ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามมหาเอเชียบูรพากับการเมืองไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' นิภาพร รัชตพัฒนากุล
 
'''ผู้เรียบเรียง''' นิภาพร รัชตพัฒนากุล


----
----
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 10:
== ความเป็นมาของ “สงครามมหาเอเชียบูรพา” ==
== ความเป็นมาของ “สงครามมหาเอเชียบูรพา” ==


แรกเกิด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เมื่อปี พ.ศ. 2482 ประเทศที่เข้าร่วมสงครามจำกัดอยู่เพียงกลุ่มประเทศตะวันตกคือ เยอรมัน อังกฤษและฝรั่งเศสเป็นหลัก ในขณะที่ทางฝั่งเอเชียก็เกิดสงครามระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่สืบเนื่องมาจาก[[ความขัดแย้ง]]ในดินแดนตอนใต้ของแมนจูเรียตั้งแต่ พ.ศ. 2474 สงครามที่เกิดขึ้นในสองทวีปนี้ได้เชื่อมโยงเป็นกระบวนการเดียวกันอย่างหลวมๆ และขยายวงมาถึงดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายหลังจากฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมันในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2483  
แรกเกิด[[สงครามโลกครั้งที่_2|สงครามโลกครั้งที่ 2]] เมื่อปี พ.ศ. 2482 ประเทศที่เข้าร่วมสงครามจำกัดอยู่เพียงกลุ่มประเทศตะวันตกคือ เยอรมัน อังกฤษและฝรั่งเศสเป็นหลัก ในขณะที่ทางฝั่งเอเชียก็เกิดสงครามระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่สืบเนื่องมาจาก[[ความขัดแย้ง|ความขัดแย้ง]]ในดินแดนตอนใต้ของแมนจูเรียตั้งแต่ พ.ศ. 2474 สงครามที่เกิดขึ้นในสองทวีปนี้ได้เชื่อมโยงเป็นกระบวนการเดียวกันอย่างหลวมๆ และขยายวงมาถึงดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายหลังจากฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมันในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2483


ความพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อเยอรมันทำให้เกิดภาวะสูญญากาศทางการเมืองขึ้นในอาณานิคมของฝรั่งเศสหรือที่เรียกว่าดินแดน[[อินโดจีนฝรั่งเศส]] (ประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาในปัจจุบัน) ภาวะดังกล่าวได้กลายเป็นโอกาสให้ญี่ปุ่นเข้าแทรกแซงกิจการในดินแดนนี้ด้วยการขอให้[[รัฐบาล]]อินโดจีนของฝรั่งเศสปิดแนวชายแดนที่ติดต่อกับจีน เพื่อป้องกันการส่งกำลังช่วยเหลือให้กับรัฐบาลนายพลเจียงไคเช็กที่จุงกิง ซึ่งกำลังทำสะครามยืดเยื้อกับญี่ปุ่นอยู่ และในเดือนกันยายนได้ทำสัญญายินยอมให้ญี่ปุ่นตั้งกองทหารในอินโดจีนได้ จากความพยายามขยายอำนาจของญี่ปุ่นในเอเชียนับตั้งแต่จีนมาจนถึงอินโดจีนฝรั่งเศส ทำให้อังกฤษ ดัชต์และสหรัฐอเมริกา ประเทศเจ้าอาณานิมคมตัดสินใจดำเนินมาตรการปิดล้อมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น เพื่อกดดันให้ญี่ปุ่นให้ยุติสงครามกับจีนและถอนกำลังทหารออกจากอินโดจีนของฝรั่งเศส
ความพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อเยอรมันทำให้เกิดภาวะสูญญากาศทางการเมืองขึ้นในอาณานิคมของฝรั่งเศสหรือที่เรียกว่าดินแดน[[อินโดจีนฝรั่งเศส|อินโดจีนฝรั่งเศส]] (ประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาในปัจจุบัน) ภาวะดังกล่าวได้กลายเป็นโอกาสให้ญี่ปุ่นเข้าแทรกแซงกิจการในดินแดนนี้ด้วยการขอให้[[รัฐบาล|รัฐบาล]]อินโดจีนของฝรั่งเศสปิดแนวชายแดนที่ติดต่อกับจีน เพื่อป้องกันการส่งกำลังช่วยเหลือให้กับรัฐบาลนายพลเจียงไคเช็กที่จุงกิง ซึ่งกำลังทำสะครามยืดเยื้อกับญี่ปุ่นอยู่ และในเดือนกันยายนได้ทำสัญญายินยอมให้ญี่ปุ่นตั้งกองทหารในอินโดจีนได้ จากความพยายามขยายอำนาจของญี่ปุ่นในเอเชียนับตั้งแต่จีนมาจนถึงอินโดจีนฝรั่งเศส ทำให้อังกฤษ ดัชต์และสหรัฐอเมริกา ประเทศเจ้าอาณานิมคมตัดสินใจดำเนินมาตรการปิดล้อมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น เพื่อกดดันให้ญี่ปุ่นให้ยุติสงครามกับจีนและถอนกำลังทหารออกจากอินโดจีนของฝรั่งเศส


ญี่ปุ่นตัดสินใจตอบโต้การปิดล้อมทางเศรษฐกิจด้วยการส่งกองกำลังเข้าโจมตีดินแดนอาณานิคมทั่วทั้งภูมิภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เริ่มจากคาบสมุทรมาเลย์ โดยยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งอ่าวไทยเช่นที่ปัตตานี สงขลา บางปู พร้อมกับส่งทหารโจมตีมณฑลกวางตุ้งและเกาะฮ่องกงของอังกฤษ ส่งเครื่องบินโจมตีฟิลิปปินส์อาณานิคมของสหรัฐอเมริกา ฐานทัพเรือของสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล สองวันหลังจากเปิดแนวรบไปทั่วมหาสมุทรแปซิฟิค รัฐบาลญี่ปุ่นจึงได้บัญญัติชื่อเรียกสงครามครั้งนี้ว่า '''“Greater East Asia War”''' (大東亜(Dai To-A )戦争(Senso)) ซึ่งสถานการณ์สงครามที่ขยายตัวและเชื่อมโยงกันอย่างหลวมๆ นี้กลายเป็นที่มาของคำเรียกสงครามโดยรวมว่า “สงครามโลกครั้งที่ 2”
ญี่ปุ่นตัดสินใจตอบโต้การปิดล้อมทางเศรษฐกิจด้วยการส่งกองกำลังเข้าโจมตีดินแดนอาณานิคมทั่วทั้งภูมิภาคตะวันออกเมื่อวันที่ [[8_ธันวาคม_พ.ศ._2484|8 ธันวาคม พ.ศ. 2484]] เริ่มจากคาบสมุทรมาเลย์ โดยยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งอ่าวไทยเช่นที่ปัตตานี สงขลา บางปู พร้อมกับส่งทหารโจมตีมณฑลกวางตุ้งและเกาะฮ่องกงของอังกฤษ ส่งเครื่องบินโจมตีฟิลิปปินส์อาณานิคมของสหรัฐอเมริกา ฐานทัพเรือของสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล สองวันหลังจากเปิดแนวรบไปทั่วมหาสมุทรแปซิฟิค รัฐบาลญี่ปุ่นจึงได้บัญญัติชื่อเรียกสงครามครั้งนี้ว่า '''“Greater East Asia War”''' (大東亜(Dai To-A )戦争(Senso)) ซึ่งสถานการณ์สงครามที่ขยายตัวและเชื่อมโยงกันอย่างหลวมๆ นี้กลายเป็นที่มาของคำเรียกสงครามโดยรวมว่า “สงครามโลกครั้งที่ 2”


สำหรับแนวคิดการสร้าง “มหาเอเชียบูรพา” อันเป็นที่มาของชื่อสงครามนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นได้พัฒนามาจากการประกาศจัด “ระเบียบใหม่ในเอเชียตะวันออก” ด้วยการรวมญี่ปุ่น จีนและแมนจูกัว เข้าเป็นหน่วยเดียวกันในทางเศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรม ต่อมานโยบายดังกล่าวได้พัฒนามาเป็นแนวคิด “[[วงไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพา]]” (Greater East Asia Co-Prosperity Sphere) ซึ่งเป็นอุดมการณ์ที่ญี่ปุ่นใช้ในการทำสงคราม โดยระบุจุดประสงค์ว่าเพื่อสร้าง[[สันติภาพ]]และความมั่นคงขึ้นในเอเชียตะวันออกและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์จากแองโกล-อเมริกา มีเป้าหมายในทางปฏิบัติคือ การสร้างเขตพึ่งพาตนเองในทางเศรษฐกิจ เนื่องจากญี่ปุ่นมองว่าขั้นตอนแรกของการปลดปล่อยเอเชียจากจักรวรรดิตะวันตก คือ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาตะวันตก<ref>F.C.Jone , '''Japan’s new order in east Asia : Its rise and fall 1937-1945 (London : Oxford University Press 1954)''' , p.332-333.</ref> โดยแบ่งพื้นที่ในวงไพบูลย์ออกเป็น 2 ส่วนคือ วงไพบูลย์ด้านใน ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน แมนจูกัว<ref>แมนจูกัว เป็นประเทศที่ญี่ปุ่นสนับสนุนให้จัดตั้งขึ้น ภายหลังเกิดกรณีมุกเดน มีเนื้อที่ครอบคลุมดินแดนแมนจูเรีย มีระยะเวลาอยู่ในช่วงสั้นๆ ระหว่าง พ.ศ.2475-2488 โดยล่มสลายไปพร้อมกับความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงคราม</ref> และวงไพบูลย์ด้านนอก คือ ดินแดนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค
สำหรับแนวคิดการสร้าง “มหาเอเชียบูรพา” อันเป็นที่มาของชื่อสงครามนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นได้พัฒนามาจากการประกาศจัด “ระเบียบใหม่ในเอเชียตะวันออก” ด้วยการรวมญี่ปุ่น จีนและแมนจูกัว เข้าเป็นหน่วยเดียวกันในทางเศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรม ต่อมานโยบายดังกล่าวได้พัฒนามาเป็นแนวคิด “[[วงไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพา|วงไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพา]]” (Greater East Asia Co-Prosperity Sphere) ซึ่งเป็นอุดมการณ์ที่ญี่ปุ่นใช้ในการทำสงคราม โดยระบุจุดประสงค์ว่าเพื่อสร้าง[[สันติภาพ|สันติภาพ]]และความมั่นคงขึ้นในเอเชียตะวันออกและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์จากแองโกล-อเมริกา มีเป้าหมายในทางปฏิบัติคือ การสร้างเขตพึ่งพาตนเองในทางเศรษฐกิจ เนื่องจากญี่ปุ่นมองว่าขั้นตอนแรกของการปลดปล่อยเอเชียจากจักรวรรดิตะวันตก คือ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาตะวันตก<ref>F.C.Jone , '''Japan’s new order in east Asia : Its rise and fall 1937-1945 (London : Oxford University Press 1954)''' , p.332-333.</ref> โดยแบ่งพื้นที่ในวงไพบูลย์ออกเป็น 2 ส่วนคือ วงไพบูลย์ด้านใน ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน แมนจูกัว<ref>แมนจูกัว เป็นประเทศที่ญี่ปุ่นสนับสนุนให้จัดตั้งขึ้น ภายหลังเกิดกรณีมุกเดน มีเนื้อที่ครอบคลุมดินแดนแมนจูเรีย มีระยะเวลาอยู่ในช่วงสั้นๆ ระหว่าง พ.ศ.2475-2488 โดยล่มสลายไปพร้อมกับความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงคราม</ref> และวงไพบูลย์ด้านนอก คือ ดินแดนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค


สำหรับประเทศไทย เมื่อรัฐบาล[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ตกลงเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในการทำสงครามเมื่อต้นปี พ.ศ. 2484 จึงได้ถอดเอาความหมายของ “Greater East Asia War” เป็นคำว่า “สงครามมหาเอเชียบูรพา” ช่วงระยะเวลาสี่ปีในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพานับเป็นช่วงเวลาพิเศษของประวัติศาสตร์การเมืองไทย เนื่องจากการเมืองภายในได้ถูกผูกโยงเข้ากับสถานการณ์ระหว่างประเทศอย่างซับซ้อน ผลกระทบจากการเข้าร่วมสงครามต่อการเมืองไทย มีทั้งผลในทางตรงและทางอ้อมที่สืบเนื่องต่อมาในระยะยาวและผลกระทบเพียงระยะสั้นๆ เฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าว 
สำหรับประเทศไทย เมื่อรัฐบาล[[แปลก_พิบูลสงคราม|จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ตกลงเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในการทำสงครามเมื่อต้นปี พ.ศ. 2484 จึงได้ถอดเอาความหมายของ “Greater East Asia War” เป็นคำว่า “สงครามมหาเอเชียบูรพา” ช่วงระยะเวลาสี่ปีในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพานับเป็นช่วงเวลาพิเศษของประวัติศาสตร์การเมืองไทย เนื่องจากการเมืองภายในได้ถูกผูกโยงเข้ากับสถานการณ์ระหว่างประเทศอย่างซับซ้อน ผลกระทบจากการเข้าร่วมสงครามต่อการเมืองไทย มีทั้งผลในทางตรงและทางอ้อมที่สืบเนื่องต่อมาในระยะยาวและผลกระทบเพียงระยะสั้นๆ เฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าว 


== สถานการณ์ทางการเมืองของไทยก่อนเกิดสงคราม ==
== สถานการณ์ทางการเมืองของไทยก่อนเกิดสงคราม ==


สภาวะทางการเมืองภายในของสยามช่วงก่อนเกิดสงครามนั้นเต็มไปด้วยความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่างๆ ในระยะเปลี่ยนผ่านจากระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาสู่ระบอบ[[รัฐธรรมนูญ]] โดยอาจแบ่งช่วงเวลาทางการเมืองออกได้เป็นสองช่วงหลัก คือ ภายหลังเหตุการณ์วันที่ [[24 มิถุนายน พ.ศ.2475]] และภายหลังจาก[[พันเอกหลวงพิบูลสงคราม]]ขึ้นดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]เมื่อปลาย พ.ศ.2481  
สภาวะทางการเมืองภายในของสยามช่วงก่อนเกิดสงครามนั้นเต็มไปด้วยความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่างๆ ในระยะเปลี่ยนผ่านจากระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์|สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาสู่ระบอบ[[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]] โดยอาจแบ่งช่วงเวลาทางการเมืองออกได้เป็นสองช่วงหลัก คือ ภายหลังเหตุการณ์วันที่ [[24_มิถุนายน_พ.ศ._2475]] และภายหลังจาก[[พันเอกหลวงพิบูลสงคราม|พันเอกหลวงพิบูลสงคราม]]ขึ้นดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]เมื่อปลาย พ.ศ.2481


ความขัดแย้งทางการเมืองช่วงหกปีแรกภายหลัง[[เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของกลุ่มทางการเมืองที่มีบทบาทหลัก 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้นำใหม่หรือ[[คณะราษฎร]] กลุ่มขุนนางเก่า กลุ่มนิยมเจ้าและกลุ่ม[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ที่มาจาก[[การเลือกตั้ง]]ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง<ref>สรศักดิ์  งามขจรกุลกิจ. '''ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2481-2492.''' กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532, น.25-41</ref> ความขัดแย้งที่ว่าสะท้อนให้เห็นได้จากเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญ เช่น [[เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม |การเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์]] การ[[รัฐประหาร]]รัฐบาล[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]]ภายใต้การนำของ[[พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]]และ[[พันเอกหลวงพิบูลสงคราม]] เหตุการณ์[[กบฏบวรเดช]] [[การสละราชย์สมบัติ]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยแกนหลักของความขัดแย้งเหล่านี้อยู่ที่การต่อรองอำนาจเพื่อรักษาสถานภาพระหว่างผู้นำในระบอบใหม่และผู้นำในระบอบเก่า
ความขัดแย้งทางการเมืองช่วงหกปีแรกภายหลัง[[เปลี่ยนแปลงการปกครอง|เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของกลุ่มทางการเมืองที่มีบทบาทหลัก 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้นำใหม่หรือ[[คณะราษฎร|คณะราษฎร]] กลุ่มขุนนางเก่า กลุ่มนิยมเจ้าและกลุ่ม[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ที่มาจาก[[การเลือกตั้ง|การเลือกตั้ง]]ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง<ref>สรศักดิ์  งามขจรกุลกิจ. '''ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2481-2492.''' กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532, น.25-41</ref> ความขัดแย้งที่ว่าสะท้อนให้เห็นได้จากเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญ เช่น [[เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์_มนูธรรม|การเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์]] การ[[รัฐประหาร|รัฐประหาร]]รัฐบาล[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา|พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]]ภายใต้การนำของ[[พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา|พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]]และ[[พันเอกหลวงพิบูลสงคราม|พันเอกหลวงพิบูลสงคราม]] เหตุการณ์[[กบฏบวรเดช|กบฏบวรเดช]] [[การสละราชย์สมบัติ|การสละราชย์สมบัติ]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยแกนหลักของความขัดแย้งเหล่านี้อยู่ที่การต่อรองอำนาจเพื่อรักษาสถานภาพระหว่างผู้นำในระบอบใหม่และผู้นำในระบอบเก่า


จนเมื่อพันเอกหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปลายปี พ.ศ.2481 ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่ทำให้รัฐบาลก่อนหน้านี้ขาดเสถียรภาพด้วยมาตรการที่แข็งกร้าว ด้วยการตั้งศาลพิเศษเพื่อกวาดล้างบุคคลที่ต่อต้านรัฐบาล ในขณะเดียวกันก็ใช้[[นโยบายชาตินิยม]]ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างความรู้สึกร่วมให้กับประชาชนโดยเฉพาะกลุ่ม[[ชนชั้นกลาง]]ในเมืองเพื่อสร้างการสนับสนุนอำนาจนำของรัฐบาล  
จนเมื่อพันเอกหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปลายปี พ.ศ.2481 ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่ทำให้รัฐบาลก่อนหน้านี้ขาดเสถียรภาพด้วยมาตรการที่แข็งกร้าว ด้วยการตั้งศาลพิเศษเพื่อกวาดล้างบุคคลที่ต่อต้านรัฐบาล ในขณะเดียวกันก็ใช้[[นโยบายชาตินิยม|นโยบายชาตินิยม]]ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างความรู้สึกร่วมให้กับประชาชนโดยเฉพาะกลุ่ม[[ชนชั้นกลาง|ชนชั้นกลาง]]ในเมืองเพื่อสร้างการสนับสนุนอำนาจนำของรัฐบาล


บริบททางการเมืองภายในเช่นนี้เองที่สถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศได้เข้ามามีอิทธิพลทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการเคลื่อนไหวทางการเมืองของไทยในช่วงก่อนเกิดสงครามและมีผลสืบเนื่องต่อไปภายหลังเกิดสงคราม การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเมืองระหว่างประเทศในช่วงก่อนและระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพาที่สำคัญอย่างน้อย 2 เหตุการณ์ คือ การเรียกร้องดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศสและการสร้างกระแสชาตินิยมไทยที่กดดันชาวจีน
บริบททางการเมืองภายในเช่นนี้เองที่สถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศได้เข้ามามีอิทธิพลทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการเคลื่อนไหวทางการเมืองของไทยในช่วงก่อนเกิดสงครามและมีผลสืบเนื่องต่อไปภายหลังเกิดสงคราม การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเมืองระหว่างประเทศในช่วงก่อนและระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพาที่สำคัญอย่างน้อย 2 เหตุการณ์ คือ การเรียกร้องดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศสและการสร้างกระแสชาตินิยมไทยที่กดดันชาวจีน


สำหรับการเรียกร้องดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศสเป็นประเด็นที่สืบเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปีพ.ศ. 2480-2481 เมื่อ[[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] ([[ปรีดี พนมยงค์]]) [[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ]]ในขณะนั้นได้เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศจักรวรรดินิยม 15 ประเทศและได้ขอปรับปรุงแนวพรมแดนที่ติดต่อกับอาณานิคมของตะวันตก โดยเริ่มจากการเจรจากับอังกฤษและตามด้วยอินโดจีนฝรั่งเศส จนเมื่อพันเอกหลวงพิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและได้นำเอาแนวคิดชาตินิยมมาใช้ การเคลื่อนไหวจึงไม่ยุติเพียงแค่การแก้ไขสนธิสัญญา แต่ได้ขยายวงไปเป็นการเรียกร้องดินแดน เหตุการณ์สำคัญที่สะท้อนแนวคิดชาตินิยมเพื่อการขยายดินแดนคือ การออกรัฐนิยมเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2482 เพื่อให้คำว่า “ไทย” ครอบคลุมเอากลุ่มชาติพันธุ์ “ไท” ต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือเขตแดนรัฐไทยขณะนั้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
สำหรับการเรียกร้องดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศสเป็นประเด็นที่สืบเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปีพ.ศ. 2480-2481 เมื่อ[[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม|หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] ([[ปรีดี_พนมยงค์|ปรีดี พนมยงค์]]) [[รัฐมนตรี|รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ|กระทรวงการต่างประเทศ]]ในขณะนั้นได้เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศจักรวรรดินิยม 15 ประเทศและได้ขอปรับปรุงแนวพรมแดนที่ติดต่อกับอาณานิคมของตะวันตก โดยเริ่มจากการเจรจากับอังกฤษและตามด้วยอินโดจีนฝรั่งเศส จนเมื่อพันเอกหลวงพิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและได้นำเอาแนวคิดชาตินิยมมาใช้ การเคลื่อนไหวจึงไม่ยุติเพียงแค่การแก้ไขสนธิสัญญา แต่ได้ขยายวงไปเป็นการเรียกร้องดินแดน เหตุการณ์สำคัญที่สะท้อนแนวคิดชาตินิยมเพื่อการขยายดินแดนคือ การออกรัฐนิยมเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2482 เพื่อให้คำว่า “ไทย” ครอบคลุมเอากลุ่มชาติพันธุ์ “ไท” ต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือเขตแดนรัฐไทยขณะนั้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง


การเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายดังกล่าวสัมพันธ์กับบริบทการเมืองระหว่างประเทศในช่วงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพาอย่างซับซ้อน กล่าวคือ ในช่วงที่ไทยกำลังขอปรับปรุงแนวพรมแดนอยู่นั้น ในทวีปยุโรปสงครามได้ขยายตัว จนเมื่อฝรั่งเศสมีท่าทีจะพ่ายแพ้ รัฐบาลไทยจึงเรียกร้องขอไชยบุรีและจำปาศักดิ์รวมทั้งข้อตกลงว่าหากมีการเปลี่ยนโอน[[อธิปไตย]]ในอินโดจีนฝรั่งเศสก็ขอให้ลาวและกัมพูชาตกเป็นของไทยเพิ่มเติมจากการขอปรับปรุงพรมแดนในตอนแรก
การเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายดังกล่าวสัมพันธ์กับบริบทการเมืองระหว่างประเทศในช่วงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพาอย่างซับซ้อน กล่าวคือ ในช่วงที่ไทยกำลังขอปรับปรุงแนวพรมแดนอยู่นั้น ในทวีปยุโรปสงครามได้ขยายตัว จนเมื่อฝรั่งเศสมีท่าทีจะพ่ายแพ้ รัฐบาลไทยจึงเรียกร้องขอไชยบุรีและจำปาศักดิ์รวมทั้งข้อตกลงว่าหากมีการเปลี่ยนโอน[[อธิปไตย|อธิปไตย]]ในอินโดจีนฝรั่งเศสก็ขอให้ลาวและกัมพูชาตกเป็นของไทยเพิ่มเติมจากการขอปรับปรุงพรมแดนในตอนแรก


จนเมื่อฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมันในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2483 ทำให้ดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสเกิดภาวะสูญญากาศทางอำนาจขึ้น ญี่ปุ่นจึงทำความตกลงกับรัฐบาลวิชีของฝรั่งเศส (ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน) เพื่อให้กองทหารญี่ปุ่นเข้าไปตั้งฐานในเวียดนามได้ ความเคลื่อนไหวดังกล่าวทำให้รัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมองว่าการขยายอำนาจของญี่ปุ่นเข้ามาในอินโดจีนฝรั่งเศสจะกลายเป็นอุปสรรคในการเรียกร้องดินแดนของไทยต่อไป<ref>ชาญวิทย์ , เรื่องเดียวกัน , น. 222.</ref> รัฐบาลจึงเปลี่ยนวิธีการเรียกร้องดินแดนจากการเจรจาทางการทูตมาเป็นการใช้กำลังทหาร การปะทะกันระหว่างทหารฝรั่งเศสและไทยเริ่มขึ้นภายหลังจากนายกรัฐมนตรีพลตรีหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดอีกตำแหน่งหนึ่ง จนกระทั่งเดือนมกราคมรัฐบาลไทยจึงได้ประกาศสถานการณ์สงครามกับอินโดจีนฝรั่งเศส  
จนเมื่อฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมันในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2483 ทำให้ดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสเกิดภาวะสูญญากาศทางอำนาจขึ้น ญี่ปุ่นจึงทำความตกลงกับรัฐบาลวิชีของฝรั่งเศส (ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน) เพื่อให้กองทหารญี่ปุ่นเข้าไปตั้งฐานในเวียดนามได้ ความเคลื่อนไหวดังกล่าวทำให้รัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมองว่าการขยายอำนาจของญี่ปุ่นเข้ามาในอินโดจีนฝรั่งเศสจะกลายเป็นอุปสรรคในการเรียกร้องดินแดนของไทยต่อไป<ref>ชาญวิทย์ , เรื่องเดียวกัน , น. 222.</ref> รัฐบาลจึงเปลี่ยนวิธีการเรียกร้องดินแดนจากการเจรจาทางการทูตมาเป็นการใช้กำลังทหาร การปะทะกันระหว่างทหารฝรั่งเศสและไทยเริ่มขึ้นภายหลังจากนายกรัฐมนตรีพลตรีหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดอีกตำแหน่งหนึ่ง จนกระทั่งเดือนมกราคมรัฐบาลไทยจึงได้ประกาศสถานการณ์สงครามกับอินโดจีนฝรั่งเศส


ปัญหาดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสจบลงภายหลังจากญี่ปุ่นเสนอตัวเป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยตกลงหยุดยิงและลงนามพักรบที่ไซ่ง่อนบนเรือรบของญี่ปุ่นและลงนามในอนุสัญญาที่กรุงโตเกียวในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งทำให้ไทยได้ดินแดนไชยบุรี จำปาศักดิ์ เสียมราฐและพระตะบอง<ref>เรื่องเดียวกัน , น. 225.</ref> ความช่วยเหลือของญี่ปุ่นในครั้งนี้ทำให้สัมพันธภาพระหว่างไทยและญี่ปุ่นแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จนกระทั่งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2484 ได้เลื่อนความสัมพันธ์ทางการทูตจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต ซึ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกที่ยกระดับความสัมพันธ์กับไทยให้มีฐานะเท่าเทียมกับประเทศมหาอำนาจ<ref>เรื่องเดียวกัน , น. 231-232 ดูรายละเอียดเกี่ยวกับกรณีพิพิาทเพิ่มเติมได้ในทวี ธีระวงศ์เสรี , สัมพันธภาพทางการเมืองระหว่างไทยกับญี่ปุ่น , น..92-112.</ref> เหตุการณ์นี้นับเป็นก้าวสำคัญของความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างไทยและญี่ปุ่นที่จะนำไปสู่การเป็นพันธมิตรกันในสงครามมหาเอเชียบูรพา
ปัญหาดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสจบลงภายหลังจากญี่ปุ่นเสนอตัวเป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยตกลงหยุดยิงและลงนามพักรบที่ไซ่ง่อนบนเรือรบของญี่ปุ่นและลงนามในอนุสัญญาที่กรุงโตเกียวในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งทำให้ไทยได้ดินแดนไชยบุรี จำปาศักดิ์ เสียมราฐและพระตะบอง<ref>เรื่องเดียวกัน , น. 225.</ref> ความช่วยเหลือของญี่ปุ่นในครั้งนี้ทำให้สัมพันธภาพระหว่างไทยและญี่ปุ่นแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จนกระทั่งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2484 ได้เลื่อนความสัมพันธ์ทางการทูตจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต ซึ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกที่ยกระดับความสัมพันธ์กับไทยให้มีฐานะเท่าเทียมกับประเทศมหาอำนาจ<ref>เรื่องเดียวกัน , น. 231-232 ดูรายละเอียดเกี่ยวกับกรณีพิพิาทเพิ่มเติมได้ในทวี ธีระวงศ์เสรี , สัมพันธภาพทางการเมืองระหว่างไทยกับญี่ปุ่น , น..92-112.</ref> เหตุการณ์นี้นับเป็นก้าวสำคัญของความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างไทยและญี่ปุ่นที่จะนำไปสู่การเป็นพันธมิตรกันในสงครามมหาเอเชียบูรพา


สำหรับการสร้างกระแสชาตินิยมไทยด้วยการกดดันชาวจีนในช่วงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอีกด้านหนึ่งของนโยบายชาตินิยมนอกเหนือจากนโยบายขยายดินแดนที่กล่าวถึงข้างต้น การดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนเริ่มขึ้นภายหลังจากพันเอกหลวงพิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกเช่นกัน โดยมีเป้าหมายหลัก คือ การลดบทบาทของชาวจีนในเศรษฐกิจไทย เช่น การออก[[พระราชบัญญัติช่วยอาชีพและวิชาชีพ พ.ศ. 2484]] ซึ่งมีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้สำหรับผู้ถือสัญชาติไทยเท่านั้น ตลอดจนสนับสนุนให้ชาวไทยมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญเช่นการค้าขายมากขึ้น แต่การสนับสนุนดังกล่าวอยู่ในรูปของการตั้งรัฐวิสาหกิจเพื่อเข้าดำเนินกิจการแทน เช่น การปรับปรุงกิจการของบริษัทข้าวไทย การตั้งบริษัทข้าวสยาม บริษัทไทยนิยมพาณิชย์  
สำหรับการสร้างกระแสชาตินิยมไทยด้วยการกดดันชาวจีนในช่วงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอีกด้านหนึ่งของนโยบายชาตินิยมนอกเหนือจากนโยบายขยายดินแดนที่กล่าวถึงข้างต้น การดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนเริ่มขึ้นภายหลังจากพันเอกหลวงพิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกเช่นกัน โดยมีเป้าหมายหลัก คือ การลดบทบาทของชาวจีนในเศรษฐกิจไทย เช่น การออก[[พระราชบัญญัติช่วยอาชีพและวิชาชีพ_พ.ศ._2484|พระราชบัญญัติช่วยอาชีพและวิชาชีพ พ.ศ. 2484]] ซึ่งมีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้สำหรับผู้ถือสัญชาติไทยเท่านั้น ตลอดจนสนับสนุนให้ชาวไทยมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญเช่นการค้าขายมากขึ้น แต่การสนับสนุนดังกล่าวอยู่ในรูปของการตั้งรัฐวิสาหกิจเพื่อเข้าดำเนินกิจการแทน เช่น การปรับปรุงกิจการของบริษัทข้าวไทย การตั้งบริษัทข้าวสยาม บริษัทไทยนิยมพาณิชย์


การดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนดังกล่าวข้างต้นแม้จะมีแรงผลักดันสำคัญ คือ การใช้แนวคิดชาตินิยมเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นปัจจัยจากสถานการณ์ภายในของไทยเอง แต่ในขณะนั้นเดียวกันบริบทางการเมืองระหว่างประเทศในช่วงจังหวะที่รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายชาตินิยมดังกล่าวก็สะท้อนให้เห็นปัจจัยจากแรงผลักดันทางการเมืองจากนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมองสถานการณ์ดังกล่าวจากบริบทความสัมพันธ์สามเส้าระหว่างไทย จีนและญี่ปุ่น<ref>เออิจิ มูราซิมา. '''การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941.''' กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.</ref>  
การดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนดังกล่าวข้างต้นแม้จะมีแรงผลักดันสำคัญ คือ การใช้แนวคิดชาตินิยมเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นปัจจัยจากสถานการณ์ภายในของไทยเอง แต่ในขณะนั้นเดียวกันบริบทางการเมืองระหว่างประเทศในช่วงจังหวะที่รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายชาตินิยมดังกล่าวก็สะท้อนให้เห็นปัจจัยจากแรงผลักดันทางการเมืองจากนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมองสถานการณ์ดังกล่าวจากบริบทความสัมพันธ์สามเส้าระหว่างไทย จีนและญี่ปุ่น<ref>เออิจิ มูราซิมา. '''การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941.''' กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.</ref>


ในช่วงระหว่าง พ.ศ.2478-2482 เป็นช่วงที่กระแสชาตินิยมของชาวจีนโพ้นทะเลในไทยก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุด อันเนื่องมาจากสงครามระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่เกิดขึ้นในประเทศจีน ชาวจีนจำนวนหนึ่งที่ยังคงมีสำนึกผูกพันกับสถานการณ์ในจีน ได้ดำเนินการต่อต้านญี่ปุ่นด้วยการบอยคอตญี่ปุ่น  
ในช่วงระหว่าง พ.ศ.2478-2482 เป็นช่วงที่กระแสชาตินิยมของชาวจีนโพ้นทะเลในไทยก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุด อันเนื่องมาจากสงครามระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่เกิดขึ้นในประเทศจีน ชาวจีนจำนวนหนึ่งที่ยังคงมีสำนึกผูกพันกับสถานการณ์ในจีน ได้ดำเนินการต่อต้านญี่ปุ่นด้วยการบอยคอตญี่ปุ่น


ดังนั้นการดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนของรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามจึงทำให้ชาวจีนมองว่ารัฐบาลเริ่มดำเนินนโยบายไม่เป็นกลาง และเห็นว่ารัฐบาลร่วมมือกับญี่ปุ่น ตลอดจนนายพลเจียงไคเช็ก[[ประธานคณะมนตรี]]ป้องกันชาติอันสูงสุดของจีนได้ส่งโทรเลขมายังจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อให้รัฐบาลไทยลดมาตรการที่กดดันต่อชาวจีนที่อยู่ในไทย<ref>เออิจิ มูราซิมา.''' การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941.''' กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539, น.166-196.</ref>  
ดังนั้นการดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนของรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามจึงทำให้ชาวจีนมองว่ารัฐบาลเริ่มดำเนินนโยบายไม่เป็นกลาง และเห็นว่ารัฐบาลร่วมมือกับญี่ปุ่น ตลอดจนนายพลเจียงไคเช็ก[[ประธานคณะมนตรี|ประธานคณะมนตรี]]ป้องกันชาติอันสูงสุดของจีนได้ส่งโทรเลขมายังจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อให้รัฐบาลไทยลดมาตรการที่กดดันต่อชาวจีนที่อยู่ในไทย<ref>เออิจิ มูราซิมา.''' การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941.''' กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539, น.166-196.</ref>


== การเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในสงครามหาเอเชียบูรพากับการเมืองไทย==
== การเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในสงครามหาเอเชียบูรพากับการเมืองไทย ==


เมื่อญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ภาคใต้ของไทยเมื่อเช้าตรู่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้ยื่นเงื่อนไขให้รัฐบาลไทย 4 ข้อ คือ 1)ญี่ปุ่นขอเพียงเดินทัพผ่านไทย 2)ไทยกับญี่ปุ่นทำสัญญาพันธมิตรทางทหารเพื่อป้องกันไทย 3)ไทยกับญี่ปุ่นเป็นพันธมิตรสงครามร่วมรุกร่วมรบต่อฝ่ายตะวันตก 4)ไทยจะเข้าร่วมในกติกาสัญญาพันธไมตรีกับญี่ปุ่น เยอรมันและอิตาลี ซึ่งทางรัฐบาลไทยได้ตัดสินใจเลือกหนทางแรก คือ ยอมให้ญี่ปุ่นเดินทัพผ่าน แต่หลังจากนั้นนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ตัดสินใจที่จะยกเลิกนโยบายความเป็นกลางในเวทีระหว่างประเทศ และได้ปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ด้วยการปลดรัฐมนตรีบางคนที่มีท่าทีเข้ากับตะวันตกและปรับเอาผู้ที่นิยมในญี่ปุ่นขึ้นมาดำรงตำแหน่งแทน และในท้ายที่สุดก็ได้ตกลงทำกติกาสัญญาพันธไมตรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นเมื่อวัน 21 ธันวาคม พ.ศ.2484 และได้พัฒนาไปสู่การประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในเดือนมกราคม พ.ศ.2485 ซึ่งทำให้ไทยเป็นประเทศพันธมิตรกับญี่ปุ่นอย่างเต็มตัว
เมื่อญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ภาคใต้ของไทยเมื่อเช้าตรู่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้ยื่นเงื่อนไขให้รัฐบาลไทย 4 ข้อ คือ 1)ญี่ปุ่นขอเพียงเดินทัพผ่านไทย 2)ไทยกับญี่ปุ่นทำสัญญาพันธมิตรทางทหารเพื่อป้องกันไทย 3)ไทยกับญี่ปุ่นเป็นพันธมิตรสงครามร่วมรุกร่วมรบต่อฝ่ายตะวันตก 4)ไทยจะเข้าร่วมในกติกาสัญญาพันธไมตรีกับญี่ปุ่น เยอรมันและอิตาลี ซึ่งทางรัฐบาลไทยได้ตัดสินใจเลือกหนทางแรก คือ ยอมให้ญี่ปุ่นเดินทัพผ่าน แต่หลังจากนั้นนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ตัดสินใจที่จะยกเลิกนโยบายความเป็นกลางในเวทีระหว่างประเทศ และได้ปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ด้วยการปลดรัฐมนตรีบางคนที่มีท่าทีเข้ากับตะวันตกและปรับเอาผู้ที่นิยมในญี่ปุ่นขึ้นมาดำรงตำแหน่งแทน และในท้ายที่สุดก็ได้ตกลงทำกติกาสัญญาพันธไมตรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นเมื่อวัน 21 ธันวาคม พ.ศ.2484 และได้พัฒนาไปสู่การประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในเดือนมกราคม พ.ศ.2485 ซึ่งทำให้ไทยเป็นประเทศพันธมิตรกับญี่ปุ่นอย่างเต็มตัว


ในระดับผู้นำสำคัญของรัฐบาลในขณะนั้นแบ่งเป็นฝ่ายที่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นและกลุ่มที่ไม่เห็นด้วย แกนนำรัฐบาลคนสำคัญที่สนับสนุนการเข้าร่วมกับญี่ปุ่น เช่น [[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] [[หลวงวิจิตรวาทการ]] [[วณิช ปานะนนท์|นายวณิช ปานะนนท์]]  
ในระดับผู้นำสำคัญของรัฐบาลในขณะนั้นแบ่งเป็นฝ่ายที่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นและกลุ่มที่ไม่เห็นด้วย แกนนำรัฐบาลคนสำคัญที่สนับสนุนการเข้าร่วมกับญี่ปุ่น เช่น [[จอมพล_ป._พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] [[หลวงวิจิตรวาทการ|หลวงวิจิตรวาทการ]] [[วณิช_ปานะนนท์|นายวณิช ปานะนนท์]]


สำหรับกลุ่มที่คัดค้านและต่อต้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นอย่างเต็มที่ และมีการจัดตั้งเป็นขบวนการชัดเจน คือ[[ขบวนการเสรีไทย]] ซึ่งเคลื่อนไหวอยู่ทั้งในและต่างประเทศ กลุ่มจีนในไทย มีอยู่หลายกลุ่มด้วยกัน เช่น กองอาสาสมัครต่อต้านญี่ปุ่น ด้วยการออกหนังสือเพื่อเผยแพร่ความสารและชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร แกนนำของกองอาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นแรงงานเชื้อสายจีนที่เกิดในไทย<ref>ดำริห์ เรืองสุธรรม. '''ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2.''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2544, น.</ref> พรรคคอมมิวนิสต์<ref>ดำริห์ เรืองสุธรรม. เรื่องเดียวกัน, น.</ref> การคัดค้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในสงครามปรากฏให้เห็นครั้งแรกเมื่อมีการแจกใบปลิวของ “[[คณะไทยอิสระ]]” ขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามและญี่ปุ่น แต่ก็ถูกปราบปราม รวมทั้งมีการจับกุมนักเขียนที่มีแนวคิดต่อต้านญี่ปุ่น เช่น [[นายกุหลาบ สายประดิษฐ์]] รวมทั้งพ่อค้าคหบดีเชื้อสายจีน  
สำหรับกลุ่มที่คัดค้านและต่อต้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นอย่างเต็มที่ และมีการจัดตั้งเป็นขบวนการชัดเจน คือ[[ขบวนการเสรีไทย|ขบวนการเสรีไทย]] ซึ่งเคลื่อนไหวอยู่ทั้งในและต่างประเทศ กลุ่มจีนในไทย มีอยู่หลายกลุ่มด้วยกัน เช่น กองอาสาสมัครต่อต้านญี่ปุ่น ด้วยการออกหนังสือเพื่อเผยแพร่ความสารและชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร แกนนำของกองอาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นแรงงานเชื้อสายจีนที่เกิดในไทย<ref>ดำริห์ เรืองสุธรรม. '''ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2.''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2544, น.</ref> พรรคคอมมิวนิสต์<ref>ดำริห์ เรืองสุธรรม. เรื่องเดียวกัน, น.</ref> การคัดค้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในสงครามปรากฏให้เห็นครั้งแรกเมื่อมีการแจกใบปลิวของ “[[คณะไทยอิสระ|คณะไทยอิสระ]]” ขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามและญี่ปุ่น แต่ก็ถูกปราบปราม รวมทั้งมีการจับกุมนักเขียนที่มีแนวคิดต่อต้านญี่ปุ่น เช่น [[นายกุหลาบ_สายประดิษฐ์|นายกุหลาบ สายประดิษฐ์]] รวมทั้งพ่อค้าคหบดีเชื้อสายจีน


== สงครามมหาเอเชียบูรพาต่อการเมืองไทยภายหลังสงคราม==
== สงครามมหาเอเชียบูรพาต่อการเมืองไทยภายหลังสงคราม ==


สถานการณ์การต่อสู้ระหว่างกลุ่มการเมืองต่างๆ ในระยะปลายสงคราม ได้คลี่คลายเข้าสู่บริบทใหม่ภายหลังญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามเมื่อวันที่ พ.ศ. 2488 ผู้นำรัฐบาลชุดจอมพล ป. พิบูลสงคราม เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกตั้งข้อหาอาชญากรสงคราม
สถานการณ์การต่อสู้ระหว่างกลุ่มการเมืองต่างๆ ในระยะปลายสงคราม ได้คลี่คลายเข้าสู่บริบทใหม่ภายหลังญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามเมื่อวันที่ พ.ศ. 2488 ผู้นำรัฐบาลชุดจอมพล ป. พิบูลสงคราม เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกตั้งข้อหาอาชญากรสงคราม


นอกจากนั้นภายหลังญี่ปุ่นยอมแพ้ในสงคราม บุคคลสำคัญทางการเมืองหลายคนได้เสียชีวิต เช่น นายวณิช ปานะนนท์ นายหวั่งหลี เฮียกวงเอี่ยม การเสียชีวิตของบุคคลเหล่านี้ แม้ไม่มีการสืบสวนจนทราบสาเหตุอย่างชัดเจน แต่เชื่อกันว่าเชื่อมโยงกับการพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงคราม
นอกจากนั้นภายหลังญี่ปุ่นยอมแพ้ในสงคราม บุคคลสำคัญทางการเมืองหลายคนได้เสียชีวิต เช่น นายวณิช ปานะนนท์ นายหวั่งหลี เฮียกวงเอี่ยม การเสียชีวิตของบุคคลเหล่านี้ แม้ไม่มีการสืบสวนจนทราบสาเหตุอย่างชัดเจน แต่เชื่อกันว่าเชื่อมโยงกับการพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงคราม


== ที่มา ==
== ที่มา ==
ชาญวิทย์  เกษตรศิริ. '''ประวัติการเมืองไทย.''' กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2538.


ดิเรก ชัยนาม. '''ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2.''' กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, 2509.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. '''ประวัติการเมืองไทย.''' กรุงเทพฯ&nbsp;: ดอกหญ้า, 2538.
 
ดิเรก ชัยนาม. '''ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2.''' กรุงเทพฯ&nbsp;: แพร่พิทยา, 2509.


ดำริห์ เรืองสุธรรม. '''ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2.''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2544.
ดำริห์ เรืองสุธรรม. '''ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2.''' กรุงเทพฯ&nbsp;: สุขภาพใจ, 2544.


พรรณี บัวเล็ก. ''' จักรวรรดินิยมญี่ปุ่นกับพัฒนาการทุนนิยมไทย : ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1-2 (พ.ศ.2457-2484).''' กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2540.
พรรณี บัวเล็ก. '''จักรวรรดินิยมญี่ปุ่นกับพัฒนาการทุนนิยมไทย&nbsp;: ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1-2 (พ.ศ.2457-2484).''' กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2540.


ภูวดล ทรงประเสริฐ. '''“นโยบายของรัฐบาลที่มีต่อชาวจีนในประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2500).”''' วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์, 2519.
ภูวดล ทรงประเสริฐ. '''“นโยบายของรัฐบาลที่มีต่อชาวจีนในประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2500).”''' วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์, 2519.


นิภาพร รัชตพัฒนากุล. '''“ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น: 2475 – 2488.”''' วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์, 2545.
นิภาพร รัชตพัฒนากุล. '''“ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น: 2475 – 2488.”''' วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์, 2545.


สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. '''ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2481-2492.''' กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532.
สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. '''ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2481-2492.''' กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532.


เออิจิ มูราซิมา. '''การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941.''' กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
เออิจิ มูราซิมา. '''การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941.''' กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
บรรทัดที่ 83: บรรทัดที่ 84:
F.C.Jone. '''Japan’s new order in East Asia: Its rise and fall 1937-1945.''' London: Oxford University Press , 1954.
F.C.Jone. '''Japan’s new order in East Asia: Its rise and fall 1937-1945.''' London: Oxford University Press , 1954.


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
<references/>
 
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
<references />
 
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:24, 2 ธันวาคม 2562

ผู้เรียบเรียง นิภาพร รัชตพัฒนากุล


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


ความเป็นมาของ “สงครามมหาเอเชียบูรพา”

แรกเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2482 ประเทศที่เข้าร่วมสงครามจำกัดอยู่เพียงกลุ่มประเทศตะวันตกคือ เยอรมัน อังกฤษและฝรั่งเศสเป็นหลัก ในขณะที่ทางฝั่งเอเชียก็เกิดสงครามระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งในดินแดนตอนใต้ของแมนจูเรียตั้งแต่ พ.ศ. 2474 สงครามที่เกิดขึ้นในสองทวีปนี้ได้เชื่อมโยงเป็นกระบวนการเดียวกันอย่างหลวมๆ และขยายวงมาถึงดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายหลังจากฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมันในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2483

ความพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อเยอรมันทำให้เกิดภาวะสูญญากาศทางการเมืองขึ้นในอาณานิคมของฝรั่งเศสหรือที่เรียกว่าดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส (ประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาในปัจจุบัน) ภาวะดังกล่าวได้กลายเป็นโอกาสให้ญี่ปุ่นเข้าแทรกแซงกิจการในดินแดนนี้ด้วยการขอให้รัฐบาลอินโดจีนของฝรั่งเศสปิดแนวชายแดนที่ติดต่อกับจีน เพื่อป้องกันการส่งกำลังช่วยเหลือให้กับรัฐบาลนายพลเจียงไคเช็กที่จุงกิง ซึ่งกำลังทำสะครามยืดเยื้อกับญี่ปุ่นอยู่ และในเดือนกันยายนได้ทำสัญญายินยอมให้ญี่ปุ่นตั้งกองทหารในอินโดจีนได้ จากความพยายามขยายอำนาจของญี่ปุ่นในเอเชียนับตั้งแต่จีนมาจนถึงอินโดจีนฝรั่งเศส ทำให้อังกฤษ ดัชต์และสหรัฐอเมริกา ประเทศเจ้าอาณานิมคมตัดสินใจดำเนินมาตรการปิดล้อมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น เพื่อกดดันให้ญี่ปุ่นให้ยุติสงครามกับจีนและถอนกำลังทหารออกจากอินโดจีนของฝรั่งเศส

ญี่ปุ่นตัดสินใจตอบโต้การปิดล้อมทางเศรษฐกิจด้วยการส่งกองกำลังเข้าโจมตีดินแดนอาณานิคมทั่วทั้งภูมิภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เริ่มจากคาบสมุทรมาเลย์ โดยยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งอ่าวไทยเช่นที่ปัตตานี สงขลา บางปู พร้อมกับส่งทหารโจมตีมณฑลกวางตุ้งและเกาะฮ่องกงของอังกฤษ ส่งเครื่องบินโจมตีฟิลิปปินส์อาณานิคมของสหรัฐอเมริกา ฐานทัพเรือของสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล สองวันหลังจากเปิดแนวรบไปทั่วมหาสมุทรแปซิฟิค รัฐบาลญี่ปุ่นจึงได้บัญญัติชื่อเรียกสงครามครั้งนี้ว่า “Greater East Asia War” (大東亜(Dai To-A )戦争(Senso)) ซึ่งสถานการณ์สงครามที่ขยายตัวและเชื่อมโยงกันอย่างหลวมๆ นี้กลายเป็นที่มาของคำเรียกสงครามโดยรวมว่า “สงครามโลกครั้งที่ 2”

สำหรับแนวคิดการสร้าง “มหาเอเชียบูรพา” อันเป็นที่มาของชื่อสงครามนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นได้พัฒนามาจากการประกาศจัด “ระเบียบใหม่ในเอเชียตะวันออก” ด้วยการรวมญี่ปุ่น จีนและแมนจูกัว เข้าเป็นหน่วยเดียวกันในทางเศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรม ต่อมานโยบายดังกล่าวได้พัฒนามาเป็นแนวคิด “วงไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพา” (Greater East Asia Co-Prosperity Sphere) ซึ่งเป็นอุดมการณ์ที่ญี่ปุ่นใช้ในการทำสงคราม โดยระบุจุดประสงค์ว่าเพื่อสร้างสันติภาพและความมั่นคงขึ้นในเอเชียตะวันออกและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์จากแองโกล-อเมริกา มีเป้าหมายในทางปฏิบัติคือ การสร้างเขตพึ่งพาตนเองในทางเศรษฐกิจ เนื่องจากญี่ปุ่นมองว่าขั้นตอนแรกของการปลดปล่อยเอเชียจากจักรวรรดิตะวันตก คือ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาตะวันตก[1] โดยแบ่งพื้นที่ในวงไพบูลย์ออกเป็น 2 ส่วนคือ วงไพบูลย์ด้านใน ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน แมนจูกัว[2] และวงไพบูลย์ด้านนอก คือ ดินแดนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิค

สำหรับประเทศไทย เมื่อรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ตกลงเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในการทำสงครามเมื่อต้นปี พ.ศ. 2484 จึงได้ถอดเอาความหมายของ “Greater East Asia War” เป็นคำว่า “สงครามมหาเอเชียบูรพา” ช่วงระยะเวลาสี่ปีในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพานับเป็นช่วงเวลาพิเศษของประวัติศาสตร์การเมืองไทย เนื่องจากการเมืองภายในได้ถูกผูกโยงเข้ากับสถานการณ์ระหว่างประเทศอย่างซับซ้อน ผลกระทบจากการเข้าร่วมสงครามต่อการเมืองไทย มีทั้งผลในทางตรงและทางอ้อมที่สืบเนื่องต่อมาในระยะยาวและผลกระทบเพียงระยะสั้นๆ เฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าว 

สถานการณ์ทางการเมืองของไทยก่อนเกิดสงคราม

สภาวะทางการเมืองภายในของสยามช่วงก่อนเกิดสงครามนั้นเต็มไปด้วยความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่างๆ ในระยะเปลี่ยนผ่านจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญ โดยอาจแบ่งช่วงเวลาทางการเมืองออกได้เป็นสองช่วงหลัก คือ ภายหลังเหตุการณ์วันที่ 24_มิถุนายน_พ.ศ._2475 และภายหลังจากพันเอกหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อปลาย พ.ศ.2481

ความขัดแย้งทางการเมืองช่วงหกปีแรกภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของกลุ่มทางการเมืองที่มีบทบาทหลัก 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้นำใหม่หรือคณะราษฎร กลุ่มขุนนางเก่า กลุ่มนิยมเจ้าและกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง[3] ความขัดแย้งที่ว่าสะท้อนให้เห็นได้จากเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญ เช่น การเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ การรัฐประหารรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดาภายใต้การนำของพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาและพันเอกหลวงพิบูลสงคราม เหตุการณ์กบฏบวรเดช การสละราชย์สมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยแกนหลักของความขัดแย้งเหล่านี้อยู่ที่การต่อรองอำนาจเพื่อรักษาสถานภาพระหว่างผู้นำในระบอบใหม่และผู้นำในระบอบเก่า

จนเมื่อพันเอกหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปลายปี พ.ศ.2481 ได้แก้ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่ทำให้รัฐบาลก่อนหน้านี้ขาดเสถียรภาพด้วยมาตรการที่แข็งกร้าว ด้วยการตั้งศาลพิเศษเพื่อกวาดล้างบุคคลที่ต่อต้านรัฐบาล ในขณะเดียวกันก็ใช้นโยบายชาตินิยมทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างความรู้สึกร่วมให้กับประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นกลางในเมืองเพื่อสร้างการสนับสนุนอำนาจนำของรัฐบาล

บริบททางการเมืองภายในเช่นนี้เองที่สถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศได้เข้ามามีอิทธิพลทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการเคลื่อนไหวทางการเมืองของไทยในช่วงก่อนเกิดสงครามและมีผลสืบเนื่องต่อไปภายหลังเกิดสงคราม การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเมืองระหว่างประเทศในช่วงก่อนและระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพาที่สำคัญอย่างน้อย 2 เหตุการณ์ คือ การเรียกร้องดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศสและการสร้างกระแสชาตินิยมไทยที่กดดันชาวจีน

สำหรับการเรียกร้องดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศสเป็นประเด็นที่สืบเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปีพ.ศ. 2480-2481 เมื่อหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้นได้เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศจักรวรรดินิยม 15 ประเทศและได้ขอปรับปรุงแนวพรมแดนที่ติดต่อกับอาณานิคมของตะวันตก โดยเริ่มจากการเจรจากับอังกฤษและตามด้วยอินโดจีนฝรั่งเศส จนเมื่อพันเอกหลวงพิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและได้นำเอาแนวคิดชาตินิยมมาใช้ การเคลื่อนไหวจึงไม่ยุติเพียงแค่การแก้ไขสนธิสัญญา แต่ได้ขยายวงไปเป็นการเรียกร้องดินแดน เหตุการณ์สำคัญที่สะท้อนแนวคิดชาตินิยมเพื่อการขยายดินแดนคือ การออกรัฐนิยมเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2482 เพื่อให้คำว่า “ไทย” ครอบคลุมเอากลุ่มชาติพันธุ์ “ไท” ต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือเขตแดนรัฐไทยขณะนั้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง

การเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายดังกล่าวสัมพันธ์กับบริบทการเมืองระหว่างประเทศในช่วงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพาอย่างซับซ้อน กล่าวคือ ในช่วงที่ไทยกำลังขอปรับปรุงแนวพรมแดนอยู่นั้น ในทวีปยุโรปสงครามได้ขยายตัว จนเมื่อฝรั่งเศสมีท่าทีจะพ่ายแพ้ รัฐบาลไทยจึงเรียกร้องขอไชยบุรีและจำปาศักดิ์รวมทั้งข้อตกลงว่าหากมีการเปลี่ยนโอนอธิปไตยในอินโดจีนฝรั่งเศสก็ขอให้ลาวและกัมพูชาตกเป็นของไทยเพิ่มเติมจากการขอปรับปรุงพรมแดนในตอนแรก

จนเมื่อฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมันในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2483 ทำให้ดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสเกิดภาวะสูญญากาศทางอำนาจขึ้น ญี่ปุ่นจึงทำความตกลงกับรัฐบาลวิชีของฝรั่งเศส (ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน) เพื่อให้กองทหารญี่ปุ่นเข้าไปตั้งฐานในเวียดนามได้ ความเคลื่อนไหวดังกล่าวทำให้รัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมองว่าการขยายอำนาจของญี่ปุ่นเข้ามาในอินโดจีนฝรั่งเศสจะกลายเป็นอุปสรรคในการเรียกร้องดินแดนของไทยต่อไป[4] รัฐบาลจึงเปลี่ยนวิธีการเรียกร้องดินแดนจากการเจรจาทางการทูตมาเป็นการใช้กำลังทหาร การปะทะกันระหว่างทหารฝรั่งเศสและไทยเริ่มขึ้นภายหลังจากนายกรัฐมนตรีพลตรีหลวงพิบูลสงครามขึ้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดอีกตำแหน่งหนึ่ง จนกระทั่งเดือนมกราคมรัฐบาลไทยจึงได้ประกาศสถานการณ์สงครามกับอินโดจีนฝรั่งเศส

ปัญหาดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสจบลงภายหลังจากญี่ปุ่นเสนอตัวเป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยตกลงหยุดยิงและลงนามพักรบที่ไซ่ง่อนบนเรือรบของญี่ปุ่นและลงนามในอนุสัญญาที่กรุงโตเกียวในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งทำให้ไทยได้ดินแดนไชยบุรี จำปาศักดิ์ เสียมราฐและพระตะบอง[5] ความช่วยเหลือของญี่ปุ่นในครั้งนี้ทำให้สัมพันธภาพระหว่างไทยและญี่ปุ่นแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จนกระทั่งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2484 ได้เลื่อนความสัมพันธ์ทางการทูตจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต ซึ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกที่ยกระดับความสัมพันธ์กับไทยให้มีฐานะเท่าเทียมกับประเทศมหาอำนาจ[6] เหตุการณ์นี้นับเป็นก้าวสำคัญของความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างไทยและญี่ปุ่นที่จะนำไปสู่การเป็นพันธมิตรกันในสงครามมหาเอเชียบูรพา

สำหรับการสร้างกระแสชาตินิยมไทยด้วยการกดดันชาวจีนในช่วงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอีกด้านหนึ่งของนโยบายชาตินิยมนอกเหนือจากนโยบายขยายดินแดนที่กล่าวถึงข้างต้น การดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนเริ่มขึ้นภายหลังจากพันเอกหลวงพิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกเช่นกัน โดยมีเป้าหมายหลัก คือ การลดบทบาทของชาวจีนในเศรษฐกิจไทย เช่น การออกพระราชบัญญัติช่วยอาชีพและวิชาชีพ พ.ศ. 2484 ซึ่งมีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้สำหรับผู้ถือสัญชาติไทยเท่านั้น ตลอดจนสนับสนุนให้ชาวไทยมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญเช่นการค้าขายมากขึ้น แต่การสนับสนุนดังกล่าวอยู่ในรูปของการตั้งรัฐวิสาหกิจเพื่อเข้าดำเนินกิจการแทน เช่น การปรับปรุงกิจการของบริษัทข้าวไทย การตั้งบริษัทข้าวสยาม บริษัทไทยนิยมพาณิชย์

การดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนดังกล่าวข้างต้นแม้จะมีแรงผลักดันสำคัญ คือ การใช้แนวคิดชาตินิยมเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นปัจจัยจากสถานการณ์ภายในของไทยเอง แต่ในขณะนั้นเดียวกันบริบทางการเมืองระหว่างประเทศในช่วงจังหวะที่รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายชาตินิยมดังกล่าวก็สะท้อนให้เห็นปัจจัยจากแรงผลักดันทางการเมืองจากนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมองสถานการณ์ดังกล่าวจากบริบทความสัมพันธ์สามเส้าระหว่างไทย จีนและญี่ปุ่น[7]

ในช่วงระหว่าง พ.ศ.2478-2482 เป็นช่วงที่กระแสชาตินิยมของชาวจีนโพ้นทะเลในไทยก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุด อันเนื่องมาจากสงครามระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่เกิดขึ้นในประเทศจีน ชาวจีนจำนวนหนึ่งที่ยังคงมีสำนึกผูกพันกับสถานการณ์ในจีน ได้ดำเนินการต่อต้านญี่ปุ่นด้วยการบอยคอตญี่ปุ่น

ดังนั้นการดำเนินนโยบายกดดันชาวจีนของรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามจึงทำให้ชาวจีนมองว่ารัฐบาลเริ่มดำเนินนโยบายไม่เป็นกลาง และเห็นว่ารัฐบาลร่วมมือกับญี่ปุ่น ตลอดจนนายพลเจียงไคเช็กประธานคณะมนตรีป้องกันชาติอันสูงสุดของจีนได้ส่งโทรเลขมายังจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อให้รัฐบาลไทยลดมาตรการที่กดดันต่อชาวจีนที่อยู่ในไทย[8]

การเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในสงครามหาเอเชียบูรพากับการเมืองไทย

เมื่อญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ภาคใต้ของไทยเมื่อเช้าตรู่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้ยื่นเงื่อนไขให้รัฐบาลไทย 4 ข้อ คือ 1)ญี่ปุ่นขอเพียงเดินทัพผ่านไทย 2)ไทยกับญี่ปุ่นทำสัญญาพันธมิตรทางทหารเพื่อป้องกันไทย 3)ไทยกับญี่ปุ่นเป็นพันธมิตรสงครามร่วมรุกร่วมรบต่อฝ่ายตะวันตก 4)ไทยจะเข้าร่วมในกติกาสัญญาพันธไมตรีกับญี่ปุ่น เยอรมันและอิตาลี ซึ่งทางรัฐบาลไทยได้ตัดสินใจเลือกหนทางแรก คือ ยอมให้ญี่ปุ่นเดินทัพผ่าน แต่หลังจากนั้นนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ตัดสินใจที่จะยกเลิกนโยบายความเป็นกลางในเวทีระหว่างประเทศ และได้ปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ด้วยการปลดรัฐมนตรีบางคนที่มีท่าทีเข้ากับตะวันตกและปรับเอาผู้ที่นิยมในญี่ปุ่นขึ้นมาดำรงตำแหน่งแทน และในท้ายที่สุดก็ได้ตกลงทำกติกาสัญญาพันธไมตรีระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นเมื่อวัน 21 ธันวาคม พ.ศ.2484 และได้พัฒนาไปสู่การประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในเดือนมกราคม พ.ศ.2485 ซึ่งทำให้ไทยเป็นประเทศพันธมิตรกับญี่ปุ่นอย่างเต็มตัว

ในระดับผู้นำสำคัญของรัฐบาลในขณะนั้นแบ่งเป็นฝ่ายที่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นและกลุ่มที่ไม่เห็นด้วย แกนนำรัฐบาลคนสำคัญที่สนับสนุนการเข้าร่วมกับญี่ปุ่น เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม หลวงวิจิตรวาทการ นายวณิช ปานะนนท์

สำหรับกลุ่มที่คัดค้านและต่อต้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นอย่างเต็มที่ และมีการจัดตั้งเป็นขบวนการชัดเจน คือขบวนการเสรีไทย ซึ่งเคลื่อนไหวอยู่ทั้งในและต่างประเทศ กลุ่มจีนในไทย มีอยู่หลายกลุ่มด้วยกัน เช่น กองอาสาสมัครต่อต้านญี่ปุ่น ด้วยการออกหนังสือเพื่อเผยแพร่ความสารและชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร แกนนำของกองอาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นแรงงานเชื้อสายจีนที่เกิดในไทย[9] พรรคคอมมิวนิสต์[10] การคัดค้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่นในสงครามปรากฏให้เห็นครั้งแรกเมื่อมีการแจกใบปลิวของ “คณะไทยอิสระ” ขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามและญี่ปุ่น แต่ก็ถูกปราบปราม รวมทั้งมีการจับกุมนักเขียนที่มีแนวคิดต่อต้านญี่ปุ่น เช่น นายกุหลาบ สายประดิษฐ์ รวมทั้งพ่อค้าคหบดีเชื้อสายจีน

สงครามมหาเอเชียบูรพาต่อการเมืองไทยภายหลังสงคราม

สถานการณ์การต่อสู้ระหว่างกลุ่มการเมืองต่างๆ ในระยะปลายสงคราม ได้คลี่คลายเข้าสู่บริบทใหม่ภายหลังญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามเมื่อวันที่ พ.ศ. 2488 ผู้นำรัฐบาลชุดจอมพล ป. พิบูลสงคราม เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกตั้งข้อหาอาชญากรสงคราม

นอกจากนั้นภายหลังญี่ปุ่นยอมแพ้ในสงคราม บุคคลสำคัญทางการเมืองหลายคนได้เสียชีวิต เช่น นายวณิช ปานะนนท์ นายหวั่งหลี เฮียกวงเอี่ยม การเสียชีวิตของบุคคลเหล่านี้ แม้ไม่มีการสืบสวนจนทราบสาเหตุอย่างชัดเจน แต่เชื่อกันว่าเชื่อมโยงกับการพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงคราม

ที่มา

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ประวัติการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2538.

ดิเรก ชัยนาม. ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, 2509.

ดำริห์ เรืองสุธรรม. ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2544.

พรรณี บัวเล็ก. จักรวรรดินิยมญี่ปุ่นกับพัฒนาการทุนนิยมไทย : ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1-2 (พ.ศ.2457-2484). กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2540.

ภูวดล ทรงประเสริฐ. “นโยบายของรัฐบาลที่มีต่อชาวจีนในประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2500).” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์, 2519.

นิภาพร รัชตพัฒนากุล. “ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น: 2475 – 2488.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์, 2545.

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2481-2492. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532.

เออิจิ มูราซิมา. การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941. กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.

Benjamin A. Batson and Shimizu Hajime. ‘The Tragedy of Wanit: A Japanese Account of Wartime Thai Politics. Singapore: The National University of Singapore, 1990.

Bruce E. Reynolds. Thailand and Japan’s Southern Advance 1940-1945. Scranton: Macmillan. 1994

F.C.Jone. Japan’s new order in East Asia: Its rise and fall 1937-1945. London: Oxford University Press , 1954.

อ้างอิง

  1. F.C.Jone , Japan’s new order in east Asia : Its rise and fall 1937-1945 (London : Oxford University Press 1954) , p.332-333.
  2. แมนจูกัว เป็นประเทศที่ญี่ปุ่นสนับสนุนให้จัดตั้งขึ้น ภายหลังเกิดกรณีมุกเดน มีเนื้อที่ครอบคลุมดินแดนแมนจูเรีย มีระยะเวลาอยู่ในช่วงสั้นๆ ระหว่าง พ.ศ.2475-2488 โดยล่มสลายไปพร้อมกับความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงคราม
  3. สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2481-2492. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532, น.25-41
  4. ชาญวิทย์ , เรื่องเดียวกัน , น. 222.
  5. เรื่องเดียวกัน , น. 225.
  6. เรื่องเดียวกัน , น. 231-232 ดูรายละเอียดเกี่ยวกับกรณีพิพิาทเพิ่มเติมได้ในทวี ธีระวงศ์เสรี , สัมพันธภาพทางการเมืองระหว่างไทยกับญี่ปุ่น , น..92-112.
  7. เออิจิ มูราซิมา. การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941. กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
  8. เออิจิ มูราซิมา. การเมืองจีนสยาม: การเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ค.ศ.1924-1941. กรุงเทพฯ: สถานบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539, น.166-196.
  9. ดำริห์ เรืองสุธรรม. ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2544, น.
  10. ดำริห์ เรืองสุธรรม. เรื่องเดียวกัน, น.