชานุภาพของพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงสยามนี้ มิได้มีปรากฏในกฎหมายอันหนึ่งอันใดด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นล้นพ้น ไม่มีสิ่งใดหรือผู้ใดจะบังคับขัดขวางได้” หมายความว่า พระราชดำรัสถือเป็น[[องค์อธิปัตย์|องค์อธิปัตย์]]ในการดำเนินการทั้งปวง หลังจากมีรัฐธรรมนูญ ที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงกำหนดให้พระราชอำนาจบางประเภทของพระองค์ยังดำรงอยู่ เช่น [[อำนาจในการยุบสภา|อำนาจในการยุบสภา]] [[การยับยั้งร่างกฎหมาย|การยับยั้งร่างกฎหมาย]] การประกาศสงคราม การอภัยโทษ เป็นต้น | |||
<div> | <div> | ||
== ''' | == '''การสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ''''''2560''' == | ||
</div> | </div> | ||
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดในส่วนของการสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ ไว้ดังนี้ | รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดในส่วนของการสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ ไว้ดังนี้ | ||
| 1. การสืบราชสมบัติให้เป็นไปตามกฎมนเฑียรบาลว่าด้วย[[การสืบราชสันตติวงศ์|การสืบราชสันตติวงศ์]] พุทธศักราช 2467 ทั้งเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาล[[#_ftn3|[3]]] | ||
| 2. กรณีของราชบัลลังก์ว่างลง รัฐธรรมนูญฯ กำหนดเป็น 3 ประการ[[#_ftn4|[4]]] | ||
| 1) กรณีราชบัลลังก์ว่างลงและมีการแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันนติวงศ์ พุทธศักราช 2467 | ||
( | (1) เป็นหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีที่จะต้องทำการแจ้งให้[[ประธานรัฐสภา|ประธานรัฐสภา]]รับทราบ และให้ประธานรัฐสภาเรียก[[ประชุมรัฐสภา|ประชุมรัฐสภา]]เพื่อรับทราบ | ||
( | (2) ประธานรัฐสภาทำการอัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ | ||
สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ | สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ | ||
| 2) กรณีราชบัลลังก์ว่างลงและและไม่มีการแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันนติวงศ์ พุทธศักราช 2467 | ||
( | (1) เป็นหน้าที่ขององคมนตรีในการเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ต่อ[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]เพื่อเสนอต่อรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้ | ||
( | (2) เมื่อรัฐสภาเห็นชอบ ประธานสภารัฐสภาจะดำเนินการอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ | ||
| 3) กรณีแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ | ||
| เมื่อราชบัลลังก์ว่างลงและและไม่มีการแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตาม[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์_พุทธศักราช_2467|กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์_พุทธศักราช_2467]] ทั้งยังไม่มีการประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ เช่นนี้ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว จนกว่าจะได้ประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์ | ||
| | ||
<div> | <div> | ||
== ''' | == '''เปรียบเทียบความแตกต่างในหมวดพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย''' == | ||
</div> | </div> | ||
| | ||
บรรทัดที่ 90: | บรรทัดที่ 84: | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | {| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
'''ประเด็นสำคัญ''' | '''ประเด็นสำคัญ''' | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540''' | '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540''' | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550''' | '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550''' | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560''' | '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560''' | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
1) พระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
กำหนดไว้ในมาตรา 11 และมาตรา 226 ในหมวดคณะรัฐมนตรี | กำหนดไว้ในมาตรา 11 และมาตรา 226 ในหมวดคณะรัฐมนตรี | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับ[[รัฐธรรมนูญ_พ.ศ._2540|รัฐธรรมนูญ_พ.ศ._2540]] | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
แก้ไขด้วยการตัดในหมวดคณะรัฐมนตรีมาบัญญัติไว้ในที่เดียวกันในมาตรา 9 “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์” | แก้ไขด้วยการตัดในหมวดคณะรัฐมนตรีมาบัญญัติไว้ในที่เดียวกันในมาตรา 9 “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์” | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
2) ลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
องคมนตรีต้องไม่เป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[สมาชิกวุฒิสภา|สมาชิกวุฒิสภา]] กรรมการการเลือกตั้ง [[ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา|ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา]] กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ [[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ|ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] [[ตุลาการศาลปกครอง|ตุลาการศาลปกครอง]] [[กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ|กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] [[กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน|กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่ของ[[พรรคการเมือง|พรรคการเมือง]] และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใด ๆ | |||
| | ||
บรรทัดที่ 126: | บรรทัดที่ 120: | ||
| | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับแก้ไขถ้อยคำ “'''ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา'''” เป็น “ | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับแก้ไขถ้อยคำ “'''ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา'''” เป็น “[[ผู้ตรวจการแผ่นดิน|ผู้ตรวจการแผ่นดิน]]” | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
ปรับแก้ไขการกำหนดลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี<br/> “องคมนตรีต้องไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือดำรงตำแหน่งทางการเมืองอื่น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง หรือข้าราชการเว้นแต่การเป็นข้าราชการในพระองค์ในตำแหน่งองคมนตรี และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใด ๆ” '''ตัดตุลาการศาลปกครองออกเนื่องจากถือว่าเป็นข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่แล้ว''' | ปรับแก้ไขการกำหนดลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี<br/> “องคมนตรีต้องไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือดำรงตำแหน่งทางการเมืองอื่น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง หรือข้าราชการเว้นแต่การเป็นข้าราชการในพระองค์ในตำแหน่งองคมนตรี และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใด ๆ” '''ตัดตุลาการศาลปกครองออกเนื่องจากถือว่าเป็นข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่แล้ว''' | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
3) การแต่งตั้งและให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง | 3) การแต่งตั้งและให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
มาตรา 17 “การแต่งตั้ง<br/> และการให้ข้าราชการในพระองค์และสมุหราชองครักษ์พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย” | มาตรา 17 “การแต่งตั้ง<br/> และการให้ข้าราชการในพระองค์และสมุหราชองครักษ์พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย” | ||
| | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540แต่ได้มี'''การเพิ่มเติมไว้ในมาตรา 15 วรรคสอง''' “การจัดระเบียบ<br/> ราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎีกา” | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540แต่ได้มี'''การเพิ่มเติมไว้ในมาตรา 15 วรรคสอง''' “การจัดระเบียบ<br/> ราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎีกา” | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
4) การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการในกรณีที่พระมหากษัตริย์จะไม่ประทับในประเทศ | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
มาตรา | มาตรา 18 '''“'''ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม จะได้'''ทรงแต่งตั้งผู้ใดผู้หนึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์''' และให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
มาตรา | มาตรา 16 ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม '''จะทรงแต่งตั้งบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะขึ้น ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้''' | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
5) การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการตามลำดับ | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา | '''มาตรา 19''' “...ให้คณะองคมนตรีเสนอชื่อผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งสมควรดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ เมื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ประธานรัฐสภาประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นเป็น[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา | '''มาตรา 17 '''“...ให้คณะองคมนตรีเสนอชื่อบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะ '''ตามลำดับที่โปรดเกล้าโปรด''' | ||
'''กระหม่อมกำหนดไว้ก่อนแล้ว ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์''' แล้วแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” | '''กระหม่อมกำหนดไว้ก่อนแล้ว ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์''' แล้วแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
6) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมรัฐสภา | |||
| | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา 21 วรรคสอง''' “ | '''มาตรา 21 วรรคสอง''' “ | ||
ในระหว่างที่[[สภาผู้แทนราษฎร|สภาผู้แทนราษฎร]]สิ้นอายุหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภาตามมาตรานี้ ” | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา 19 วรรคสอง''' “ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งเคยได้รับการแต่งตั้งและปฏิญาณตนมาแล้ว ไม่ต้องปฏิญาณตนอีก” | '''มาตรา 19 วรรคสอง''' “ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งเคยได้รับการแต่งตั้งและปฏิญาณตนมาแล้ว ไม่ต้องปฏิญาณตนอีก” เป็นผลจากการปรับแก้ไขใหม่จาก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557_แก้ไขเพิ่มเติม_(ฉบับที่_4)_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา<br/> จักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2560 ]]มาตรา 39/1 วรรคสิบเอ็ด | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
7) ขั้นตอนการอัญเชิญ | |||
องค์พระรัชทายาทในกรณีที่พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ หรือการอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ในกรณีที่ | องค์พระรัชทายาทในกรณีที่พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ หรือการอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ในกรณีที่ | ||
บรรทัดที่ 200: | บรรทัดที่ 194: | ||
พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ในกรณีที่ราชบัลลังก์ว่างลง | พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ในกรณีที่ราชบัลลังก์ว่างลง | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา | '''มาตรา 23 วรรคหนึ่ง''' “ในกรณีที่...'''พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้'''...ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งให้ประธานรัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภา[[เรียกประชุมรัฐสภา|เรียกประชุมรัฐสภา]]เพื่อรับทราบและให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ” | ||
'''มาตรา 23 วรรคสอง'''“ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็น'''กรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทา''''''ยาทไว้'''ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะองคมนตรีเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ตามมาตรา | '''มาตรา 23 วรรคสอง'''“ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็น'''กรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทา''''''ยาทไว้'''ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะองคมนตรีเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ตามมาตรา 2๐ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อรัฐสภาเพื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้ เมื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์[[ผู้สืบราชสันตติวงศ์|ผู้สืบราชสันตติวงศ์]]ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไปแล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ” | ||
'''มาตรา 23 วรรคท้าย''' “ในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาทาหน้าที่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคหนึ่งหรือให้ความเห็นชอบตามวรรคสอง” | '''มาตรา 23 วรรคท้าย''' “ในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาทาหน้าที่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคหนึ่งหรือให้ความเห็นชอบตามวรรคสอง” | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา | '''มาตรา 21''' วรรคหนึ่งและวรรคสองบัญญัติกระบวนการและขั้นตอนไว้เช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตรา 23 วรรคหนึ่งและวรรคสอง | ||
โดยได้'''ตัดบทบัญญัติในวรรคท้ายของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ทิ้งไป''' | โดยได้'''ตัดบทบัญญัติในวรรคท้ายของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ทิ้งไป''' | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width:139px;" | | ||
8) วิธีการถวายสัตย์ปฏิญาณ | |||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
ไม่มีกำหนด | ไม่มีกำหนด | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
ไม่มีกำหนด | ไม่มีกำหนด | ||
| style="width: | | style="width:170px;" | | ||
'''มาตรา 24''' “การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย พระมหากษัตริย์จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กระทำต่อพระรัชทายาทซึ่งทรงบรรลุนิติภาวะแล้วหรือต่อผู้แทนพระองค์ก็ได้” | |||
วรรคสอง “ในระหว่างที่ยังมิได้ถวายสัตย์ปฏิญาณตามวรรคหนึ่ง จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้ซึ่งต้องถวายสัตย์ปฏิญาณปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนก็ได้” | วรรคสอง “ในระหว่างที่ยังมิได้ถวายสัตย์ปฏิญาณตามวรรคหนึ่ง จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้ซึ่งต้องถวายสัตย์ปฏิญาณปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนก็ได้” | ||
บรรทัดที่ 234: | บรรทัดที่ 228: | ||
| | ||
<div> | <div> | ||
== ''' | == '''บรรณานุกรม''' == | ||
</div> | </div> | ||
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช | รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.( 6 เมษายน 2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก. | ||
มานิตย์ จุมปา. '''ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. | มานิตย์ จุมปา. '''ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540). '''กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม. 2545. | ||
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.''' พฤษภาคม 2562. | สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.''' พฤษภาคม 2562. | ||
บรรทัดที่ 246: | บรรทัดที่ 240: | ||
---- | ---- | ||
<div id="ftn1"> | <div id="ftn1"> | ||
[[#_ftnref1|[1]]] มานิตย์ จุมปา. '''ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. | [[#_ftnref1|[1]]] มานิตย์ จุมปา. '''ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540).'''กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม. 2545. หน้า 28. | ||
[[#_ftnref2|[2]]] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.''' พฤษภาคม 2562, หน้า 9-33. | [[#_ftnref2|[2]]] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.''' พฤษภาคม 2562, หน้า 9-33. | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] มาตรา | [[#_ftnref3|[3]]] มาตรา 20 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] มาตรา | [[#_ftnref4|[4]]] มาตรา 21 มาตรา 22 และมาตรา 23 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. | ||
</div> </div> | </div> </div> </div> | ||
[[Category:รัฐธรรมนูญ]] | | ||
[[Category:รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:39, 18 มีนาคม 2563
พระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
ความเป็นมา
นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศตลอดมา ทรงเป็นทั้งเจ้าแผ่นดิน เจ้าชีวิตและเจ้าของที่ดินตลอดทั่วราชอาณาจักร[1] ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 พระราชสถานะของพระมหากษัตริย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นพระมหากษัตริย์ภายในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขแห่งรัฐโดยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดการใช้อำนาจอธิปไตย (อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ) ให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางองค์กร 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลาการ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้กำหนดสถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไว้ในหมวดที่ 2 ตั้งแต่มาตรา 6 ถึง มาตรา 24 รวม 19 มาตรา บทบัญญัติในหมวดนี้กำหนดขึ้นเพื่อรองรับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
อย่างไรก็ตามในหมวดพระมหากษัตริย์นี้ได้เพิ่มบทบัญญัติที่สำคัญหลายประการอันแตกต่างจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับที่ผ่าน ๆ มาในอดีต ดังนี้[2]
1) การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ และได้มีการปรับปรุงหลักการหลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ โดยให้การสถาปนาฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่บุคคลใด ย่อมเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะตามพระราชอัธยาศัย และบัญญัติพระราชอำนาจในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์ และเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไว้ซึ่งแต่เดิมพระราชอำนาจในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์จะบัญญัติไว้ในหมวดคณะรัฐมนตรี (มาตรา 9)
2) การจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 15 วรรคสอง) ถือเป็นบทบัญญัติที่เพิ่มขึ้นใหม่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
3) ในกรณีที่พระมหากัตริย์ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ เนื่องจากในยุคปัจจุบันนี้การติดต่อสื่อสาร และการเดินทางมีความสะดวกรวดเร็ว และไม่มีปัญหาต่อการบริหารราชการแผ่นดิน การที่กำหนดให้ต้องมีการตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในทุกครั้งไปเช่นเดิมนั้นย่อมไม่สอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าของสังคมในปัจจุบัน
4) วิธีการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในกรณีที่มิได้มีการแต่งตั้งไว้แล้วเกิดกรณีจำเป็นที่จะต้องแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (มาตรา 17) บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ได้บัญญัติเปลี่ยนแปลงจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ ทั้งนี้ เป็นผลมาจากการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2560 (มาตรา 2 วรรคสาม) แต่เดิมมักจะกำหนดกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ไว้ ให้คณะองคมนตรีเสนอชื่อผู้ใดผู้หนึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในส่วนของการเปลี่ยนแปลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติหลักการใหม่ความว่า “ตามลำดับที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมกำหนดไว้ก่อนแล้ว” หมายความว่า พระมหากษัตริย์จะทรงกำหนดบัญชีรายชื่อไว้ล่วงหน้า เมื่อมีเหตุที่คณะองคมนตรีจะเสนอชื่อบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะเพื่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จะต้องเป็นไปตามลำดับบัญชีรายชื่อที่ทรงกำหนดไว้ก่อนแล้วเท่านั้น
สถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560'
ในส่วนของการมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขนั้นเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาและการมีประเพณีในการปกครองที่ยาวนานของรัฐนั้นตลอดจนเป็นการแยกพระมหากษัตริย์ออกจากการเมือง เพื่อไม่ให้เกิดการผูกขาดและรวมศูนย์อำนาจไว้มากเกินไป ทั้งนี้ การมีพระมหากษัตริย์จึงช่วยรักษาดุลยภาพให้เกิดขึ้นทั้งภายในสังคมและในทางการเมือง สะท้อนให้เห็นลักษณะการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ ที่เรียกว่า “ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ” (Limited Monarchy)
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ในหลายประเด็น กล่าวคือ
2.1 สถานะของพระมหากษัตริย์
พระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะเป็นประมุขของรัฐ (Head of State) ซึ่งมีสถานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระนามพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ (มาตรา 6) และยังมีสถานะอื่น ๆ คือ ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก (มาตรา 7) ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย (มาตรา 8)
การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ถือเป็นกระบวนการตรากฎหมายในรูปแบบของรัฐสภา สืบเนื่องจากหลัก “ประมุขของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน” (King can do no wrong) จึงทำให้พระราชอำนาจของพระองค์ทรงอยู่เหนือการเมือง ตามบทบัญญัติมาตรา 6 “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดํารงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้” ในอดีตการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการไม่ใช่หลักความรับผิดชอบแทนพระมหากษัตริย์ แต่เป็นหลักที่มาจากกฎหมายที่ออกจากพระมหากษัตริย์ในสมัยก่อนต้องได้รับการยินยอมจากประธานคณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ ด้วยการลงนามกำกับว่ากฎหมายที่ออกจะไม่ขัดต่อจารีตประเพณี
ภายหลังเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย นายกรัฐมนตรีจึงเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีหรือบุคคลอื่นใดเป็นผู้ทำหน้าที่แทน บุคคลผู้รับลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ คือ บุคคลที่จะต้องรับผิดชอบในทุกทาง เพราะในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์ทรงเป็นกลางทางการเมืองและไม่ทรงยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ดังนี้ จึงเป็นการเหมาะสมภายใต้หลักประมุขของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน
2.2 พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์
พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติในส่วนของพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ไว้ ดังนี้
1) ในส่วนพระราชอำนาจของการสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ พระราชอำนาจในการพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (มาตรา 9)
2) พระราชอำนาจในการทรงเลือกและทรงแต่งตั้งประธานองคมนตรีและคณะองคมนตรี (มาตรา 10)
3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม (มาตรา 16)
4) พระมหากษัตริย์ยังทรงมีพระราชอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ทรงเป็นพระราชอำนาจเฉพาะของพระองค์เท่านั้น (มาตรา 20) และพระราชอำนาจในการแต่งตั้งพระรัชทายาทตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467
สำหรับในทางกฎหมายแล้วพระมหากษัตริย์ถือเป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมาย เนื่องจากร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของรัฐสภาแล้วจะต้องให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ลงนามก่อนที่จะมีการประกาศใช้ หากพระมหากษัตริย์ไม่ลงนามในร่างกฎหมายฉบับใดร่างกฎหมายนั้นก็ไม่มีผลบังคับใช้ นอกจากนี้ยังมีพระราชอำนาจในการพระราชทานอภัยโทษซึ่งเป็นหลักสากลที่ประมุขของรัฐเป็นผู้มีอำนาจดังกล่าว ดังนั้น เมื่อพระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขแห่งรัฐเป็นบ่อเกิดแห่งกฎหมายแล้วยังสามารถระงับยับยั้งผลแห่งกฎหมายนั้นได้ด้วย ตามความในมาตรา 3 แห่งรัฐธรรมนูญที่บัญญัติว่า “อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ”
การลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ สืบเนื่องจากพระราชอำนาจที่มีมาแต่ดั้งเดิม “พระบรมราชานุภาพของพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงสยามนี้ มิได้มีปรากฏในกฎหมายอันหนึ่งอันใดด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นล้นพ้น ไม่มีสิ่งใดหรือผู้ใดจะบังคับขัดขวางได้” หมายความว่า พระราชดำรัสถือเป็นองค์อธิปัตย์ในการดำเนินการทั้งปวง หลังจากมีรัฐธรรมนูญ ที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงกำหนดให้พระราชอำนาจบางประเภทของพระองค์ยังดำรงอยู่ เช่น อำนาจในการยุบสภา การยับยั้งร่างกฎหมาย การประกาศสงคราม การอภัยโทษ เป็นต้น
การสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช '2560'
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดในส่วนของการสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ ไว้ดังนี้
1. การสืบราชสมบัติให้เป็นไปตามกฎมนเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พุทธศักราช 2467 ทั้งเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาล[3]
2. กรณีของราชบัลลังก์ว่างลง รัฐธรรมนูญฯ กำหนดเป็น 3 ประการ[4]
1) กรณีราชบัลลังก์ว่างลงและมีการแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันนติวงศ์ พุทธศักราช 2467
(1) เป็นหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีที่จะต้องทำการแจ้งให้ประธานรัฐสภารับทราบ และให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อรับทราบ
(2) ประธานรัฐสภาทำการอัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์
สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ
2) กรณีราชบัลลังก์ว่างลงและและไม่มีการแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันนติวงศ์ พุทธศักราช 2467
(1) เป็นหน้าที่ขององคมนตรีในการเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้
(2) เมื่อรัฐสภาเห็นชอบ ประธานสภารัฐสภาจะดำเนินการอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ
3) กรณีแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เมื่อราชบัลลังก์ว่างลงและและไม่มีการแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์_พุทธศักราช_2467 ทั้งยังไม่มีการประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ เช่นนี้ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว จนกว่าจะได้ประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์
เปรียบเทียบความแตกต่างในหมวดพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ประเด็นสำคัญ |
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 |
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 |
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 |
1) พระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ |
กำหนดไว้ในมาตรา 11 และมาตรา 226 ในหมวดคณะรัฐมนตรี |
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ_พ.ศ._2540 |
แก้ไขด้วยการตัดในหมวดคณะรัฐมนตรีมาบัญญัติไว้ในที่เดียวกันในมาตรา 9 “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์” |
2) ลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี |
องคมนตรีต้องไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใด ๆ
|
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับแก้ไขถ้อยคำ “ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา” เป็น “ผู้ตรวจการแผ่นดิน” |
ปรับแก้ไขการกำหนดลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี |
3) การแต่งตั้งและให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง |
มาตรา 17 “การแต่งตั้ง
|
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 |
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540แต่ได้มีการเพิ่มเติมไว้ในมาตรา 15 วรรคสอง “การจัดระเบียบ |
4) การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการในกรณีที่พระมหากษัตริย์จะไม่ประทับในประเทศ |
มาตรา 18 “ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม จะได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดผู้หนึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” |
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 |
มาตรา 16 ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม จะทรงแต่งตั้งบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะขึ้น ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ |
5) การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการตามลำดับ |
มาตรา 19 “...ให้คณะองคมนตรีเสนอชื่อผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งสมควรดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ เมื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ประธานรัฐสภาประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ |
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 |
มาตรา 17 “...ให้คณะองคมนตรีเสนอชื่อบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะ ตามลำดับที่โปรดเกล้าโปรด กระหม่อมกำหนดไว้ก่อนแล้ว ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ แล้วแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” |
6) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมรัฐสภา
|
มาตรา 21 วรรคสอง “ ในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภาตามมาตรานี้ ” |
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 |
มาตรา 19 วรรคสอง “ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งเคยได้รับการแต่งตั้งและปฏิญาณตนมาแล้ว ไม่ต้องปฏิญาณตนอีก” เป็นผลจากการปรับแก้ไขใหม่จาก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557_แก้ไขเพิ่มเติม_(ฉบับที่_4)_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา |
7) ขั้นตอนการอัญเชิญ องค์พระรัชทายาทในกรณีที่พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ หรือการอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ในกรณีที่ พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ในกรณีที่ราชบัลลังก์ว่างลง |
มาตรา 23 วรรคหนึ่ง “ในกรณีที่...พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้...ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งให้ประธานรัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อรับทราบและให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ” 'มาตรา 23 วรรคสอง“ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทา'ยาทไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะองคมนตรีเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ตามมาตรา 2๐ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อรัฐสภาเพื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้ เมื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไปแล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ” มาตรา 23 วรรคท้าย “ในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาทาหน้าที่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคหนึ่งหรือให้ความเห็นชอบตามวรรคสอง” |
บัญญัติลักษณะเช่นเดียวกันกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 |
มาตรา 21 วรรคหนึ่งและวรรคสองบัญญัติกระบวนการและขั้นตอนไว้เช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตรา 23 วรรคหนึ่งและวรรคสอง โดยได้ตัดบทบัญญัติในวรรคท้ายของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ทิ้งไป |
8) วิธีการถวายสัตย์ปฏิญาณ |
ไม่มีกำหนด |
ไม่มีกำหนด |
มาตรา 24 “การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย พระมหากษัตริย์จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กระทำต่อพระรัชทายาทซึ่งทรงบรรลุนิติภาวะแล้วหรือต่อผู้แทนพระองค์ก็ได้” วรรคสอง “ในระหว่างที่ยังมิได้ถวายสัตย์ปฏิญาณตามวรรคหนึ่ง จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้ซึ่งต้องถวายสัตย์ปฏิญาณปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนก็ได้” |
บรรณานุกรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.( 6 เมษายน 2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก.
มานิตย์ จุมปา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม. 2545.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พฤษภาคม 2562.
[1] มานิตย์ จุมปา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540).กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม. 2545. หน้า 28.
[2] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พฤษภาคม 2562, หน้า 9-33.
[3] มาตรา 20 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
[4] มาตรา 21 มาตรา 22 และมาตรา 23 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.