ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กสิกร (พ.ศ. 2549)"
ล กสิกร ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น กสิกร (พ.ศ. 2549) |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' | '''ผู้เรียบเรียง''' รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ | ||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
---- | ---- | ||
== พรรคกสิกร (2492) == | == พรรคกสิกร (2492) == | ||
พรรคกสิกร | พรรคกสิกร เป็นหนึ่งใน[[พรรคการเมือง]]ซึ่งก่อตั้งขึ้นในยุคแรกของการมีระบบพรรคการเมือง กล่าวคือ ภายหลังการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489]] ซึ่งมีบทบัญญัติรับรองเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมืองเป็นครั้งแรก ปรากฏว่าได้มี[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]หลายกลุ่มเคลื่อนไหวรวมตัวกันจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นเพื่อดำเนิน[[กิจกรรมทางการเมือง]]ในสภา พรรคการเมืองแรก ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ พรรค[[ก้าวหน้า]] และพรรค[[ประชาธิปไตย]] ซึ่งมีสมาชิกร่วมก่อตั้งพรรคประกอบด้วย[[นักการเมือง]]ทั้งในและนอกสภา | ||
ในช่วงเวลาระหว่างการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489]] ปรากฏว่าการเมืองใน[[รัฐสภา]]เป็นไปอย่างคึกคัก ในขณะเดียวกันกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ก็มีการรวมตัวจัดตั้งพรรคการเมืองเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ พรรค[[สหชีพ]] พรรค[[แนวรัฐธรมนูญ]] พรรค[[ประชาธิปัตย์]] พรรค[[ธรรมาธิปัตย์]] และ[[กลุ่มอิสระ]] หลังจากนั้นเมื่อ[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] กลับเข้ามาดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]]อีกครั้ง หลังจาก[[ควง อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]] ลาออกจากตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]อันเนื่องมากจากการบีบบังคับของ[[คณะทหาร]] เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 ปรากฏว่าได้มีพรรคการเมืองจัดตั้งขึ้นใหม่อีกอย่างน้อย 4 พรรค คือ พรรค[[สหพรรค]] พรรค[[กสิกรรมกร]] พรรค[[ชาติสังคมประชาธิปตย]] และพรรค[[กสิกร]] | |||
พรรคกสิกร | พรรคกสิกร มี[[หัวหน้าพรรค]] คือ พระยาสุรยุทธเสนีย์ มีแนวนโยบายสนับสนุนกลุ่มผู้ประกอบอาชีพกสิกรเป็นสำคัญ ซึ่งต่างจากพรรคการเมืองอื่น ๆ ที่จัดตั้งขึ้นในเวลาเดียวกัน อย่างพรรคกสิกรรมกร พรรคสหพรรค และพรรคชาติสังคมประชาธิปไตย ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่ประกอบด้วย[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ที่ให้การสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม และตั้งพรรคขึ้นเพื่อสนับสนุน[[รัฐบาล]]อย่างชัดเจน ในขณะที่ พรรคกสิกร นั้น ก่อตั้งขึ้นโดยสมาชิก[[นักการเมือง]]ที่ต้องการเข้าร่วมการลงสมัครรับเลือกตั้งที่กำลังจะมีขึ้นเป็นสำคัญ | ||
แม้ว่าการตั้งพรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นในช่วงเวลานี้ จะมีบทบาทสำคัญในการส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งทั่วไป แต่การจัดตั้งพรรคการดังกล่าวก็ไม่มีการจดทะเบียนจัดตั้งอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มี | แม้ว่าการตั้งพรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นในช่วงเวลานี้ จะมีบทบาทสำคัญในการส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งทั่วไป แต่การจัดตั้งพรรคการดังกล่าวก็ไม่มีการจดทะเบียนจัดตั้งอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มี “[[พระราชบัญญัติ]]” หรือ[[กฎหมายพรรคการเมือง]]ออกมาบังคับใช้ การดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรคการเมืองเหล่านี้ จึงตั้งอยู่บนสิทธิในการรวมตัวเป็นพรรคการเมืองตาม[[รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489]] มาตรา 14 ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในร่างกาย ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา การศึกษาอบรม การชุมนุมสาธารณะ การตั้งสมาคม การตั้งคณะพรรคการเมือง การอาชีพ ทั้งนี้ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย” | ||
อย่างไรก็ตาม ในที่สุดพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว ก็ต้องยุติบทบาททางการเมืองลงโดยสิ้นเชิง เมื่อเกิด | อย่างไรก็ตาม ในที่สุดพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว ก็ต้องยุติบทบาททางการเมืองลงโดยสิ้นเชิง เมื่อเกิด “[[การรัฐประหารเงียบ]]” ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ซึ่งมีการประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และนำเอารัฐธรรมนูญ ฉบับวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มาประกาศใช้อีกครั้ง ในขณะเดียวกันก็มีการประกาศห้ามชุมนุมทางการเมือง จึงส่งผลให้พรรคการเมืองที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงก่อนหน้าที่ทั้งหมด ไม่สามารถเคลื่อนไหวดำเนินกิจกรรมและแสดงบทบาทในฐานะพรรคการเมืองได้อีก จนกระทั่งมีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2498]] ซึ่งถือเป็นกฎหมายพรรคการเมืองฉบับแรกของไทย การเคลื่อนไหวรวมตัวเพื่อจัดตั้งพรรคการเมืองจึงเป็นไปอย่างคึกคัก และมี[[การจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง]]อย่างเป็นระบบเป็นครั้งแรกอีกด้วย | ||
== ที่มา == | == ที่มา == | ||
บรรทัดที่ 31: | บรรทัดที่ 30: | ||
[[หมวดหมู่:รายชื่อพรรคการเมืองไทย]] | [[หมวดหมู่:รายชื่อพรรคการเมืองไทย]] | ||
[[หมวดหมู่:รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:16, 16 สิงหาคม 2556
ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
พรรคกสิกร (2492)
พรรคกสิกร เป็นหนึ่งในพรรคการเมืองซึ่งก่อตั้งขึ้นในยุคแรกของการมีระบบพรรคการเมือง กล่าวคือ ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 ซึ่งมีบทบัญญัติรับรองเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมืองเป็นครั้งแรก ปรากฏว่าได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายกลุ่มเคลื่อนไหวรวมตัวกันจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นเพื่อดำเนินกิจกรรมทางการเมืองในสภา พรรคการเมืองแรก ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ พรรคก้าวหน้า และพรรคประชาธิปไตย ซึ่งมีสมาชิกร่วมก่อตั้งพรรคประกอบด้วยนักการเมืองทั้งในและนอกสภา
ในช่วงเวลาระหว่างการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 ปรากฏว่าการเมืองในรัฐสภาเป็นไปอย่างคึกคัก ในขณะเดียวกันกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ก็มีการรวมตัวจัดตั้งพรรคการเมืองเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ พรรคสหชีพ พรรคแนวรัฐธรมนูญ พรรคประชาธิปัตย์ พรรคธรรมาธิปัตย์ และกลุ่มอิสระ หลังจากนั้นเมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเข้ามาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง หลังจากนายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอันเนื่องมากจากการบีบบังคับของคณะทหาร เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 ปรากฏว่าได้มีพรรคการเมืองจัดตั้งขึ้นใหม่อีกอย่างน้อย 4 พรรค คือ พรรคสหพรรค พรรคกสิกรรมกร พรรคชาติสังคมประชาธิปตย และพรรคกสิกร
พรรคกสิกร มีหัวหน้าพรรค คือ พระยาสุรยุทธเสนีย์ มีแนวนโยบายสนับสนุนกลุ่มผู้ประกอบอาชีพกสิกรเป็นสำคัญ ซึ่งต่างจากพรรคการเมืองอื่น ๆ ที่จัดตั้งขึ้นในเวลาเดียวกัน อย่างพรรคกสิกรรมกร พรรคสหพรรค และพรรคชาติสังคมประชาธิปไตย ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่ประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ให้การสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม และตั้งพรรคขึ้นเพื่อสนับสนุนรัฐบาลอย่างชัดเจน ในขณะที่ พรรคกสิกร นั้น ก่อตั้งขึ้นโดยสมาชิกนักการเมืองที่ต้องการเข้าร่วมการลงสมัครรับเลือกตั้งที่กำลังจะมีขึ้นเป็นสำคัญ
แม้ว่าการตั้งพรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นในช่วงเวลานี้ จะมีบทบาทสำคัญในการส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งทั่วไป แต่การจัดตั้งพรรคการดังกล่าวก็ไม่มีการจดทะเบียนจัดตั้งอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มี “พระราชบัญญัติ” หรือกฎหมายพรรคการเมืองออกมาบังคับใช้ การดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรคการเมืองเหล่านี้ จึงตั้งอยู่บนสิทธิในการรวมตัวเป็นพรรคการเมืองตามรัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 มาตรา 14 ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในร่างกาย ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา การศึกษาอบรม การชุมนุมสาธารณะ การตั้งสมาคม การตั้งคณะพรรคการเมือง การอาชีพ ทั้งนี้ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย”
อย่างไรก็ตาม ในที่สุดพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว ก็ต้องยุติบทบาททางการเมืองลงโดยสิ้นเชิง เมื่อเกิด “การรัฐประหารเงียบ” ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ซึ่งมีการประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และนำเอารัฐธรรมนูญ ฉบับวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มาประกาศใช้อีกครั้ง ในขณะเดียวกันก็มีการประกาศห้ามชุมนุมทางการเมือง จึงส่งผลให้พรรคการเมืองที่ก่อตั้งขึ้นในช่วงก่อนหน้าที่ทั้งหมด ไม่สามารถเคลื่อนไหวดำเนินกิจกรรมและแสดงบทบาทในฐานะพรรคการเมืองได้อีก จนกระทั่งมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2498 ซึ่งถือเป็นกฎหมายพรรคการเมืองฉบับแรกของไทย การเคลื่อนไหวรวมตัวเพื่อจัดตั้งพรรคการเมืองจึงเป็นไปอย่างคึกคัก และมีการจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองอย่างเป็นระบบเป็นครั้งแรกอีกด้วย
ที่มา
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, กำเนิดพรรคการเมืองในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2510
ประจวบ ทองอุไร, พรรคการเมืองไทย, พระนคร : สำนักพิมพ์ก้าวหน้า, 2508
จเร พันธุ์เปรื่อง, พรรคการเมืองกับการเลือกตั้งทั่วไป 2526, รัฐสภาสาร ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2526), หน้า 10-26.
เสนีย์ คำสุข, ข้อมูลพื้นฐานพรรคการเมือง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475-2544, รัฐสภาสาร ปีที่ 49 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2544), หน้า 17-70.