ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาชิกรัฐสภา"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:
----
----


นับแต่ที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมานั้น ได้มีวิวัฒนาการทางการเมืองมาเป็นลำดับจากเริ่มแรกที่มีการใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 มีรัฐสภาในรูปแบบสภาเดียว (unicameral System) คือ สภาผู้แทนราษฎร กระทั่งเมื่อมีการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 รัฐสภาจึงอยู่ในรูปแบบสองสภาคือ สภาผู้แทนราษฎร และพฤฒสภา ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมารัฐสภาไทยก็อยู่ในรูปแบบสองสภา คือ ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฏร และวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับถาวร
นับแต่ที่ประเทศไทยมี[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมานั้น ได้มีวิวัฒนาการทางการเมืองมาเป็นลำดับจากเริ่มแรกที่มีการใช้[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475]] มี[[รัฐสภา]]ในรูปแบบ[[สภาเดียว]] (unicameral System) คือ [[สภาผู้แทนราษฎร]] กระทั่งเมื่อมีการใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489]] รัฐสภาจึงอยู่ในรูปแบบ[[สองสภา]]คือ สภาผู้แทนราษฎร และ[[พฤฒสภา]] ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา[[รัฐสภา]]ไทยก็อยู่ในรูปแบบสองสภา คือ ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฏร และวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับถาวร
อย่างไรก็ตามในบางสมัยระบบสภาก็อาจเป็นระบบสภาเดียวหากรัฐธรรมนูญในขณะนั้นได้บัญญัติไว้  
อย่างไรก็ตามในบางสมัยระบบสภาก็อาจเป็นระบบสภาเดียวหากรัฐธรรมนูญในขณะนั้นได้บัญญัติไว้  
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:
==ความหมาย==
==ความหมาย==


โดยที่รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด นับแต่ที่ประเทศไทยได้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ซึ่งรัฐธรรมนูญทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา (Parliament) โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล ซึ่งอำนาจทั้ง 3 ทางนี้ คืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ดังนั้นรัฐสภาจึงเป็นองค์กรที่ถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อให้ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ  ซึ่งสมาชิกรัฐสภาประกอบด้วย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  และสมาชิกวุฒิสภา โดยจำนวนสมาชิกของแต่ละสภาจะมีจำนวนและที่มาอย่างใด ย่อมขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น
โดยที่[[รัฐธรรมนูญ]]เป็นกฎหมายสูงสุด นับแต่ที่ประเทศไทยได้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ซึ่งรัฐธรรมนูญทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา (Parliament) โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [[คณะรัฐมนตรี]]และ[[ศาล]]<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐสภาไทย, กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฏร, ม.ป.ป. , หน้า 135. </ref> ซึ่งอำนาจทั้ง 3 ทางนี้ คือ[[อำนาจนิติบัญญัติ]] [[อำนาจบริหาร]] และ[[อำนาจตุลาการ]] ดังนั้นรัฐสภาจึงเป็นองค์กรที่ถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อให้ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ<ref>เรื่องเดียวกัน</ref>   ซึ่งสมาชิกรัฐสภาประกอบด้วย [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] และ[[สมาชิกวุฒิสภา]] โดยจำนวนสมาชิกของแต่ละสภาจะมีจำนวนและที่มาอย่างใด ย่อมขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น


==อำนาจหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภา==
==อำนาจหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภา==


รัฐสภา ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งทั้งสองสภาต่างมีประธานสภาเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินกิจการต่าง ๆ ของแต่ละสภา โดยสภาผู้แทนราษฎรมีประธานสภาผู้แทนราษฎร ส่วนวุฒิสภามีประธานวุฒิสภา และโดยที่รัฐสภาประกอบด้วยสองสภาดังกล่าวจึงต้องมีประธานรัฐสภาเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินกิจการต่าง ของรัฐสภาตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ซึ่งประเทศที่มีรัฐสภาแบบสองสภานั้นประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาก็ได้ สำหรับประเทศไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  ได้กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ส่วนประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา และได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาไว้พอสรุปได้ ดังนี้
รัฐสภา ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งทั้งสองสภาต่างมีประธานสภาเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินกิจการต่าง ๆ ของแต่ละสภา โดยสภาผู้แทนราษฎรมี[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] ส่วนวุฒิสภามี[[ประธานวุฒิสภา]] และโดยที่รัฐสภาประกอบด้วยสองสภาดังกล่าวจึงต้องมี[[ประธานรัฐสภา]]เพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินกิจการต่าง ของรัฐสภาตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและ[[ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา]] ซึ่งประเทศที่มีรัฐสภาแบบสองสภานั้นประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาก็ได้ สำหรับประเทศไทย[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ได้กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ส่วนประธานวุฒิสภาเป็น[[รองประธานรัฐสภา]] และได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาไว้พอสรุปได้ ดังนี้


1.  อำนาจหน้าที่ในการตรากฎหมาย
1.  อำนาจหน้าที่ใน[[การตรากฎหมาย]]


2.  อำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
2.  อำนาจหน้าที่ใน[[การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน]]


3.  อำนาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบ
3.  อำนาจหน้าที่ใน[[การให้ความเห็นชอบ]]


4.  อำนาจหน้าที่ในการสรรหาและถอดถอนบุคคลในองค์กรต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด  
4.  อำนาจหน้าที่ใน[[การสรรหาและถอดถอนบุคคล]]ในองค์กรต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555,หน้า 27,29-31. </ref>
'''1.  การตรากฎหมาย''' เป็นหน้าที่ประการหนึ่งที่สมาชิกรัฐสภามีหน้าที่ในการร่วมกันพิจารณาร่างกฎหมาย ซึ่งนอกจากการตรากฎหมายหรือการตราพระราชบัญญัติแล้ว ยังได้หมายความรวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ต้องผ่านการพิจารณาและได้รับความยินยอมเห็นชอบจากรัฐสภาเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย (รวมทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศก็ต้องได้รับความยินยอมและเห็นชอบจากรัฐสภาเช่นกัน)
'''1.  การตรากฎหมาย''' เป็นหน้าที่ประการหนึ่งที่สมาชิกรัฐสภามีหน้าที่ในการร่วมกันพิจารณาร่างกฎหมาย ซึ่งนอกจากการตรากฎหมายหรือ[[การตราพระราชบัญญัติ]]แล้ว ยังได้หมายความรวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ต้องผ่านการพิจารณาและได้รับความยินยอมเห็นชอบจากรัฐสภาเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย (รวมทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศก็ต้องได้รับความยินยอมและเห็นชอบจากรัฐสภาเช่นกัน)


''' 2.  อำนาจในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน''' หมายถึง การสอดส่องดูแลการปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรีหรือฝ่ายบริหารตามวิธีการที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ ซึ่งวิธีการดังกล่าวได้แก่การตั้งกระทู้ถาม การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาสำคัญอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน โดยไม่มีการลงมติ และการขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล อันอาจส่งผลให้รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งได้ ซึ่งเป็นการถ่วงดุลอำนาจระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร นั่นเอง
''' 2.  อำนาจในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน''' หมายถึง การสอดส่องดูแลการปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรีหรือฝ่ายบริหารตามวิธีการที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ ซึ่งวิธีการดังกล่าวได้แก่[[การตั้งกระทู้ถาม]] [[การขอเปิดอภิปรายทั่วไป]]เพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาสำคัญอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน โดยไม่มีการลงมติ และ[[การขอเปิดอภิปรายทั่วไป]]เพื่อ[[ลงมติ]]ไม่ไว้วางใจ[[นายกรัฐมนตรี]]หรือ[[รัฐมนตรี]]เป็นรายบุคคล อันอาจส่งผลให้รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งได้ ซึ่งเป็น[[การถ่วงดุลอำนาจ]]ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร นั่นเอง


''' 3.  การให้ความเห็นชอบ''' รัฐธรรมนูญกำหนดให้สมาชิกรัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบในเรื่องสำคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของแผ่นดินในกรณีต่าง ๆ โดยกำหนดให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีอำนาจดำเนินการในเรื่องดังนี้
''' 3.  การให้ความเห็นชอบ''' รัฐธรรมนูญกำหนดให้สมาชิกรัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบในเรื่องสำคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของแผ่นดินในกรณีต่าง ๆ โดยกำหนดให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีอำนาจดำเนินการในเรื่องดังนี้


3.1  การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
3.1  การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]


3.2  การให้ความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติ
3.2  การให้ความเห็นชอบใน[[การสืบราชสมบัติ]]


3.3  การให้ความเห็นชอบในการปิดสมัยประชุมสมัยสามัญของรัฐสภาก่อนครบกำหนดเวลา 120 วัน
3.3  การให้ความเห็นชอบใน[[การปิดสมัยประชุมสมัยสามัญ]]ของรัฐสภาก่อนครบกำหนดเวลา 120 วัน


3.4  การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติที่คณะรัฐมนตรีระบุไว้ในนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาว่าจำเป็นต่อการบริหารราชการแผ่นดิน
3.4  การให้ความเห็นชอบให้พิจารณา[[ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]]หรือร่างพระราชบัญญัติที่[[คณะรัฐมนตรี]]ระบุไว้ในนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาว่าจำเป็นต่อ[[การบริหารราชการแผ่นดิน]]


3.5  การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังมิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ กรณีอายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร
3.5  การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังมิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ กรณีอายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมี[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร]]


3.6  การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม
3.6  การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม
บรรทัดที่ 44: บรรทัดที่ 44:
3.7  การให้ความเห็นชอบในการทำหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ
3.7  การให้ความเห็นชอบในการทำหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ


4.  '''อำนาจหน้าที่ในการสรรหา และถอดถอนบุคคลในองค์กรต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด''' โดยรัฐธรรมนูญกำหนดให้รัฐสภามีอำนาจหน้าที่ในการสรรหาบุคคลในองค์กรต่าง ๆ โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา และถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงออกจากตำแหน่ง ในกรณีมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม จงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมอย่างร้ายแรงเป็นต้น
4.  '''อำนาจหน้าที่ในการสรรหา และถอดถอนบุคคลในองค์กรต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด''' โดยรัฐธรรมนูญกำหนดให้รัฐสภามีอำนาจหน้าที่ในการสรรหาบุคคลในองค์กรต่าง ๆ โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา และถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา [[ประธานศาลฎีกา]] [[ประธานศาลรัฐธรรมนูญ]] [[ประธานศาลปกครองสูงสุด]] [[อัยการสูงสุด]] [[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] [[กรรมการการเลือกตั้ง]] [[ผู้ตรวจการแผ่นดิน]] [[กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] [[ผู้พิพากษา]]หรือ[[ตุลาการ]] [[พนักงานอัยการ]] หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงออกจากตำแหน่ง ในกรณีมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม จงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมอย่างร้ายแรงเป็นต้น


==บทสรุป==
==บทสรุป==
บรรทัดที่ 53: บรรทัดที่ 53:


[[ไฟล์:อำนาจหน้าที่ของรัฐสภา.jpg]]
[[ไฟล์:อำนาจหน้าที่ของรัฐสภา.jpg]]
==อ้างอิง==
<references/>


==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:23, 6 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง : พรภิวรรณ ชีวะเสริมส่ง

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


นับแต่ที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมานั้น ได้มีวิวัฒนาการทางการเมืองมาเป็นลำดับจากเริ่มแรกที่มีการใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 มีรัฐสภาในรูปแบบสภาเดียว (unicameral System) คือ สภาผู้แทนราษฎร กระทั่งเมื่อมีการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 รัฐสภาจึงอยู่ในรูปแบบสองสภาคือ สภาผู้แทนราษฎร และพฤฒสภา ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมารัฐสภาไทยก็อยู่ในรูปแบบสองสภา คือ ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฏร และวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับถาวร

อย่างไรก็ตามในบางสมัยระบบสภาก็อาจเป็นระบบสภาเดียวหากรัฐธรรมนูญในขณะนั้นได้บัญญัติไว้

ความหมาย

โดยที่รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด นับแต่ที่ประเทศไทยได้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ซึ่งรัฐธรรมนูญทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา (Parliament) โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล[1] ซึ่งอำนาจทั้ง 3 ทางนี้ คืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ดังนั้นรัฐสภาจึงเป็นองค์กรที่ถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อให้ทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ[2] ซึ่งสมาชิกรัฐสภาประกอบด้วย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา โดยจำนวนสมาชิกของแต่ละสภาจะมีจำนวนและที่มาอย่างใด ย่อมขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น

อำนาจหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภา

รัฐสภา ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งทั้งสองสภาต่างมีประธานสภาเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินกิจการต่าง ๆ ของแต่ละสภา โดยสภาผู้แทนราษฎรมีประธานสภาผู้แทนราษฎร ส่วนวุฒิสภามีประธานวุฒิสภา และโดยที่รัฐสภาประกอบด้วยสองสภาดังกล่าวจึงต้องมีประธานรัฐสภาเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐสภาตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ซึ่งประเทศที่มีรัฐสภาแบบสองสภานั้นประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาก็ได้ สำหรับประเทศไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ส่วนประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา และได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาไว้พอสรุปได้ ดังนี้

1. อำนาจหน้าที่ในการตรากฎหมาย

2. อำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน

3. อำนาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบ

4. อำนาจหน้าที่ในการสรรหาและถอดถอนบุคคลในองค์กรต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด[3]

1. การตรากฎหมาย เป็นหน้าที่ประการหนึ่งที่สมาชิกรัฐสภามีหน้าที่ในการร่วมกันพิจารณาร่างกฎหมาย ซึ่งนอกจากการตรากฎหมายหรือการตราพระราชบัญญัติแล้ว ยังได้หมายความรวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ต้องผ่านการพิจารณาและได้รับความยินยอมเห็นชอบจากรัฐสภาเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย (รวมทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศก็ต้องได้รับความยินยอมและเห็นชอบจากรัฐสภาเช่นกัน)

2. อำนาจในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน หมายถึง การสอดส่องดูแลการปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรีหรือฝ่ายบริหารตามวิธีการที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ ซึ่งวิธีการดังกล่าวได้แก่การตั้งกระทู้ถาม การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาสำคัญอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน โดยไม่มีการลงมติ และการขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล อันอาจส่งผลให้รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งได้ ซึ่งเป็นการถ่วงดุลอำนาจระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร นั่นเอง

3. การให้ความเห็นชอบ รัฐธรรมนูญกำหนดให้สมาชิกรัฐสภาเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบในเรื่องสำคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของแผ่นดินในกรณีต่าง ๆ โดยกำหนดให้ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีอำนาจดำเนินการในเรื่องดังนี้

3.1 การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

3.2 การให้ความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติ

3.3 การให้ความเห็นชอบในการปิดสมัยประชุมสมัยสามัญของรัฐสภาก่อนครบกำหนดเวลา 120 วัน

3.4 การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติที่คณะรัฐมนตรีระบุไว้ในนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาว่าจำเป็นต่อการบริหารราชการแผ่นดิน

3.5 การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังมิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ กรณีอายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร

3.6 การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม

3.7 การให้ความเห็นชอบในการทำหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอย่างมีนัยสำคัญ

4. อำนาจหน้าที่ในการสรรหา และถอดถอนบุคคลในองค์กรต่าง ๆ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด โดยรัฐธรรมนูญกำหนดให้รัฐสภามีอำนาจหน้าที่ในการสรรหาบุคคลในองค์กรต่าง ๆ โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา และถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงออกจากตำแหน่ง ในกรณีมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม จงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมอย่างร้ายแรงเป็นต้น

บทสรุป

ทิศทางของการเมืองการปกครองไทยจะดำเนินไปในทิศทางใดนั้น รัฐสภาซึ่งเป็นองค์กรนิติบัญญัติจึงย่อมมีบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นหนึ่งใน 3 องค์กรหลักของประเทศไทยที่จะขับเคลื่อน ซึ่งการขับเคลื่อนย่อมต้องเป็นหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาที่จะต้องดำเนินการตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ให้เกิดประสิทธิผล

แผนภูมิโครงสร้างอำนาจหน้าที่ของรัฐสภา

อ้างอิง

  1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐสภาไทย, กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฏร, ม.ป.ป. , หน้า 135.
  2. เรื่องเดียวกัน
  3. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555,หน้า 27,29-31.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา 2555. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555.

2. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553 . กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2556.

บรรณานุกรม

1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา 2555. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555.

2. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2556.

3. ณรงค์ พ่วงพิศ รศ., สุรวุฒิ ปัดไธสง ผศ.ดร. อำนาจหน้าที่และบทบาทของสมาชิกรัฐสภาไทยที่มาจากการแต่งตั้ง. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2542.