ผลต่างระหว่างรุ่นของ "8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
----
----


วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เป็นวันรัฐประหารที่นายทหารกลุ่มหนึ่งนำกำลังเข้ายึดอำนาจล้มรัฐบาล คณะบุคคลซึ่งเป็นทหารเสียเกือบหมดเรียกตัวเองว่า “คณะรัฐประหาร” ได้นำกำลังเข้ายึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญ โดยประกาศว่า
วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เป็นวัน[[รัฐประหาร]]ที่นายทหารกลุ่มหนึ่งนำกำลังเข้ายึดอำนาจล้ม[[รัฐบาล]] คณะบุคคลซึ่งเป็นทหารเสียเกือบหมดเรียกตัวเองว่า “คณะรัฐประหาร” ได้นำกำลังเข้ายึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญ โดยประกาศว่า


“บัดนี้ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะวิกฤติการณ์ ประชาชนพลเมืองได้รับความลำบากเดือดร้อน เพราะขาดอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และขาดแคลนสิ่งอื่น ๆ นานัปการ...ทหารของชาติได้พร้อมใจกันทำรัฐประหารขึ้น”
“บัดนี้ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะวิกฤติการณ์ ประชาชน[[พลเมือง]]ได้รับความลำบากเดือดร้อน เพราะขาดอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และขาดแคลนสิ่งอื่น ๆ นานัปการ...ทหารของชาติได้พร้อมใจกันทำรัฐประหารขึ้น”
ผู้นำในการรัฐประหารครั้งนั้นเป็นนายทหารนอกราชการก็คือ พลโทผิน  ชุณหะวัณ พอยึดอำนาจได้แล้วก็ได้เชิญ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งแพ้ภัยทางการเมืองเพราะเป็นนายกรัฐมนตรีที่ไปทำการร่วมรบกับฝ่ายญี่ปุ่น ให้กลับมาเป็น “ผู้บัญชาการทหารแห่งประเทศไทย”
ผู้นำในการรัฐประหารครั้งนั้นเป็นนายทหารนอกราชการก็คือ[[พลโทผิน  ชุณหะวัณ]] พอยึดอำนาจได้แล้วก็ได้เชิญ [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ซึ่งแพ้ภัยทางการเมืองเพราะเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ที่ไปทำการร่วมรบกับฝ่ายญี่ปุ่น ให้กลับมาเป็น “ผู้บัญชาการทหารแห่งประเทศไทย”


ตอนที่ยึดอำนาจนั้นเพิ่งเสร็จสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ไม่นาน คณะผู้ยึดอำนาจก็ยังไม่กล้าเข้ามาเป็นรัฐบาลเอง หรือแม้จะเอาจอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้ซึ่งเป็นคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาก่อน ก็อาจไม่เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส
ตอนที่ยึดอำนาจนั้นเพิ่งเสร็จสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ไม่นาน คณะผู้ยึดอำนาจก็ยังไม่กล้าเข้ามาเป็นรัฐบาลเอง หรือแม้จะเอาจอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้ซึ่งเป็นคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาก่อน ก็อาจไม่เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส


ดังนั้น  รัฐบาลที่เข้ามาเป็นหลังการรัฐประหารก็คือ รัฐบาลที่มี นายควง  อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้  เพราะนายควง  ตอนนั้นเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านของรัฐบาลอยู่ ได้อภิปรายทั่วไปเล่นงานรัฐบาลมา 8 วัน กับ 7 คืน แต่ลงมติแล้วรัฐบาลชนะ ที่เอานายควง มาป็นนั้นอีกอย่างหนึ่งก็คือ นายควง เคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาก่อนเหมือนกัน และก็เป็นคนอยู่ในคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองด้วย ที่สำคัญไปกว่าอย่างอื่นก็คือ จะให้นายควง มาเป็นนายกรัฐมนตรี ตั้งรัฐบาลและจัดการเลือกตั้งทั่วไปหาสมาชิกสภาชุดใหม่นั่นเอง
ดังนั้น  รัฐบาลที่เข้ามาเป็นหลังการรัฐประหารก็คือ รัฐบาลที่มี [[นายควง  อภัยวงศ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้  เพราะนายควง  ตอนนั้นเป็นหัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] ซึ่งเป็น[[พรรคฝ่ายค้าน]]ของรัฐบาลอยู่ ได้[[อภิปรายทั่วไป]]เล่นงานรัฐบาลมา 8 วัน กับ 7 คืน แต่ลงมติแล้วรัฐบาลชนะ ที่เอานายควง มาเป็นนั้นอีกอย่างหนึ่งก็คือ นายควง เคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาก่อนเหมือนกัน และก็เป็นคนอยู่ในคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองด้วย ที่สำคัญไปกว่าอย่างอื่นก็คือ จะให้นายควง มาเป็นนายกรัฐมนตรี ตั้งรัฐบาลและจัดการเลือกตั้งทั่วไปหาสมาชิกสภาชุดใหม่นั่นเอง


ส่วนรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2489 อันเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากในสมัยนั้น ไม่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาจากการแต่งตั้งเลย แต่ก็มีสมาชิกพฤฒสภาที่จะให้มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมของประชาชนเท่านั้น เขาได้ล้มเลิกไปพร้อมกับการยึดอำนาจ และก็ไม่น่าห่วง เพราะรองหัวหน้าคณะรัฐประหาร นายพันเอกหลวงกาจสงครามได้ร่างไว้แล้ว โดยซ่อนไว้อย่างเรียบร้อยที่ใต้ตุ่ม หยิบฉวยเอามาประกาศใช้ได้ทันที ในวันที่ 9 พฤศจิกายน หลังวันยึดอำนาจได้เพียงวันเดียว
ส่วน[[รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2489]] อันเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากในสมัยนั้น ไม่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาจากการแต่งตั้งเลย แต่ก็มี[[สมาชิกพฤฒสภา]]ที่จะให้มาจาก[[การเลือกตั้งทางอ้อม]]ของประชาชนเท่านั้น เขาได้ล้มเลิกไปพร้อมกับการยึดอำนาจ และก็ไม่น่าห่วง เพราะรองหัวหน้าคณะรัฐประหาร [[นายพันเอกหลวงกาจสงคราม]]ได้ร่างไว้แล้ว โดยซ่อนไว้อย่างเรียบร้อยที่ใต้ตุ่ม หยิบฉวยเอามาประกาศใช้ได้ทันที ในวันที่ 9 พฤศจิกายน หลังวันยึดอำนาจได้เพียงวันเดียว
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2490 จึงมีฉายาว่า “รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม”
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2490 จึงมีฉายาว่า “[[รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม]]”


รัฐบาลนายควง  อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เสร็จในวันที่ 28 มกราคมพ.ศ. 2491 และนายควง  ซึ่งคราวนี้สภาเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีก็เข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 และจัดตั้งรัฐบาลมีคณะรัฐมนตรีในอีก 4 วันต่อมา
รัฐบาลนายควง  อภัยวงศ์ [[หัวหน้าพรรค]]ประชาธิปัตย์จัดการเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ได้เสร็จในวันที่ 28 มกราคมพ.ศ. 2491 และนายควง  ซึ่งคราวนี้สภาเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีก็เข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 และจัดตั้งรัฐบาลมีคณะรัฐมนตรีในอีก 4 วันต่อมา
แต่ก็น่าเสียใจด้วย เพราะอีกไม่ถึง 40 วัน รัฐบาลนายควง  อภัยวงศ์ ก็ถูกบังคับให้ลาออก เข้าตำรา “เสร็จนา ฆ่าโคถึก” จนนายควง ได้ลาออกในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491 ดังที่ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์ บันทึกเอาไว้ว่า
แต่ก็น่าเสียใจด้วย เพราะอีกไม่ถึง 40 วัน รัฐบาลนายควง  อภัยวงศ์ ก็ถูกบังคับให้ลาออก เข้าตำรา “เสร็จนา ฆ่าโคถึก” จนนายควง ได้ลาออกในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491 ดังที่ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์ บันทึกเอาไว้ว่า
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 30:
รัฐบาลใหม่ที่ตั้งขึ้นก็ได้จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังมีทหารเข้ามาเป็นรัฐมนตรีอยู่เป็นจำนวนน้อย แต่ก็เป็นรัฐบาลที่มีทหารและกองทัพค้ำจุนอยู่มากกว่ามีพรรคการเมืองหนุน
รัฐบาลใหม่ที่ตั้งขึ้นก็ได้จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังมีทหารเข้ามาเป็นรัฐมนตรีอยู่เป็นจำนวนน้อย แต่ก็เป็นรัฐบาลที่มีทหารและกองทัพค้ำจุนอยู่มากกว่ามีพรรคการเมืองหนุน


แม้จะเป็นรัฐบาลของทหารโดยนายทหารก็ตาม ก็หาได้มีความมั่นคงมากนัก เพราะมีข่าวเกี่ยวกับการจะล้มรัฐบาล และในปี พ.ศ. 2491 นี่เอง ทางรัฐบาลก็จับกลุ่มนายทหารจำนวนหนึ่งในข้อหา “กบฏ 1 ตุลาคม” เพราะนายทหารกลุ่มนี้วางแผนกันที่จะล้มรัฐบาล
แม้จะเป็นรัฐบาลของทหารโดยนายทหารก็ตาม ก็หาได้มีความมั่นคงมากนัก เพราะมีข่าวเกี่ยวกับการจะล้มรัฐบาล และในปี พ.ศ. 2491 นี่เอง ทางรัฐบาลก็จับกลุ่มนายทหารจำนวนหนึ่งในข้อหา “[[กบฏ 1 ตุลาคม]]” เพราะนายทหารกลุ่มนี้วางแผนกันที่จะล้มรัฐบาล
ต่อมาอีกหนึ่งปีนี้ก็มีกบฏเกิดขึ้นตอนต้นปีเรียกว่า “กบฏวังหลวง” โดยฝ่ายกบฏได้ไปยึดกระทรวงการคลังซึ่งตอนนั้นมีที่ทำการอยู่ในบริเวณพระบรมมหาราชวัง
ต่อมาอีกหนึ่งปีนี้ก็มีกบฏเกิดขึ้นตอนต้นปีเรียกว่า “[[กบฏวังหลวง]]” โดยฝ่าย[[กบฏ]]ได้ไปยึดกระทรวงการคลังซึ่งตอนนั้นมีที่ทำการอยู่ในบริเวณพระบรมมหาราชวัง
อีกสองปีต่อมาในเดือนมิถุนายนยังมีกบฏชื่อเป็นต่างชาติคือ “กบฏแมนแฮตตัน” ซึ่งตั้งตามชื่อเรือขุดที่รัฐบาลสหรัฐมอบให้รัฐบาลไทย และผู้ก่อการกบฏก็ได้ไปจี้ตัวนายกรัฐมนตรีในวันที่รับมอบเรือขุดนั่นเอง เหตุการณ์นี้เกิดในปี พ.ศ. 2494  
อีกสองปีต่อมาในเดือนมิถุนายนยังมีกบฏชื่อเป็นต่างชาติคือ “[[กบฏแมนแฮตตัน]]” ซึ่งตั้งตามชื่อเรือขุดที่รัฐบาลสหรัฐมอบให้รัฐบาลไทย และผู้ก่อการกบฏก็ได้ไปจี้ตัวนายกรัฐมนตรีในวันที่รับมอบเรือขุดนั่นเอง เหตุการณ์นี้เกิดในปี พ.ศ. 2494  


ปราบกบฏมาบ่อย คณะทหารที่ปกครองประเทศเลยคิดยึดอำนาจเสียเองอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2494 คราวนี้อยากทำอะไรก็ทำได้สะดวกขึ้น
ปราบกบฏมาบ่อย คณะทหารที่ปกครองประเทศเลยคิดยึดอำนาจเสียเองอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2494 คราวนี้อยากทำอะไรก็ทำได้สะดวกขึ้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:51, 16 กันยายน 2556

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เป็นวันรัฐประหารที่นายทหารกลุ่มหนึ่งนำกำลังเข้ายึดอำนาจล้มรัฐบาล คณะบุคคลซึ่งเป็นทหารเสียเกือบหมดเรียกตัวเองว่า “คณะรัฐประหาร” ได้นำกำลังเข้ายึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญ โดยประกาศว่า

“บัดนี้ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะวิกฤติการณ์ ประชาชนพลเมืองได้รับความลำบากเดือดร้อน เพราะขาดอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และขาดแคลนสิ่งอื่น ๆ นานัปการ...ทหารของชาติได้พร้อมใจกันทำรัฐประหารขึ้น” ผู้นำในการรัฐประหารครั้งนั้นเป็นนายทหารนอกราชการก็คือพลโทผิน ชุณหะวัณ พอยึดอำนาจได้แล้วก็ได้เชิญ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งแพ้ภัยทางการเมืองเพราะเป็นนายกรัฐมนตรีที่ไปทำการร่วมรบกับฝ่ายญี่ปุ่น ให้กลับมาเป็น “ผู้บัญชาการทหารแห่งประเทศไทย”

ตอนที่ยึดอำนาจนั้นเพิ่งเสร็จสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ไม่นาน คณะผู้ยึดอำนาจก็ยังไม่กล้าเข้ามาเป็นรัฐบาลเอง หรือแม้จะเอาจอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้ซึ่งเป็นคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาก่อน ก็อาจไม่เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส

ดังนั้น รัฐบาลที่เข้ามาเป็นหลังการรัฐประหารก็คือ รัฐบาลที่มี นายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ เพราะนายควง ตอนนั้นเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านของรัฐบาลอยู่ ได้อภิปรายทั่วไปเล่นงานรัฐบาลมา 8 วัน กับ 7 คืน แต่ลงมติแล้วรัฐบาลชนะ ที่เอานายควง มาเป็นนั้นอีกอย่างหนึ่งก็คือ นายควง เคยเป็นนายกรัฐมนตรีมาก่อนเหมือนกัน และก็เป็นคนอยู่ในคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองด้วย ที่สำคัญไปกว่าอย่างอื่นก็คือ จะให้นายควง มาเป็นนายกรัฐมนตรี ตั้งรัฐบาลและจัดการเลือกตั้งทั่วไปหาสมาชิกสภาชุดใหม่นั่นเอง

ส่วนรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2489 อันเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากในสมัยนั้น ไม่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาจากการแต่งตั้งเลย แต่ก็มีสมาชิกพฤฒสภาที่จะให้มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมของประชาชนเท่านั้น เขาได้ล้มเลิกไปพร้อมกับการยึดอำนาจ และก็ไม่น่าห่วง เพราะรองหัวหน้าคณะรัฐประหาร นายพันเอกหลวงกาจสงครามได้ร่างไว้แล้ว โดยซ่อนไว้อย่างเรียบร้อยที่ใต้ตุ่ม หยิบฉวยเอามาประกาศใช้ได้ทันที ในวันที่ 9 พฤศจิกายน หลังวันยึดอำนาจได้เพียงวันเดียว

รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2490 จึงมีฉายาว่า “รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม

รัฐบาลนายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เสร็จในวันที่ 28 มกราคมพ.ศ. 2491 และนายควง ซึ่งคราวนี้สภาเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีก็เข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 และจัดตั้งรัฐบาลมีคณะรัฐมนตรีในอีก 4 วันต่อมา

แต่ก็น่าเสียใจด้วย เพราะอีกไม่ถึง 40 วัน รัฐบาลนายควง อภัยวงศ์ ก็ถูกบังคับให้ลาออก เข้าตำรา “เสร็จนา ฆ่าโคถึก” จนนายควง ได้ลาออกในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491 ดังที่ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์ บันทึกเอาไว้ว่า

“วันที่ 8 เมษายน คณะรัฐมนตรีได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง โดยอ้างว่าเนื่องจากคณะรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้บังคับให้ลาออกจากตำแหน่งภายใน 24 ชั่วโมง จึงจำต้องกราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง”

การที่นายควง อภัยวงศ์ ถูกบังคับให้ลาออกจึงเป็นเรื่องที่รู้กันทั่วไป

รัฐบาลใหม่ที่ตั้งขึ้นก็ได้จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังมีทหารเข้ามาเป็นรัฐมนตรีอยู่เป็นจำนวนน้อย แต่ก็เป็นรัฐบาลที่มีทหารและกองทัพค้ำจุนอยู่มากกว่ามีพรรคการเมืองหนุน

แม้จะเป็นรัฐบาลของทหารโดยนายทหารก็ตาม ก็หาได้มีความมั่นคงมากนัก เพราะมีข่าวเกี่ยวกับการจะล้มรัฐบาล และในปี พ.ศ. 2491 นี่เอง ทางรัฐบาลก็จับกลุ่มนายทหารจำนวนหนึ่งในข้อหา “กบฏ 1 ตุลาคม” เพราะนายทหารกลุ่มนี้วางแผนกันที่จะล้มรัฐบาล

ต่อมาอีกหนึ่งปีนี้ก็มีกบฏเกิดขึ้นตอนต้นปีเรียกว่า “กบฏวังหลวง” โดยฝ่ายกบฏได้ไปยึดกระทรวงการคลังซึ่งตอนนั้นมีที่ทำการอยู่ในบริเวณพระบรมมหาราชวัง

อีกสองปีต่อมาในเดือนมิถุนายนยังมีกบฏชื่อเป็นต่างชาติคือ “กบฏแมนแฮตตัน” ซึ่งตั้งตามชื่อเรือขุดที่รัฐบาลสหรัฐมอบให้รัฐบาลไทย และผู้ก่อการกบฏก็ได้ไปจี้ตัวนายกรัฐมนตรีในวันที่รับมอบเรือขุดนั่นเอง เหตุการณ์นี้เกิดในปี พ.ศ. 2494

ปราบกบฏมาบ่อย คณะทหารที่ปกครองประเทศเลยคิดยึดอำนาจเสียเองอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2494 คราวนี้อยากทำอะไรก็ทำได้สะดวกขึ้น

นับเป็นการเมืองที่ทหารเข้ามามีอำนาจตรงและมากขึ้นตั้งแต่บัดนั้น