ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กปปส."
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ฐิติกร สังข์แก้ว ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบท..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ผู้เรียบเรียง : ฐิติกร สังข์แก้ว | ผู้เรียบเรียง : ฐิติกร สังข์แก้ว | ||
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศ.นรนิติ เศรษฐบุตร | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศ.นรนิติ เศรษฐบุตร | ||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
'''ความนำ''' | '''ความนำ''' | ||
กลุ่มคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ กปปส. เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง | กลุ่มคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ กปปส. เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่มี[[สุเทพ_เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] อดีตเลขาธิการ[[พรรคประชาธิปัตย์]]เป็นเลขาธิการ อันมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านคัดค้าน[[รัฐบาล]]นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ตั้งแต่ปลายปี 2556 จนกระทั่งกลางปี 2557 ในประเด็นที่เกี่ยวเนื่องส่งผลกระทบต่อการเมืองไทยอย่างกว้างขวางและขยายวงความแตกต่างขัดแย้งต่อสังคมไทยอย่างลึกซึ้ง อันได้แก่ กรณีการผลักดันร่าง[[พระราชบัญญัตินิรโทษกรรม]] ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญประเด็นที่มา[[สมาชิกวุฒิสภา]] ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 เรื่องการทำสนธิสัญญาระหว่างประเทศ โครงการจำนำข้าวชาวนา โครงการเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ และการคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ทั้งนี้ กลุ่ม กปปส. มีจุดเริ่มต้นจากการปราศรัยของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ บริเวณสถานีรถไฟสามเสน หรือ “[[ม็อบสามเสน]]” ก่อนที่จะยกระดับการชุมนุมโดยผนวกรวมเครือข่ายองค์กรภาคสังคม และประชาชน เข้าร่วมชุมนุมอย่างคึกคักบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ซึ่งใช้นกหวีดเป็นอุปกรณ์ขับไล่รัฐบาล จนรู้จักกันในชื่อ “[[ม็อบนกหวีด]]” และ “[[มวลมหาประชาชน]]” เคลื่อนไหวรณรงค์[[ยุทธศาสตร์ดาวกระจาย]] “[[Shutdown_กรุงเทพฯ]]” กดดันให้รัฐบาล[[นางสาวยิ่งลักษณ์_ชินวัตร]] [[ยุบสภา]] และ[[รัฐบาลรักษาการ]]ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีข้อเสนอหลักในเรื่อง “[[ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง]]” | ||
| | ||
บรรทัดที่ 16: | บรรทัดที่ 16: | ||
''' การก่อตัวและจัดตั้งกลุ่ม กปปส.''' | ''' การก่อตัวและจัดตั้งกลุ่ม กปปส.''' | ||
แนวทางการเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส. มีเป้าหมายมุ่งตรงไปที่การต่อต้านการกระทำของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในช่วงปลายปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 ซึ่งสามารถรณรงค์ระดมมวลชนเข้าร่วมจากภาคส่วนต่างๆ จำนวนมาก อย่างไรก็ตาม แม้จุดกำเนิดก่อเกิดของกลุ่ม กปปส. ที่เป็นทางการจะเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 โดยการประกาศจัดตั้งเป็นองค์กรเคลื่อนไหวทางการเมืองซึ่งประกอบด้วย นายสุเทพ เทือกสุบรรณและอดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์จำนวนหนึ่ง | ''' ''' แนวทางการเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส. มีเป้าหมายมุ่งตรงไปที่การต่อต้านการกระทำของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในช่วงปลายปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 ซึ่งสามารถรณรงค์ระดมมวลชนเข้าร่วมจากภาคส่วนต่างๆ จำนวนมาก อย่างไรก็ตาม แม้จุดกำเนิดก่อเกิดของกลุ่ม กปปส. ที่เป็นทางการจะเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 โดยการประกาศจัดตั้งเป็นองค์กรเคลื่อนไหวทางการเมืองซึ่งประกอบด้วย นายสุเทพ เทือกสุบรรณและอดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์จำนวนหนึ่ง พร้อมด้วย[[แกนนำเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย]] (คปท.) [[แกนนำกองทัพประชาชนโค่นล้มระบอบทักษิณ]] (กปท.) และ[[สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์]](สรส.)[[#_ftn1|[1]]] แต่รากฐานความคิดและแนวทางการกระทำทางการเมืองเช่นนี้ก็มีการวางยุทธศาสตร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เล่าถึงท่าทีการต่อสู้ทางการเมืองนอกสภาก่อนการจัดตั้ง กปปส. ว่า | ||
| | ||
บรรทัดที่ 24: | บรรทัดที่ 24: | ||
| | ||
จนกระทั่ง | จนกระทั่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร[[เพื่อไทย|พรรคเพื่อไทย]]ร่วมกันเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในเดือนตุลาคม 2556 ซึ่งเป็นเสมือน “ฟางเส้นสุดท้าย” กระแสต่อต้าน วิพากษ์วิจารณ์ และการเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกสภาก็เริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดตั้งเวทีชุมนุมปราศรัยบริเวณสถานีรถไฟสามเสนหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อันถูกเรียกขนานกันในเวลานั้นว่า “ม็อบสามเสน” จนถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 กลุ่มเคลื่อนไหวคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมก็เคลื่อนขบวนไปตั้งเวทีการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย พร้อมกับกลุ่มชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมที่ถนนสีลม ซึ่งใช้ “นกหวีด” เป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อต้าน[[#_ftn3|[3]]] ก่อนที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์จำนวน 9 คน จะประกาศลาออกจากตำแหน่ง ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 อันประกอบด้วย [[สุเทพ_เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] (อดีต ส.ส.สุราษฎร์ธานี) [[ถาวร_เสนเนียม|นายถาวร เสนเนียม]] (อดีต ส.ส.สงขลา) [[อิสสระ_สมชัย|นายอิสสระ สมชัย]] (อดีต ส.ส.บัญชีรายชื่อ) [[สาทิตย์_วงศ์หนองเตย|นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย]] (อดีต ส.ส.ตรัง) [[วิทยา_แก้วภราดัย|นายวิทยา แก้วภราดัย]] (อดีต ส.ส.นครศรีธรรมราช) [[ชุมพล_จุลใส|นายชุมพล จุลใส]] (อดีต ส.ส.ชุมพร) [[พุทธิพงษ์_ปุณณกันต์|นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์]] [[เอกนัฏ_พร้อมพันธุ์|นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์]] และ[[ณัฏฐพล_ทีปสุวรรณ|นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ]] (อดีต ส.ส. กทม.)[[#_ftn4|[4]]] เพื่อดำเนินการเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกสภาอย่างเปิดเผย จนนำไปสู่การจัดตั้งคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ กปปส. ซึ่งมีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขาธิการ | ||
| | ||
บรรทัดที่ 30: | บรรทัดที่ 30: | ||
'''ยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส.''' | '''ยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส.''' | ||
สำหรับยุทธศาสตร์ทางการเมืองนั้น กล่าวได้ว่า กลุ่ม กปปส. | สำหรับยุทธศาสตร์ทางการเมืองนั้น กล่าวได้ว่า กลุ่ม กปปส. อาศัยการแย่งยึดพื้นที่สำคัญทางราชการเพื่อให้เกิดความชะงักงันใน[[การบริหารราชการแผ่นดิน]]ของ[[รัฐบาล]] อันจะก่อกระแสสังคมกดดันรัฐสภาเพื่อ[[การลงมติ|ลงมติ]]ไม่เห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ทั้งยังให้นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในฐานะนายกรัฐมนตรีประกาศ[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร|ยุบสภาผู้แทนราษฎร]] กดดันให้รัฐบาลรักษาการหลังจากนั้นออกจากตำแหน่ง และขัดขวางการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป ซึ่งจะจัดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 การเคลื่อนไหวทางการเมืองจึงเริ่มต้นจากยุทธศาสตร์ดาวกระจายเข้ายึดสถานที่ราชการ อาทิเช่น กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) สำนักงานตำรวจนครบาล (บช.น.) ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 9 ช่อง 11 กระทรวงมหาดไทย สำนักงานประมาณ และ ศูนย์ราชการ ต่อมาวันที่ 22 ธันวาคม 2556 กลุ่ม กปปส. นัดชุมนุมใหญ่บนถนนเส้นสำคัญของกรุงเทพฯ[[#_ftn5|[5]]] เพื่อแสดงพลังของ “[[มวลมหาประชาชน]]” จากนั้นคืนวันที่ 27 ธันวาคม 2556 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ก็ประกาศยุทธศาสตร์ “Shutdown กรุงเทพฯ” ที่กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 มกราคม 2557 โดยกระจายผู้ชุมนุมออกไปยึดกุมพื้นที่และตั้งเวทีปราศรัยชุมนุม 7 แห่งทั่วกรุงเทพฯ ประกอบด้วย แจ้งวัฒนะ ห้าแยกลาดพร้าว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แยกปทุมวัน สวนลุมพินี อโศก และแยกราชประสงค์[[#_ftn6|[6]]] ตลอดจนบุกยึดสถานที่ราชการทุกแห่งในกรุงเทพฯ เพื่อหวังให้หน่วยงานภาครัฐและข้าราชการไม่อาจปฏิบัติงานได้ และที่สุดสำคัญก็คือ การปิดล้อมสถานที่รับสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและปิดล้อมคูหาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายแห่งทั่วประเทศ[[#_ftn7|[7]]] | ||
| | ||
บรรทัดที่ 36: | บรรทัดที่ 36: | ||
'''ข้อเสนอแนวทางปฏิรูปของกลุ่ม กปปส.''' | '''ข้อเสนอแนวทางปฏิรูปของกลุ่ม กปปส.''' | ||
การผลักดันพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่อไทย หรือที่รู้จักกันในชื่อ “พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมเหมาเข่ง” และ “พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฉบับสุดซอย” ก่อให้เกิดความคิดคัดค้านไม่เห็นด้วยอย่างกว้างขวาง ทั้งในส่วนของสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) บางส่วน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในวงกว้าง จนกระทั่ง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีต้องแสดงความรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการประกาศยุบสภาในวันที่ 9 ธันวาคม 2556 และจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป ขึ้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[[#_ftn8|[8]]] ภายหลังจากนั้นไม่นาน กลุ่ม กปปส. ก็ประกาศจุดยืนทางการเมืองของตนเองออกมาอย่างเด่นชัดผ่านข้อเสนอรณรงค์ “ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง” อันมีสาระสำคัญ ก็คือ ดำเนินการปฏิรูปขั้นพื้นฐานก่อนที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งตามปกติ อันเป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ว่าด้วยอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย (มาตรา 3) และประเพณีการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของไทย (มาตรา 7) โดยมี | การผลักดันพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่อไทย หรือที่รู้จักกันในชื่อ “พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมเหมาเข่ง” และ “พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฉบับสุดซอย” ก่อให้เกิดความคิดคัดค้านไม่เห็นด้วยอย่างกว้างขวาง ทั้งในส่วนของสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ [[กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) บางส่วน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในวงกว้าง จนกระทั่ง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีต้องแสดงความรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการประกาศยุบสภาในวันที่ [[9_ธันวาคม_พ.ศ._2556|9 ธันวาคม 2556]] และจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป ขึ้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[[#_ftn8|[8]]] ภายหลังจากนั้นไม่นาน กลุ่ม กปปส. ก็ประกาศจุดยืนทางการเมืองของตนเองออกมาอย่างเด่นชัดผ่านข้อเสนอรณรงค์ “ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง” อันมีสาระสำคัญ ก็คือ ดำเนินการปฏิรูปขั้นพื้นฐานก่อนที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งตามปกติ อันเป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ว่าด้วยอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย (มาตรา 3) และประเพณีการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของไทย (มาตรา 7) โดยมี “[[สภาประชาชน]]” อันประกอบด้วยสมาชิก 400 คน ที่มาจากสาขาวิชาชีพ ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ทั่วประเทศ 300 คน และอีก 100 คน จากการเลือกของ กปปส. ทำหน้าที่ทางนิติบัญญัติและปฏิรูปประเทศ 5 ด้านให้เสร็จสิ้นภายในเวลา 1 ปี 6 เดือน ดังนี้[[#_ftn9|[9]]] | ||
'''ด้านที่หนึ่ง''' กระบวนการเลือกตั้ง ให้บริสุทธิ์ เสรีและเป็นธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคุณภาพเข้าสู่สภา | '''ด้านที่หนึ่ง''' กระบวนการเลือกตั้ง ให้บริสุทธิ์ เสรีและเป็นธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคุณภาพเข้าสู่สภา จึงต้องดำเนินการครอบคลุมทั้ง[[กฎหมายเลือกตั้ง]] [[กฎหมายพรรคการเมือง]] กฎหมายซึ่งกำหนดบทบาทหน้าของ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง_(กกต.)]] ตลอดจนมีบทลงโทษที่รุนแรงต่อผู้สมัครรับเลือกตั้งที่กระทำผิดร้ายแรง ขจัดนายทุนพรรคที่ซื้อสิทธิ์ขายเสียง ทำให้[[พรรคการเมือง]]ของไทยเป็นพรรคการเมืองมวลชน | ||
'''ด้านที่สอง''' การป้องกันปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่น โดยมีมาตรการตรวจสอบ กำกับ ควบคุม และลงโทษต่อผู้ทุจริตคอรัปชั่น อันควรเริ่มต้นที่นักการเมือง โดยการแก้ไขกฎหมายให้ประชาชนที่พบเห็นการทุจริตคอรัปชั่นสามารถเป็นโจทย์ยื่นฟ้องบุคคล หรือองค์กรต่างๆ ได้โดยตรง | '''ด้านที่สอง''' การป้องกันปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่น โดยมีมาตรการตรวจสอบ กำกับ ควบคุม และลงโทษต่อผู้ทุจริตคอรัปชั่น อันควรเริ่มต้นที่นักการเมือง โดยการแก้ไขกฎหมายให้ประชาชนที่พบเห็นการทุจริตคอรัปชั่นสามารถเป็นโจทย์ยื่นฟ้องบุคคล หรือองค์กรต่างๆ ได้โดยตรง กำหนดให้คดีที่เข้าข่าย[[ทุจริตคอร์รัปชั่น]]ไม่มีอายุความ เป็นต้น | ||
'''ด้านที่สาม''' | '''ด้านที่สาม''' [[ประชาธิปไตย]]ของประชาชน ด้วยการทำให้อำนาจทางการเมืองอยู่ในมือประชาชนอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการกระจายอำนาจจากราชการส่วนกลางให้ไปถึงมือประชาชนระดับจังหวัด กำหนดให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดโดยตรง เนื่องจากสามารถเข้าใจสภาพปัญหาและพัฒนาท้องที่ได้ตรงตามความต้องการของประชาชน รวมทั้งการกระจายงบประมาณให้ท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองได้และไม่ต้องขึ้นต่ออำนาจตัดสินใจของส่วนกลาง | ||
'''ด้านที่สี่''' ความเหลื่อมล้ำในสังคม ควรปฏิรูปให้เกิดการเข้าถึงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ทำให้คนผู้ด้อยโอกาสมีที่เหยียบยืนในการทำงาน ที่อยู่อาศัย สาธารณสุข การศึกษา จนสามารถหลุดพ้นจากระบบอุปถัมภ์และนโยบายประชานิยม | '''ด้านที่สี่''' ความเหลื่อมล้ำในสังคม ควรปฏิรูปให้เกิดการเข้าถึงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ทำให้คนผู้ด้อยโอกาสมีที่เหยียบยืนในการทำงาน ที่อยู่อาศัย สาธารณสุข การศึกษา จนสามารถหลุดพ้นจากระบบอุปถัมภ์และนโยบายประชานิยม | ||
บรรทัดที่ 54: | บรรทัดที่ 54: | ||
จากยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่ม กปปส. ดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดการปะทะกับเจ้าหน้ารัฐและความรุนแรงจากผู้ไม่หวังดีทางการเมืองตลอดระยะเวลาการชุมนุมหลายครั้ง อาทิเช่น เหตุปะทะบริเวณรามคำแหงระหว่างผู้ชุมนุมกลุ่มกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) กับนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ผู้บาดเจ็บทั้งสองฝ่ายรวมกัน 65 ราย และเสียชีวิต 5 ราย (30 พฤศจิกายน 2556)[[#_ftn10|[10]]] เหตุปะทะระหว่างกลุ่ม กปปส. กับเจ้าหน้าที่ตำรวจบริเวณสนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง เพื่อขัดขวางการจับสลากหมายเลขผู้สมัคร ส.ส. (26 ธันวาคม 2556)[[#_ftn11|[11]]] การปาระเบิดใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. บริเวณถนนบรรทัดทอง ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 28 ราย (17 มกราคม 2557)[[#_ftn12|[12]]] คนร้ายลอบปาระเบิดใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. บริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้ได้รับบาดเจ็บรวม 28 ราย (19 มกราคม 2557)[[#_ftn13|[13]]] การลอบยิงระเบิด M79 ใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. ห้าแยกลาดพร้าว บาดเจ็บ 1 ราย (29 มกราคม 2557)[[#_ftn14|[14]]] การปะทะกันระหว่างกลุ่ม นปช. กับกลุ่ม กปปส. บริเวณแยกหลักสี่ ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ 2 ราย (1 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn15|[15]]] เหตุชุลมุนปะทะกันระหว่างประชาชนที่ต้องการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง กับกลุ่ม กปสส. บริเวณสำนักงานเขตดินแดน (2 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn16|[16]]] การปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจที่เข้าสลายการชุมนุมกลุ่ม กปปส. บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ มีผู้บาดเจ็บจากการปะทะจำนวน 64 ราย เสียชีวิต 4 คน ในจำนวนนี้มีตำรวจเสียชีวิต 1 ราย (18 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn17|[17]]] เหตุกราดยิงและระเบิดกลุ่ม กปปส. ที่จังหวัดตราด ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ 35 รายและเสียชีวิต 1 ราย (22 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn18|[18]]] เหตุยิงระเบิด M79 ใกล้ที่ชุมนุมกลุ่ม กปปส. แจ้งวัฒนะและสวนลุมพินีบาดเจ็บรวม 4 ราย (11 มีนาคม 2557)[[#_ftn19|[19]]] ทั้งนี้ ศูนย์เอราวัณ ได้สรุปยอดรวมผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต จากการชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 ถึง 28 พฤษภาคม 2557 (96 เหตุการณ์) ทั้งสิ้นถึง 807 ราย (บาดเจ็บ 782 ราย และเสียชีวิต 25 ราย)[[#_ftn20|[20]]] | จากยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่ม กปปส. ดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดการปะทะกับเจ้าหน้ารัฐและความรุนแรงจากผู้ไม่หวังดีทางการเมืองตลอดระยะเวลาการชุมนุมหลายครั้ง อาทิเช่น เหตุปะทะบริเวณรามคำแหงระหว่างผู้ชุมนุมกลุ่มกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) กับนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ผู้บาดเจ็บทั้งสองฝ่ายรวมกัน 65 ราย และเสียชีวิต 5 ราย (30 พฤศจิกายน 2556)[[#_ftn10|[10]]] เหตุปะทะระหว่างกลุ่ม กปปส. กับเจ้าหน้าที่ตำรวจบริเวณสนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง เพื่อขัดขวางการจับสลากหมายเลขผู้สมัคร ส.ส. (26 ธันวาคม 2556)[[#_ftn11|[11]]] การปาระเบิดใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. บริเวณถนนบรรทัดทอง ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 28 ราย (17 มกราคม 2557)[[#_ftn12|[12]]] คนร้ายลอบปาระเบิดใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. บริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้ได้รับบาดเจ็บรวม 28 ราย (19 มกราคม 2557)[[#_ftn13|[13]]] การลอบยิงระเบิด M79 ใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. ห้าแยกลาดพร้าว บาดเจ็บ 1 ราย (29 มกราคม 2557)[[#_ftn14|[14]]] การปะทะกันระหว่างกลุ่ม นปช. กับกลุ่ม กปปส. บริเวณแยกหลักสี่ ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ 2 ราย (1 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn15|[15]]] เหตุชุลมุนปะทะกันระหว่างประชาชนที่ต้องการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง กับกลุ่ม กปสส. บริเวณสำนักงานเขตดินแดน (2 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn16|[16]]] การปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจที่เข้าสลายการชุมนุมกลุ่ม กปปส. บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ มีผู้บาดเจ็บจากการปะทะจำนวน 64 ราย เสียชีวิต 4 คน ในจำนวนนี้มีตำรวจเสียชีวิต 1 ราย (18 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn17|[17]]] เหตุกราดยิงและระเบิดกลุ่ม กปปส. ที่จังหวัดตราด ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ 35 รายและเสียชีวิต 1 ราย (22 กุมภาพันธ์ 2557)[[#_ftn18|[18]]] เหตุยิงระเบิด M79 ใกล้ที่ชุมนุมกลุ่ม กปปส. แจ้งวัฒนะและสวนลุมพินีบาดเจ็บรวม 4 ราย (11 มีนาคม 2557)[[#_ftn19|[19]]] ทั้งนี้ ศูนย์เอราวัณ ได้สรุปยอดรวมผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต จากการชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 ถึง 28 พฤษภาคม 2557 (96 เหตุการณ์) ทั้งสิ้นถึง 807 ราย (บาดเจ็บ 782 ราย และเสียชีวิต 25 ราย)[[#_ftn20|[20]]] | ||
การเคลื่อนไหวชุมนุมของกลุ่ม กปปส. ไม่เพียงสร้างความเสียหายแก่ชีวิต (ทั้งของผู้ชุมนุม กปปส. เอง เจ้าหน้ารัฐ และประชาชนผู้ไม่เกี่ยวข้อง) ทรัพย์สินของรัฐและเอกชน ตลอดจนผลกระทบทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากแต่ยังส่งผลสะเทือนต่อการเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตยอย่างสำคัญ แม้ในด้านหนึ่ง การเมืองมวลชนของกลุ่ม กปปส. จะสะท้อนความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนจำนวนมากอันวางอยู่บนพื้นฐานการกระทำแบบประชาธิปไตยทางตรง แต่ในอีกด้านหนึ่ง ก็สุ่มเสี่ยงที่จะยังความเปราะบางให้เกิดแก่ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาด้วยเช่นกัน หากพิจารณากระแสประชาธิปไตยทางตรงในกลุ่มประเทศประชาธิปไตยสถาปนาแล้ว (Established Democracy) | การเคลื่อนไหวชุมนุมของกลุ่ม กปปส. ไม่เพียงสร้างความเสียหายแก่ชีวิต (ทั้งของผู้ชุมนุม กปปส. เอง เจ้าหน้ารัฐ และประชาชนผู้ไม่เกี่ยวข้อง) ทรัพย์สินของรัฐและเอกชน ตลอดจนผลกระทบทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากแต่ยังส่งผลสะเทือนต่อการเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตยอย่างสำคัญ แม้ในด้านหนึ่ง การเมืองมวลชนของกลุ่ม กปปส. จะสะท้อนความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนจำนวนมากอันวางอยู่บนพื้นฐานการกระทำแบบประชาธิปไตยทางตรง แต่ในอีกด้านหนึ่ง ก็สุ่มเสี่ยงที่จะยังความเปราะบางให้เกิดแก่ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาด้วยเช่นกัน หากพิจารณากระแสประชาธิปไตยทางตรงในกลุ่มประเทศประชาธิปไตยสถาปนาแล้ว (Established Democracy) จะเห็นได้ว่าประชาธิปไตยผ่านสถาบันที่เป็นทางการก็ล้วนแล้วแต่เคยหยั่งรากลึกและเป็นศูนย์กลาง[[ความชอบธรรมทางการเมือง]]ด้วยกันทั้งสิ้น[[#_ftn21|[21]]] นั่นย่อมหมายความว่าประชาธิปไตยทางตรงกลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งด้วยมุ่งหวังที่จะลดทอนข้อบกพร่องที่ระบบประชาธิปไตยตัวแทนละเลย อาทิเช่น ช่องว่างห่างเหินระหว่างนักการเมืองกับประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย การละเลยประเด็นปัญหาที่ประชาชนประสบพบเจอในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง พันธะผูกพันที่นักการเมืองต้องมีต่อพรรคการเมืองที่ตนสังกัด หรือแม้แต่การมุ่งแสวงหาอำนาจของนักการเมืองมากกว่าประโยชน์สาธารณะ เป็นต้น ในแง่นี้ ประชาธิปไตยทางตรงจึงมิได้ขัดแย้งหรือหักล้างกับประชาธิปไตยตัวแทนลงอย่างสิ้นเชิง หรืออย่างน้อยที่สุดก็สามารถดำเนินการควบคู่กันไปในระดับที่ต่างกัน | ||
ขณะที่การเคลื่อนไหวชุมนุมประท้วงนับตั้งแต่ “ม็อบสามเสน” ช่วงปลายปี 2556 จนกระทั่งจัดตั้งกลุ่ม กปปส. อย่างเป็นทางการและลดบทบาทลงภายหลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่มี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นหัวหน้าคณะ ได้ลดทอนความน่าเชื่อถือที่ผู้คนพึงมีต่อประชาธิปไตยแบบตัวแทน จริงอยู่ | ขณะที่การเคลื่อนไหวชุมนุมประท้วงนับตั้งแต่ “ม็อบสามเสน” ช่วงปลายปี 2556 จนกระทั่งจัดตั้งกลุ่ม กปปส. อย่างเป็นทางการและลดบทบาทลงภายหลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่มี [[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เป็นหัวหน้าคณะ ได้ลดทอนความน่าเชื่อถือที่ผู้คนพึงมีต่อประชาธิปไตยแบบตัวแทน จริงอยู่ กระบวน[[การเลือกตั้ง]]และระบบรัฐสภาล้วนเต็มไปด้วยข้อบกพร่องและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมาในการเมืองไทย แต่เสรีประชาธิปไตยก็จำเป็นต้องมีการเลือกตั้งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในอันที่จะให้สิทธิทางการเมืองอย่างเท่าเทียมกันแก่ประชาชนผู้เป็นเจ้าของ[[อำนาจอธิปไตย]]ตัดสินใจเลือกชีวิตทางการเมืองของตนเอง เพราะสำหรับสังคมสมัยใหม่ที่ประกอบด้วยความสลับซับซ้อนทั้งในทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ รสนิยม กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และการสื่อสารมวลชนในยุคโลกาภิวัตน์แล้ว ย่อมถือได้ว่านวัตกรรมทางการเมืองอย่างการเลือกตั้งที่เสรีและเที่ยงธรรมก็ยังคงเป็นเครื่องมือหลักของประชาธิปไตยที่ไม่อาจมีกลไกอื่นใดทดแทนได้ ดังที่นักทฤษฎีประชาธิปไตยอย่าง C. B. Macpherson เสนอไว้อย่างน่าสนใจว่า “…เราไม่อาจกระทำได้โดยปราศจากนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง เราจำต้องหวังพึ่งประชาธิปไตยทางอ้อม โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งแต่เพียงอย่างเดียว ดังนั้นปัญหาก็คือการที่จะให้นักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งมีความรับผิดชอบ”[[#_ftn22|[22]]] | ||
อย่างไรก็ตาม วิกฤตการเมืองไทยครั้งหลังสุด (ระหว่างปี 2556-2557) ก็อุบัติขึ้นจากเหตุปัจจัยหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาล ความพยายามผลักดันร่างกฎหมายที่ส่งผลกระทบวงกว้างแก่หลายภาคส่วน การจัดตั้งระดมมวลชนของกลุ่มการเมืองต่างๆ ทั้ง กลุ่ม กปปส. ที่เคลื่อนไหวต่อเนื่องมาตั้งแต่ปลายปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 | อย่างไรก็ตาม วิกฤตการเมืองไทยครั้งหลังสุด (ระหว่างปี 2556-2557) ก็อุบัติขึ้นจากเหตุปัจจัยหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาล ความพยายามผลักดันร่างกฎหมายที่ส่งผลกระทบวงกว้างแก่หลายภาคส่วน การจัดตั้งระดมมวลชนของกลุ่มการเมืองต่างๆ ทั้ง กลุ่ม กปปส. ที่เคลื่อนไหวต่อเนื่องมาตั้งแต่ปลายปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 และการจัดเตรียมการชุมนุมของกลุ่ม[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) บริเวณถนนอักษะเพื่อต่อต้านกลุ่ม กปปส. กรณีม็อบชาวสวนยางจากภาคใต้ประท้วงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลประกันราคายางพารา เหตุการณ์การปะทะและความรุนแรงระหว่างมวลชน กปปส. กับกลุ่มผู้สร้างสถานการณ์ หรือประชาชนกลุ่มอื่นที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางของกลุ่ม กปปส. จนทำให้เกิดผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตรวมกว่า 800 คน รวมไปถึงความล้มเหลวในการเจรจาประนีประนอมหาทางออกแก่วิกฤตการเมืองระหว่างผู้นำรัฐบาลกับแกนนำ กปปส. เหล่านี้ท้ายที่สุดแล้วได้เปิดโอกาสให้ข้าราชการทหารและพลเรือนเข้ามามีบทบาททางการเมืองโดยตรงจากเหตุการณ์รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 อันเป็นการปิดฉากการพัฒนาทั้งประชาธิปไตยทางตรงและประชาธิปไตยตัวแทน จนผลักดันให้สังคมการเมืองไทยกลับไปสู่ยุคข้าราชการทหารและพลเรือนเป็นใหญ่ปกครองประเทศ (bureaucracy) | ||
| | ||
บรรทัดที่ 70: | บรรทัดที่ 70: | ||
“M79 ถล่มเวที กปปส.แยกลาดพร้าว.” '''ผู้จัดการรายวัน'''. (30 มกราคม 2557), 4. | “M79 ถล่มเวที กปปส.แยกลาดพร้าว.” '''ผู้จัดการรายวัน'''. (30 มกราคม 2557), 4. | ||
“เขตดินแดงเดือน ชาวบ้าน ปะทะ กปปส..” '''เดลินิวส์ออนไลน์'''. (2 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.dailynews.co.th/article/213179>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | “เขตดินแดงเดือน ชาวบ้าน ปะทะ กปปส..” '''เดลินิวส์ออนไลน์'''. (2 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.dailynews.co.th/article/213179 http://www.dailynews.co.th/article/213179]>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | ||
“ตำรวจคลั่งไล่ถล่มม็อบ เลื่อนเลือกตั้ง เทือกลั่นหลังปีใหม่ยึดประเทศ.” '''ผู้จัดการรายวัน'''. (27 ธันวาคม 2556), 11. | “ตำรวจคลั่งไล่ถล่มม็อบ เลื่อนเลือกตั้ง เทือกลั่นหลังปีใหม่ยึดประเทศ.” '''ผู้จัดการรายวัน'''. (27 ธันวาคม 2556), 11. | ||
บรรทัดที่ 84: | บรรทัดที่ 84: | ||
“ยก 2 ปิดล้อมสมัครเขตเลือกตั้งยังร่อแร่เพื่อไทย-กปปส.-ปชป.ปฏิรูปคนละมุม.” '''เดลินิวส์'''. (25 ธันวาคม 2556), 3. | “ยก 2 ปิดล้อมสมัครเขตเลือกตั้งยังร่อแร่เพื่อไทย-กปปส.-ปชป.ปฏิรูปคนละมุม.” '''เดลินิวส์'''. (25 ธันวาคม 2556), 3. | ||
“ยิง M79 ใกล้กปปส.แจ้งวัฒนะ-บึ้มสวนลุมเจ็บ3.” '''คมชัดลึกออนไลน์'''. (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | “ยิง M79 ใกล้กปปส.แจ้งวัฒนะ-บึ้มสวนลุมเจ็บ3.” '''คมชัดลึกออนไลน์'''. (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html]>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | ||
“แยกหลักสี่นองเลือดดวลสนั่นเสื้อแดงปะทะกปปส.ไอ้ดม่งโผล่กราดเอชเคเจ็บ6-นักข่าวโดนด้วย.” '''เดลินิวส์'''. (2 กุมภาพันธ์ 2557), 9. | “แยกหลักสี่นองเลือดดวลสนั่นเสื้อแดงปะทะกปปส.ไอ้ดม่งโผล่กราดเอชเคเจ็บ6-นักข่าวโดนด้วย.” '''เดลินิวส์'''. (2 กุมภาพันธ์ 2557), 9. | ||
บรรทัดที่ 90: | บรรทัดที่ 90: | ||
“โยนบึ้ม กปปส. อนุสาวรีย์จ่อ พ.ร.ก. ฉุกเฉินสื่อนอกฟันธงทหารปิดเกม.” '''ผู้จัดการรายวัน'''. (20 มกราคม 2557), 11. | “โยนบึ้ม กปปส. อนุสาวรีย์จ่อ พ.ร.ก. ฉุกเฉินสื่อนอกฟันธงทหารปิดเกม.” '''ผู้จัดการรายวัน'''. (20 มกราคม 2557), 11. | ||
“รพีพรรณ สายัณห์ตระกูล และ พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์. “เส้นทาง 1 วัน “ม็อบนกหวีด” vs “รัฐบาลเพื่อไทย”.” '''สำนักข่าวอิศรา'''. (10 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html>. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558. | “รพีพรรณ สายัณห์ตระกูล และ พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์. “เส้นทาง 1 วัน “ม็อบนกหวีด” vs “รัฐบาลเพื่อไทย”.” '''สำนักข่าวอิศรา'''. (10 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html]>. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558. | ||
“เลือดคนไทย-ทาผ่านฟ้าสังเวยอีก4ชีวิตระเบิดหล่นตูมกลางวงตำรวจตาย1-ประชาชน3คนบาดเจ็บอีกมากมายพอยึดไม่สำเร็จตร.เผ่น.” '''ไทยรัฐ'''. (19 กุมภาพันธ์ 2557), 10, 15. | “เลือดคนไทย-ทาผ่านฟ้าสังเวยอีก4ชีวิตระเบิดหล่นตูมกลางวงตำรวจตาย1-ประชาชน3คนบาดเจ็บอีกมากมายพอยึดไม่สำเร็จตร.เผ่น.” '''ไทยรัฐ'''. (19 กุมภาพันธ์ 2557), 10, 15. | ||
“ศูนย์เอราวัณสรุปยอดคนเจ็บตายเหตุชุมนุม.” '''สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น (''''''INN)'''. (28 พฤษภาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | “ศูนย์เอราวัณสรุปยอดคนเจ็บตายเหตุชุมนุม.” '''สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น (''''''INN)'''. (28 พฤษภาคม 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453 http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453]>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | ||
“สุเทพ เทือกสุบรรณเสนอแผน 1 ปี 5 ปฏิรูป แล้วจัดเลือกตั้ง.” '''ประชาไท'''. (17 ธันวาคม 2556). เข้าถึงจาก <http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482>. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558. | “สุเทพ เทือกสุบรรณเสนอแผน 1 ปี 5 ปฏิรูป แล้วจัดเลือกตั้ง.” '''ประชาไท'''. (17 ธันวาคม 2556). เข้าถึงจาก <[http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482 http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482]>. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558. | ||
““สุเทพ” พร้อม 8 ส.ส.ลาออกนำม็อบ.” '''ไทยรัฐ'''. (12 พฤศจิกายน 2556), 17. | ““สุเทพ” พร้อม 8 ส.ส.ลาออกนำม็อบ.” '''ไทยรัฐ'''. (12 พฤศจิกายน 2556), 17. | ||
บรรทัดที่ 114: | บรรทัดที่ 114: | ||
[[#_ftnref2|[2]]] อัญชะลี ไพรีรัก ภัทรชัย ภัทรพล และ ศรศมน บัวจำปา (เรียบเรียง), '''The Power of Change: กำนันสุเทพ เทือกสุบรรณ '''(กรุงเทพฯ: บริษัท ลิปส์ พับลิชชิ่ง จำกัด, 2557), หน้า 207. | [[#_ftnref2|[2]]] อัญชะลี ไพรีรัก ภัทรชัย ภัทรพล และ ศรศมน บัวจำปา (เรียบเรียง), '''The Power of Change: กำนันสุเทพ เทือกสุบรรณ '''(กรุงเทพฯ: บริษัท ลิปส์ พับลิชชิ่ง จำกัด, 2557), หน้า 207. | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] รพีพรรณ สายัณห์ตระกูล และ พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์, “เส้นทาง 1 วัน “ม็อบนกหวีด” vs “รัฐบาลเพื่อไทย”,” '''สำนักข่าวอิศรา''', (10 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html>. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558. | [[#_ftnref3|[3]]] รพีพรรณ สายัณห์ตระกูล และ พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์, “เส้นทาง 1 วัน “ม็อบนกหวีด” vs “รัฐบาลเพื่อไทย”,” '''สำนักข่าวอิศรา''', (10 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html]>. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558. | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] ““สุเทพ” พร้อม 8 ส.ส.ลาออกนำม็อบ,” '''ไทยรัฐ''', (12 พฤศจิกายน 2556), 17. | [[#_ftnref4|[4]]] ““สุเทพ” พร้อม 8 ส.ส.ลาออกนำม็อบ,” '''ไทยรัฐ''', (12 พฤศจิกายน 2556), 17. | ||
บรรทัดที่ 126: | บรรทัดที่ 126: | ||
[[#_ftnref8|[8]]] “พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร,” '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 130 ตอนที่ 115 ก, 9 ธันวาคม 2556, หน้า 1-2. | [[#_ftnref8|[8]]] “พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร,” '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 130 ตอนที่ 115 ก, 9 ธันวาคม 2556, หน้า 1-2. | ||
</div> <div id="ftn9"> | </div> <div id="ftn9"> | ||
[[#_ftnref9|[9]]] “สุเทพ เทือกสุบรรณเสนอแผน 1 ปี 5 ปฏิรูป แล้วจัดเลือกตั้ง,” '''ประชาไท''', (17 ธันวาคม 2556). เข้าถึงจาก <http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482>. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558. | [[#_ftnref9|[9]]] “สุเทพ เทือกสุบรรณเสนอแผน 1 ปี 5 ปฏิรูป แล้วจัดเลือกตั้ง,” '''ประชาไท''', (17 ธันวาคม 2556). เข้าถึงจาก <[http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482 http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482]>. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558. | ||
</div> <div id="ftn10"> | </div> <div id="ftn10"> | ||
[[#_ftnref10|[10]]] “มวลชนทุบรถขนเสื้อแดง - ยิงตอบโต้ รามเดือด ม็อบยึดดีเอสไอ - ทีโอที บุกทำเนียบ - สตช.วันนี้ ดึงทหารร่วมคุมพื้นที่,” '''คมชัดลึก''', (1 ธันวาคม 2556), 13, 15. | [[#_ftnref10|[10]]] “มวลชนทุบรถขนเสื้อแดง - ยิงตอบโต้ รามเดือด ม็อบยึดดีเอสไอ - ทีโอที บุกทำเนียบ - สตช.วันนี้ ดึงทหารร่วมคุมพื้นที่,” '''คมชัดลึก''', (1 ธันวาคม 2556), 13, 15. | ||
บรรทัดที่ 140: | บรรทัดที่ 140: | ||
[[#_ftnref15|[15]]] “แยกหลักสี่นองเลือดดวลสนั่นเสื้อแดงปะทะกปปส.ไอ้ดม่งโผล่กราดเอชเคเจ็บ6-นักข่าวโดนด้วย,” '''เดลินิวส์''', (2 กุมภาพันธ์ 2557), 9. | [[#_ftnref15|[15]]] “แยกหลักสี่นองเลือดดวลสนั่นเสื้อแดงปะทะกปปส.ไอ้ดม่งโผล่กราดเอชเคเจ็บ6-นักข่าวโดนด้วย,” '''เดลินิวส์''', (2 กุมภาพันธ์ 2557), 9. | ||
</div> <div id="ftn16"> | </div> <div id="ftn16"> | ||
[[#_ftnref16|[16]]] “เขตดินแดงเดือน ชาวบ้าน ปะทะ กปปส.,” '''เดลินิวส์ออนไลน์''', (2 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.dailynews.co.th/article/213179>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | [[#_ftnref16|[16]]] “เขตดินแดงเดือน ชาวบ้าน ปะทะ กปปส.,” '''เดลินิวส์ออนไลน์''', (2 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.dailynews.co.th/article/213179 http://www.dailynews.co.th/article/213179]>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | ||
</div> <div id="ftn17"> | </div> <div id="ftn17"> | ||
[[#_ftnref17|[17]]] “เลือดคนไทย-ทาผ่านฟ้าสังเวยอีก4ชีวิตระเบิดหลุ่นตูมกลางวงตำรวจตาย1-ประชาชน3คนบาดเจ็บอีกมากมายพอยึดไม่สำเร็จตร.เผ่น,” '''ไทยรัฐ''', (19 กุมภาพันธ์ 2557), 10, 15. | [[#_ftnref17|[17]]] “เลือดคนไทย-ทาผ่านฟ้าสังเวยอีก4ชีวิตระเบิดหลุ่นตูมกลางวงตำรวจตาย1-ประชาชน3คนบาดเจ็บอีกมากมายพอยึดไม่สำเร็จตร.เผ่น,” '''ไทยรัฐ''', (19 กุมภาพันธ์ 2557), 10, 15. | ||
บรรทัดที่ 146: | บรรทัดที่ 146: | ||
[[#_ftnref18|[18]]] “เอ็ม 79 ป่วนศาลแพ่ง - ระเบิดเฉียดเวทีราชประสงค์ตาย 2 เด็ก - ผู้หญิงสังเวย ยิงกปปส.ตราด 5 ขวบสิ้นใจ,” '''คมชัดลึก''', (24 กุมภาพันธ์ 2557), 15. | [[#_ftnref18|[18]]] “เอ็ม 79 ป่วนศาลแพ่ง - ระเบิดเฉียดเวทีราชประสงค์ตาย 2 เด็ก - ผู้หญิงสังเวย ยิงกปปส.ตราด 5 ขวบสิ้นใจ,” '''คมชัดลึก''', (24 กุมภาพันธ์ 2557), 15. | ||
</div> <div id="ftn19"> | </div> <div id="ftn19"> | ||
[[#_ftnref19|[19]]] “ยิงM79ใกล้กปปส.แจ้งวัฒนะ-บึ้มสวนลุมเจ็บ3,” '''คมชัดลึกออนไลน์''', (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | [[#_ftnref19|[19]]] “ยิงM79ใกล้กปปส.แจ้งวัฒนะ-บึ้มสวนลุมเจ็บ3,” '''คมชัดลึกออนไลน์''', (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html]>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | ||
</div> <div id="ftn20"> | </div> <div id="ftn20"> | ||
[[#_ftnref20|[20]]] “ศูนย์เอราวัณสรุปยอดคนเจ็บตายเหตุชุมนุม,” '''สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น (''''''INN)''', (28 พฤษภาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | [[#_ftnref20|[20]]] “ศูนย์เอราวัณสรุปยอดคนเจ็บตายเหตุชุมนุม,” '''สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น (''''''INN)''', (28 พฤษภาคม 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453 http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453]>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559. | ||
</div> <div id="ftn21"> | </div> <div id="ftn21"> | ||
[[#_ftnref21|[21]]] David Beetham, '''Democracy: A Beginner’s Guide''' (Oxford: Oneworld, 2006), p. 45. | [[#_ftnref21|[21]]] David Beetham, '''Democracy: A Beginner’s Guide''' (Oxford: Oneworld, 2006), p. 45. |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:41, 27 พฤศจิกายน 2562
ผู้เรียบเรียง : ฐิติกร สังข์แก้ว
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศ.นรนิติ เศรษฐบุตร
กปปส.
ความนำ
กลุ่มคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ กปปส. เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์เป็นเลขาธิการ อันมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านคัดค้านรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ตั้งแต่ปลายปี 2556 จนกระทั่งกลางปี 2557 ในประเด็นที่เกี่ยวเนื่องส่งผลกระทบต่อการเมืองไทยอย่างกว้างขวางและขยายวงความแตกต่างขัดแย้งต่อสังคมไทยอย่างลึกซึ้ง อันได้แก่ กรณีการผลักดันร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญประเด็นที่มาสมาชิกวุฒิสภา ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 เรื่องการทำสนธิสัญญาระหว่างประเทศ โครงการจำนำข้าวชาวนา โครงการเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ และการคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ทั้งนี้ กลุ่ม กปปส. มีจุดเริ่มต้นจากการปราศรัยของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ บริเวณสถานีรถไฟสามเสน หรือ “ม็อบสามเสน” ก่อนที่จะยกระดับการชุมนุมโดยผนวกรวมเครือข่ายองค์กรภาคสังคม และประชาชน เข้าร่วมชุมนุมอย่างคึกคักบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ซึ่งใช้นกหวีดเป็นอุปกรณ์ขับไล่รัฐบาล จนรู้จักกันในชื่อ “ม็อบนกหวีด” และ “มวลมหาประชาชน” เคลื่อนไหวรณรงค์ยุทธศาสตร์ดาวกระจาย “Shutdown_กรุงเทพฯ” กดดันให้รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์_ชินวัตร ยุบสภา และรัฐบาลรักษาการลาออกจากตำแหน่ง โดยมีข้อเสนอหลักในเรื่อง “ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง”
การเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส.
การก่อตัวและจัดตั้งกลุ่ม กปปส.
แนวทางการเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส. มีเป้าหมายมุ่งตรงไปที่การต่อต้านการกระทำของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในช่วงปลายปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 ซึ่งสามารถรณรงค์ระดมมวลชนเข้าร่วมจากภาคส่วนต่างๆ จำนวนมาก อย่างไรก็ตาม แม้จุดกำเนิดก่อเกิดของกลุ่ม กปปส. ที่เป็นทางการจะเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 โดยการประกาศจัดตั้งเป็นองค์กรเคลื่อนไหวทางการเมืองซึ่งประกอบด้วย นายสุเทพ เทือกสุบรรณและอดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์จำนวนหนึ่ง พร้อมด้วยแกนนำเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) แกนนำกองทัพประชาชนโค่นล้มระบอบทักษิณ (กปท.) และสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์(สรส.)[1] แต่รากฐานความคิดและแนวทางการกระทำทางการเมืองเช่นนี้ก็มีการวางยุทธศาสตร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เล่าถึงท่าทีการต่อสู้ทางการเมืองนอกสภาก่อนการจัดตั้ง กปปส. ว่า
...สิ่งที่ผมกังวลคือ ระบอบทักษิณจะทำลายบ้านเมืองไปเรื่อยๆ ไม่รู้ว่าเมื่อไรการต่อสู้ในระบบจะชนะเขาได้ ในที่สุดเขาก็แข็งแรงขึ้นทุกวัน มีอิทธิพลมากขึ้นทุกวัน เราจะไม่มีวันชนะ ผมถึงตั้งสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมบลูสกายและไทยทีวีดี เพราะถ้าเราไม่มีสื่อของเราเอง เราก็ไม่สามารถทำงานมวลชนได้ ผมทำโรงเรียนการเมืองออกไปอบรมเรื่องความรู้ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง และชี้ให้เห็นความเลวร้ายของระบอบทักษิณ จากนั้นก็ตามด้วยเปิดเวทีประชาชน...ทั้งหมดผมไม่ได้ทำในนามพรรค ผมแยกมารบนอกระบบแล้วไม่มีใครห้ามปรามได้ ผมบอกกับทุกคนว่าผมเตรียมการต่อสู้ของผมแล้วนะ ผมบอกคุณอภิสิทธิ์ว่าเมื่อถึงเวลาผมจะต้องแยกออกจากพรรคแล้วให้คุณทำใจไว้ก่อน ผมเลือกการต่อสู้แบบใหม่แล้ว[2]
จนกระทั่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่อไทยร่วมกันเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในเดือนตุลาคม 2556 ซึ่งเป็นเสมือน “ฟางเส้นสุดท้าย” กระแสต่อต้าน วิพากษ์วิจารณ์ และการเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกสภาก็เริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดตั้งเวทีชุมนุมปราศรัยบริเวณสถานีรถไฟสามเสนหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อันถูกเรียกขนานกันในเวลานั้นว่า “ม็อบสามเสน” จนถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 กลุ่มเคลื่อนไหวคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมก็เคลื่อนขบวนไปตั้งเวทีการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย พร้อมกับกลุ่มชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมที่ถนนสีลม ซึ่งใช้ “นกหวีด” เป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อต้าน[3] ก่อนที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์จำนวน 9 คน จะประกาศลาออกจากตำแหน่ง ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 อันประกอบด้วย นายสุเทพ เทือกสุบรรณ (อดีต ส.ส.สุราษฎร์ธานี) นายถาวร เสนเนียม (อดีต ส.ส.สงขลา) นายอิสสระ สมชัย (อดีต ส.ส.บัญชีรายชื่อ) นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย (อดีต ส.ส.ตรัง) นายวิทยา แก้วภราดัย (อดีต ส.ส.นครศรีธรรมราช) นายชุมพล จุลใส (อดีต ส.ส.ชุมพร) นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ และนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ (อดีต ส.ส. กทม.)[4] เพื่อดำเนินการเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกสภาอย่างเปิดเผย จนนำไปสู่การจัดตั้งคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ กปปส. ซึ่งมีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขาธิการ
ยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวของกลุ่ม กปปส.
สำหรับยุทธศาสตร์ทางการเมืองนั้น กล่าวได้ว่า กลุ่ม กปปส. อาศัยการแย่งยึดพื้นที่สำคัญทางราชการเพื่อให้เกิดความชะงักงันในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล อันจะก่อกระแสสังคมกดดันรัฐสภาเพื่อลงมติไม่เห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ทั้งยังให้นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในฐานะนายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร กดดันให้รัฐบาลรักษาการหลังจากนั้นออกจากตำแหน่ง และขัดขวางการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป ซึ่งจะจัดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 การเคลื่อนไหวทางการเมืองจึงเริ่มต้นจากยุทธศาสตร์ดาวกระจายเข้ายึดสถานที่ราชการ อาทิเช่น กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) สำนักงานตำรวจนครบาล (บช.น.) ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 9 ช่อง 11 กระทรวงมหาดไทย สำนักงานประมาณ และ ศูนย์ราชการ ต่อมาวันที่ 22 ธันวาคม 2556 กลุ่ม กปปส. นัดชุมนุมใหญ่บนถนนเส้นสำคัญของกรุงเทพฯ[5] เพื่อแสดงพลังของ “มวลมหาประชาชน” จากนั้นคืนวันที่ 27 ธันวาคม 2556 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ก็ประกาศยุทธศาสตร์ “Shutdown กรุงเทพฯ” ที่กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 มกราคม 2557 โดยกระจายผู้ชุมนุมออกไปยึดกุมพื้นที่และตั้งเวทีปราศรัยชุมนุม 7 แห่งทั่วกรุงเทพฯ ประกอบด้วย แจ้งวัฒนะ ห้าแยกลาดพร้าว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แยกปทุมวัน สวนลุมพินี อโศก และแยกราชประสงค์[6] ตลอดจนบุกยึดสถานที่ราชการทุกแห่งในกรุงเทพฯ เพื่อหวังให้หน่วยงานภาครัฐและข้าราชการไม่อาจปฏิบัติงานได้ และที่สุดสำคัญก็คือ การปิดล้อมสถานที่รับสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและปิดล้อมคูหาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายแห่งทั่วประเทศ[7]
ข้อเสนอแนวทางปฏิรูปของกลุ่ม กปปส.
การผลักดันพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่อไทย หรือที่รู้จักกันในชื่อ “พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมเหมาเข่ง” และ “พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฉบับสุดซอย” ก่อให้เกิดความคิดคัดค้านไม่เห็นด้วยอย่างกว้างขวาง ทั้งในส่วนของสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) บางส่วน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในวงกว้าง จนกระทั่ง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีต้องแสดงความรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการประกาศยุบสภาในวันที่ 9 ธันวาคม 2556 และจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป ขึ้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[8] ภายหลังจากนั้นไม่นาน กลุ่ม กปปส. ก็ประกาศจุดยืนทางการเมืองของตนเองออกมาอย่างเด่นชัดผ่านข้อเสนอรณรงค์ “ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง” อันมีสาระสำคัญ ก็คือ ดำเนินการปฏิรูปขั้นพื้นฐานก่อนที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งตามปกติ อันเป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ว่าด้วยอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย (มาตรา 3) และประเพณีการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของไทย (มาตรา 7) โดยมี “สภาประชาชน” อันประกอบด้วยสมาชิก 400 คน ที่มาจากสาขาวิชาชีพ ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ทั่วประเทศ 300 คน และอีก 100 คน จากการเลือกของ กปปส. ทำหน้าที่ทางนิติบัญญัติและปฏิรูปประเทศ 5 ด้านให้เสร็จสิ้นภายในเวลา 1 ปี 6 เดือน ดังนี้[9]
ด้านที่หนึ่ง กระบวนการเลือกตั้ง ให้บริสุทธิ์ เสรีและเป็นธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคุณภาพเข้าสู่สภา จึงต้องดำเนินการครอบคลุมทั้งกฎหมายเลือกตั้ง กฎหมายพรรคการเมือง กฎหมายซึ่งกำหนดบทบาทหน้าของคณะกรรมการการเลือกตั้ง_(กกต.) ตลอดจนมีบทลงโทษที่รุนแรงต่อผู้สมัครรับเลือกตั้งที่กระทำผิดร้ายแรง ขจัดนายทุนพรรคที่ซื้อสิทธิ์ขายเสียง ทำให้พรรคการเมืองของไทยเป็นพรรคการเมืองมวลชน
ด้านที่สอง การป้องกันปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่น โดยมีมาตรการตรวจสอบ กำกับ ควบคุม และลงโทษต่อผู้ทุจริตคอรัปชั่น อันควรเริ่มต้นที่นักการเมือง โดยการแก้ไขกฎหมายให้ประชาชนที่พบเห็นการทุจริตคอรัปชั่นสามารถเป็นโจทย์ยื่นฟ้องบุคคล หรือองค์กรต่างๆ ได้โดยตรง กำหนดให้คดีที่เข้าข่ายทุจริตคอร์รัปชั่นไม่มีอายุความ เป็นต้น
ด้านที่สาม ประชาธิปไตยของประชาชน ด้วยการทำให้อำนาจทางการเมืองอยู่ในมือประชาชนอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการกระจายอำนาจจากราชการส่วนกลางให้ไปถึงมือประชาชนระดับจังหวัด กำหนดให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดโดยตรง เนื่องจากสามารถเข้าใจสภาพปัญหาและพัฒนาท้องที่ได้ตรงตามความต้องการของประชาชน รวมทั้งการกระจายงบประมาณให้ท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองได้และไม่ต้องขึ้นต่ออำนาจตัดสินใจของส่วนกลาง
ด้านที่สี่ ความเหลื่อมล้ำในสังคม ควรปฏิรูปให้เกิดการเข้าถึงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ทำให้คนผู้ด้อยโอกาสมีที่เหยียบยืนในการทำงาน ที่อยู่อาศัย สาธารณสุข การศึกษา จนสามารถหลุดพ้นจากระบบอุปถัมภ์และนโยบายประชานิยม
ด้านที่ห้า โครงสร้างตำรวจ ให้เป็นผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ รักษากฎหมาย ดูแลประชาชน ซึ่งจะต้องจัดตั้งคณะกรรมการตำรวจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ทำหน้าที่พิจารณาให้คุณให้โทษตามระบบคุณธรรมความสามารถ ในแง่นี้ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ตรงไปตรงมา ซื่อสัตย์สุจริต ก็จะกลายเป็นตำรวจของประชาชนและได้รับการปกป้องจากประชาชน
ผลสะเทือนต่อสังคมการเมืองไทย
จากยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่ม กปปส. ดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดการปะทะกับเจ้าหน้ารัฐและความรุนแรงจากผู้ไม่หวังดีทางการเมืองตลอดระยะเวลาการชุมนุมหลายครั้ง อาทิเช่น เหตุปะทะบริเวณรามคำแหงระหว่างผู้ชุมนุมกลุ่มกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) กับนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ผู้บาดเจ็บทั้งสองฝ่ายรวมกัน 65 ราย และเสียชีวิต 5 ราย (30 พฤศจิกายน 2556)[10] เหตุปะทะระหว่างกลุ่ม กปปส. กับเจ้าหน้าที่ตำรวจบริเวณสนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง เพื่อขัดขวางการจับสลากหมายเลขผู้สมัคร ส.ส. (26 ธันวาคม 2556)[11] การปาระเบิดใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. บริเวณถนนบรรทัดทอง ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 28 ราย (17 มกราคม 2557)[12] คนร้ายลอบปาระเบิดใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. บริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้ได้รับบาดเจ็บรวม 28 ราย (19 มกราคม 2557)[13] การลอบยิงระเบิด M79 ใส่กลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. ห้าแยกลาดพร้าว บาดเจ็บ 1 ราย (29 มกราคม 2557)[14] การปะทะกันระหว่างกลุ่ม นปช. กับกลุ่ม กปปส. บริเวณแยกหลักสี่ ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ 2 ราย (1 กุมภาพันธ์ 2557)[15] เหตุชุลมุนปะทะกันระหว่างประชาชนที่ต้องการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง กับกลุ่ม กปสส. บริเวณสำนักงานเขตดินแดน (2 กุมภาพันธ์ 2557)[16] การปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจที่เข้าสลายการชุมนุมกลุ่ม กปปส. บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ มีผู้บาดเจ็บจากการปะทะจำนวน 64 ราย เสียชีวิต 4 คน ในจำนวนนี้มีตำรวจเสียชีวิต 1 ราย (18 กุมภาพันธ์ 2557)[17] เหตุกราดยิงและระเบิดกลุ่ม กปปส. ที่จังหวัดตราด ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ 35 รายและเสียชีวิต 1 ราย (22 กุมภาพันธ์ 2557)[18] เหตุยิงระเบิด M79 ใกล้ที่ชุมนุมกลุ่ม กปปส. แจ้งวัฒนะและสวนลุมพินีบาดเจ็บรวม 4 ราย (11 มีนาคม 2557)[19] ทั้งนี้ ศูนย์เอราวัณ ได้สรุปยอดรวมผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต จากการชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 ถึง 28 พฤษภาคม 2557 (96 เหตุการณ์) ทั้งสิ้นถึง 807 ราย (บาดเจ็บ 782 ราย และเสียชีวิต 25 ราย)[20]
การเคลื่อนไหวชุมนุมของกลุ่ม กปปส. ไม่เพียงสร้างความเสียหายแก่ชีวิต (ทั้งของผู้ชุมนุม กปปส. เอง เจ้าหน้ารัฐ และประชาชนผู้ไม่เกี่ยวข้อง) ทรัพย์สินของรัฐและเอกชน ตลอดจนผลกระทบทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากแต่ยังส่งผลสะเทือนต่อการเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตยอย่างสำคัญ แม้ในด้านหนึ่ง การเมืองมวลชนของกลุ่ม กปปส. จะสะท้อนความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนจำนวนมากอันวางอยู่บนพื้นฐานการกระทำแบบประชาธิปไตยทางตรง แต่ในอีกด้านหนึ่ง ก็สุ่มเสี่ยงที่จะยังความเปราะบางให้เกิดแก่ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาด้วยเช่นกัน หากพิจารณากระแสประชาธิปไตยทางตรงในกลุ่มประเทศประชาธิปไตยสถาปนาแล้ว (Established Democracy) จะเห็นได้ว่าประชาธิปไตยผ่านสถาบันที่เป็นทางการก็ล้วนแล้วแต่เคยหยั่งรากลึกและเป็นศูนย์กลางความชอบธรรมทางการเมืองด้วยกันทั้งสิ้น[21] นั่นย่อมหมายความว่าประชาธิปไตยทางตรงกลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งด้วยมุ่งหวังที่จะลดทอนข้อบกพร่องที่ระบบประชาธิปไตยตัวแทนละเลย อาทิเช่น ช่องว่างห่างเหินระหว่างนักการเมืองกับประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย การละเลยประเด็นปัญหาที่ประชาชนประสบพบเจอในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง พันธะผูกพันที่นักการเมืองต้องมีต่อพรรคการเมืองที่ตนสังกัด หรือแม้แต่การมุ่งแสวงหาอำนาจของนักการเมืองมากกว่าประโยชน์สาธารณะ เป็นต้น ในแง่นี้ ประชาธิปไตยทางตรงจึงมิได้ขัดแย้งหรือหักล้างกับประชาธิปไตยตัวแทนลงอย่างสิ้นเชิง หรืออย่างน้อยที่สุดก็สามารถดำเนินการควบคู่กันไปในระดับที่ต่างกัน
ขณะที่การเคลื่อนไหวชุมนุมประท้วงนับตั้งแต่ “ม็อบสามเสน” ช่วงปลายปี 2556 จนกระทั่งจัดตั้งกลุ่ม กปปส. อย่างเป็นทางการและลดบทบาทลงภายหลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่มี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นหัวหน้าคณะ ได้ลดทอนความน่าเชื่อถือที่ผู้คนพึงมีต่อประชาธิปไตยแบบตัวแทน จริงอยู่ กระบวนการเลือกตั้งและระบบรัฐสภาล้วนเต็มไปด้วยข้อบกพร่องและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมาในการเมืองไทย แต่เสรีประชาธิปไตยก็จำเป็นต้องมีการเลือกตั้งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในอันที่จะให้สิทธิทางการเมืองอย่างเท่าเทียมกันแก่ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยตัดสินใจเลือกชีวิตทางการเมืองของตนเอง เพราะสำหรับสังคมสมัยใหม่ที่ประกอบด้วยความสลับซับซ้อนทั้งในทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ รสนิยม กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และการสื่อสารมวลชนในยุคโลกาภิวัตน์แล้ว ย่อมถือได้ว่านวัตกรรมทางการเมืองอย่างการเลือกตั้งที่เสรีและเที่ยงธรรมก็ยังคงเป็นเครื่องมือหลักของประชาธิปไตยที่ไม่อาจมีกลไกอื่นใดทดแทนได้ ดังที่นักทฤษฎีประชาธิปไตยอย่าง C. B. Macpherson เสนอไว้อย่างน่าสนใจว่า “…เราไม่อาจกระทำได้โดยปราศจากนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง เราจำต้องหวังพึ่งประชาธิปไตยทางอ้อม โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งแต่เพียงอย่างเดียว ดังนั้นปัญหาก็คือการที่จะให้นักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งมีความรับผิดชอบ”[22]
อย่างไรก็ตาม วิกฤตการเมืองไทยครั้งหลังสุด (ระหว่างปี 2556-2557) ก็อุบัติขึ้นจากเหตุปัจจัยหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาล ความพยายามผลักดันร่างกฎหมายที่ส่งผลกระทบวงกว้างแก่หลายภาคส่วน การจัดตั้งระดมมวลชนของกลุ่มการเมืองต่างๆ ทั้ง กลุ่ม กปปส. ที่เคลื่อนไหวต่อเนื่องมาตั้งแต่ปลายปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 และการจัดเตรียมการชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) บริเวณถนนอักษะเพื่อต่อต้านกลุ่ม กปปส. กรณีม็อบชาวสวนยางจากภาคใต้ประท้วงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลประกันราคายางพารา เหตุการณ์การปะทะและความรุนแรงระหว่างมวลชน กปปส. กับกลุ่มผู้สร้างสถานการณ์ หรือประชาชนกลุ่มอื่นที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางของกลุ่ม กปปส. จนทำให้เกิดผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตรวมกว่า 800 คน รวมไปถึงความล้มเหลวในการเจรจาประนีประนอมหาทางออกแก่วิกฤตการเมืองระหว่างผู้นำรัฐบาลกับแกนนำ กปปส. เหล่านี้ท้ายที่สุดแล้วได้เปิดโอกาสให้ข้าราชการทหารและพลเรือนเข้ามามีบทบาททางการเมืองโดยตรงจากเหตุการณ์รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 อันเป็นการปิดฉากการพัฒนาทั้งประชาธิปไตยทางตรงและประชาธิปไตยตัวแทน จนผลักดันให้สังคมการเมืองไทยกลับไปสู่ยุคข้าราชการทหารและพลเรือนเป็นใหญ่ปกครองประเทศ (bureaucracy)
บรรณานุกรม
Beetham, David. (2006). Democracy: A Beginner’s Guide. Oxford: Oneworld.
Macpherson, C. B. (1977). The Life and Times of Liberal Democracy. Oxford: Oxford University Press.
“M79 ถล่มเวที กปปส.แยกลาดพร้าว.” ผู้จัดการรายวัน. (30 มกราคม 2557), 4.
“เขตดินแดงเดือน ชาวบ้าน ปะทะ กปปส..” เดลินิวส์ออนไลน์. (2 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.dailynews.co.th/article/213179>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559.
“ตำรวจคลั่งไล่ถล่มม็อบ เลื่อนเลือกตั้ง เทือกลั่นหลังปีใหม่ยึดประเทศ.” ผู้จัดการรายวัน. (27 ธันวาคม 2556), 11.
“นายกเครียดถกรับมือ5เสือห่วง หลายพื้นที่สะดุดเลือกตั้งวุ่นทหาร-ตร.เข้ม94จุดสุเทพชี้คนปิกนิกอื้อ.” คมชัดลึก. (2 กุมภาพันธ์ 2557), 13.
“บึ้มขบวนกปปส..” กรุงเทพธุรกิจ. (18 ธันวาคม 2557), 3.
“พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 130 ตอนที่ 115 ก. 9 ธันวาคม 2556, หน้า 1-2.
“มวลชนทุบรถขนเสื้อแดง - ยิงตอบโต้ รามเดือด ม็อบยึดดีเอสไอ - ทีโอที บุกทำเนียบ - สตช.วันนี้ ดึงทหารร่วมคุมพื้นที่.” คมชัดลึก. (1 ธันวาคม 2556), 13, 15.
“ยก 2 ปิดล้อมสมัครเขตเลือกตั้งยังร่อแร่เพื่อไทย-กปปส.-ปชป.ปฏิรูปคนละมุม.” เดลินิวส์. (25 ธันวาคม 2556), 3.
“ยิง M79 ใกล้กปปส.แจ้งวัฒนะ-บึ้มสวนลุมเจ็บ3.” คมชัดลึกออนไลน์. (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559.
“แยกหลักสี่นองเลือดดวลสนั่นเสื้อแดงปะทะกปปส.ไอ้ดม่งโผล่กราดเอชเคเจ็บ6-นักข่าวโดนด้วย.” เดลินิวส์. (2 กุมภาพันธ์ 2557), 9.
“โยนบึ้ม กปปส. อนุสาวรีย์จ่อ พ.ร.ก. ฉุกเฉินสื่อนอกฟันธงทหารปิดเกม.” ผู้จัดการรายวัน. (20 มกราคม 2557), 11.
“รพีพรรณ สายัณห์ตระกูล และ พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์. “เส้นทาง 1 วัน “ม็อบนกหวีด” vs “รัฐบาลเพื่อไทย”.” สำนักข่าวอิศรา. (10 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html>. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558.
“เลือดคนไทย-ทาผ่านฟ้าสังเวยอีก4ชีวิตระเบิดหล่นตูมกลางวงตำรวจตาย1-ประชาชน3คนบาดเจ็บอีกมากมายพอยึดไม่สำเร็จตร.เผ่น.” ไทยรัฐ. (19 กุมภาพันธ์ 2557), 10, 15.
“ศูนย์เอราวัณสรุปยอดคนเจ็บตายเหตุชุมนุม.” สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น ('INN)'. (28 พฤษภาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559.
“สุเทพ เทือกสุบรรณเสนอแผน 1 ปี 5 ปฏิรูป แล้วจัดเลือกตั้ง.” ประชาไท. (17 ธันวาคม 2556). เข้าถึงจาก <http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482>. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558.
““สุเทพ” พร้อม 8 ส.ส.ลาออกนำม็อบ.” ไทยรัฐ. (12 พฤศจิกายน 2556), 17.
“สุเทพประกาศ 1 ธ.ค.วันแห่งชัยชนะสั่งยึดเบ็ดเสร็จศูนย์ราชการ-ทำเนียบกระทรวง-บช.น.-สตช.ผนึกแนวร่วมโค่นแม้วจตุพรระดมมวลชนแดงสู้.” คมชัดลึก. (30 พฤศจิกายน 2556), 13.
อัญชะลี ไพรีรัก ภัทรชัย ภัทรพล และ ศรศมน บัวจำปา. เรียบเรียง. (2557). The Power of Change: กำนันสุเทพ เทือกสุบรรณ. กรุงเทพฯ: บริษัท ลิปส์ พับลิชชิ่ง จำกัด.
เอ็ม 79 ป่วนศาลแพ่ง - ระเบิดเฉียดเวทีราชประสงค์ตาย 2 เด็ก - ผู้หญิงสังเวย ยิง กปปส.ตราด 5 ขวบสิ้นใจ.” คมชัดลึก. (24 กุมภาพันธ์ 2557), 15.
[1] “สุเทพประกาศ 1 ธ.ค.วันแห่งชัยชนะสั่งยึดเบ็ดเสร็จศูนย์ราชการ-ทำเนียบกระทรวง-บช.น.-สตช.ผนึกแนวร่วมโค่นแม้วจตุพรระดมมวลชนแดงสู้,” คมชัดลึก, (30 พฤศจิกายน 2556), 13.
[2] อัญชะลี ไพรีรัก ภัทรชัย ภัทรพล และ ศรศมน บัวจำปา (เรียบเรียง), The Power of Change: กำนันสุเทพ เทือกสุบรรณ (กรุงเทพฯ: บริษัท ลิปส์ พับลิชชิ่ง จำกัด, 2557), หน้า 207.
[3] รพีพรรณ สายัณห์ตระกูล และ พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์, “เส้นทาง 1 วัน “ม็อบนกหวีด” vs “รัฐบาลเพื่อไทย”,” สำนักข่าวอิศรา, (10 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/27161-whistle.html>. เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558.
[4] ““สุเทพ” พร้อม 8 ส.ส.ลาออกนำม็อบ,” ไทยรัฐ, (12 พฤศจิกายน 2556), 17.
[5] การปิดถนนแสดงพลังของ “มวลมหาประชาชน” ในครั้งนี้ถูกเรียกว่ายุทธการปิดกรุงเทพฯครึ่งวัน บนถนนเส้นสำคัญทางเศรษฐกิจและการคมนาคม อันได้แก่ ถนนราชดำเนิน ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แยกอโศก แยกอุรุพงศ์ สี่แยกปทุมวัน สี่แยกราชประสงค์ สวนลุมพินี และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
[6] อัญชะลี ไพรีรัก ภัทรชัย ภัทรพล และ ศรศมน บัวจำปา (เรียบเรียง), The Power of Change: กำนันสุเทพ เทือกสุบรรณ, หน้า 229.
[7] โปรดดู “ยก2ปิดล้อมสมัครเขตเลือกตั้งยังร่อแร่เพื่อไทย-กปปส.-ปชป.ปฏิรูปคนละมุม,” เดลินิวส์, (25 ธันวาคม 2556), 3. และ “นายกเครียดถกรับมือ5เสือห่วง หลายพื้นที่สะดุดเลือกตั้งวุ่นทหาร-ตร.เข้ม94จุดสุเทพชี้คนปิกนิกอื้อ,” คมชัดลึก, (2 กุมภาพันธ์ 2557), 13.
[8] “พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 130 ตอนที่ 115 ก, 9 ธันวาคม 2556, หน้า 1-2.
[9] “สุเทพ เทือกสุบรรณเสนอแผน 1 ปี 5 ปฏิรูป แล้วจัดเลือกตั้ง,” ประชาไท, (17 ธันวาคม 2556). เข้าถึงจาก <http://www.prachatai.com/journal/2013/12/50482>. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558.
[10] “มวลชนทุบรถขนเสื้อแดง - ยิงตอบโต้ รามเดือด ม็อบยึดดีเอสไอ - ทีโอที บุกทำเนียบ - สตช.วันนี้ ดึงทหารร่วมคุมพื้นที่,” คมชัดลึก, (1 ธันวาคม 2556), 13, 15.
[11] “ตำรวจคลั่งไล่ถล่มม็อบ เลื่อนเลือกตั้ง เทือกลั่นหลังปีใหม่ยึดประเทศ,” ผู้จัดการรายวัน, (27 ธันวาคม 2556), 11.
[12] “บึ้มขบวนกปปส.,” กรุงเทพธุรกิจ, (18 ธันวาคม 2557), 3.
[13] “โยนบึ้ม กปปส. อนุสาวรีย์จ่อ พ.ร.ก. ฉุกเฉินสื่อนอกฟันธงทหารปิดเกม,” ผู้จัดการรายวัน, (20 มกราคม 2557), 11.
[14] “M79 ถล่มเวที กปปส.แยกลาดพร้าว,” ผู้จัดการรายวัน, (30 มกราคม 2557), 4.
[15] “แยกหลักสี่นองเลือดดวลสนั่นเสื้อแดงปะทะกปปส.ไอ้ดม่งโผล่กราดเอชเคเจ็บ6-นักข่าวโดนด้วย,” เดลินิวส์, (2 กุมภาพันธ์ 2557), 9.
[16] “เขตดินแดงเดือน ชาวบ้าน ปะทะ กปปส.,” เดลินิวส์ออนไลน์, (2 กุมภาพันธ์ 2557). เข้าถึงจาก <http://www.dailynews.co.th/article/213179>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559.
[17] “เลือดคนไทย-ทาผ่านฟ้าสังเวยอีก4ชีวิตระเบิดหลุ่นตูมกลางวงตำรวจตาย1-ประชาชน3คนบาดเจ็บอีกมากมายพอยึดไม่สำเร็จตร.เผ่น,” ไทยรัฐ, (19 กุมภาพันธ์ 2557), 10, 15.
[18] “เอ็ม 79 ป่วนศาลแพ่ง - ระเบิดเฉียดเวทีราชประสงค์ตาย 2 เด็ก - ผู้หญิงสังเวย ยิงกปปส.ตราด 5 ขวบสิ้นใจ,” คมชัดลึก, (24 กุมภาพันธ์ 2557), 15.
[19] “ยิงM79ใกล้กปปส.แจ้งวัฒนะ-บึ้มสวนลุมเจ็บ3,” คมชัดลึกออนไลน์, (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.komchadluek.net/detail/20140311/180600.html>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559.
[20] “ศูนย์เอราวัณสรุปยอดคนเจ็บตายเหตุชุมนุม,” สำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น ('INN)', (28 พฤษภาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=540453>. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559.
[21] David Beetham, Democracy: A Beginner’s Guide (Oxford: Oneworld, 2006), p. 45.
[22] C. B. Macpherson, The Life and Times of Liberal Democracy (Oxford: Oxford University Press, 1977), p. 97.