ผลต่างระหว่างรุ่นของ "6 ตุลาคม 2519"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 10: | บรรทัดที่ 10: | ||
วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้นเป็นวันที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่า ได้เกิดกรณีนองเลือดครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เมื่อเจ้าหน้าที่[[รัฐบาล]]และกลุ่มฝ่ายขวาหลายกลุ่มร่วมมือกันก่อการสังหารหมู่นักศึกษาประชาชน ที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ใจกลางพระนคร จนทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 39 คน และบาดเจ็บ 145 คน การก่อการสังหารครั้งนี้ได้กลายเป็นข่าวแพร่ไปทั่วโลก แต่ที่น่าประหลาดใจที่สุดก็คือ การก่อกรณีนองเลือดครั้งนี้ ไม่มีการจับกุมฆาตกรผู้ก่อการสังหารเลยแม้แต่คนเดียว ในทางตรงข้ามนักศึกษาประชาชนที่เหลือรอดจากการถูกสังหารจำนวน 3,094 คน กลับถูกจับกุมทั้งหมดภายในวันนั้นเอง และถึงแม้ว่าในระยะต่อมา ผู้ถูกจับกุมจะได้รับการประกันตัวออกมาเป็นส่วนใหญ่ แต่สุดท้ายก็ยังมีเหลืออีก 27 คน ถูกอายัดตัวเพื่อดำเนินคดี เป็นชาย 23 คน และหญิง 4 คน จนท้ายที่สุด จะเหลือ 19 คน ซึ่งตกเป็น[[จำเลย]] ถูกคุมขังและดำเนินคดีอยู่เกือบ 2 ปีจึงจะได้รับการปล่อยตัว ส่วนผู้ก่อการสังหารซึ่งควรจะเป็นจำเลยตัวจริงนั้นไม่มีรัฐบาลหรือผู้กุมอำนาจครั้งไหนกล่าวถึงอีกเลย แม้กระทั่ง [[พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] [[นายกรัฐมนตรี]]สมัยที่ปล่อยผู้ต้องหา 6 ตุลาฯ ทั้ง 19 คนนี้ก็ได้กล่าวว่า “แล้วก็ให้แล้วกันไป ลืมมันเสียเถิดนะ” เหมือนกับว่าจะให้ลืมกรณีฆาตกรรมดังกล่าวเสีย มิให้กล่าวถึงคนร้ายในกรณีนี้อีก | วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้นเป็นวันที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่า ได้เกิดกรณีนองเลือดครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เมื่อเจ้าหน้าที่[[รัฐบาล]]และกลุ่มฝ่ายขวาหลายกลุ่มร่วมมือกันก่อการสังหารหมู่นักศึกษาประชาชน ที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ใจกลางพระนคร จนทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 39 คน และบาดเจ็บ 145 คน การก่อการสังหารครั้งนี้ได้กลายเป็นข่าวแพร่ไปทั่วโลก แต่ที่น่าประหลาดใจที่สุดก็คือ การก่อกรณีนองเลือดครั้งนี้ ไม่มีการจับกุมฆาตกรผู้ก่อการสังหารเลยแม้แต่คนเดียว ในทางตรงข้ามนักศึกษาประชาชนที่เหลือรอดจากการถูกสังหารจำนวน 3,094 คน กลับถูกจับกุมทั้งหมดภายในวันนั้นเอง และถึงแม้ว่าในระยะต่อมา ผู้ถูกจับกุมจะได้รับการประกันตัวออกมาเป็นส่วนใหญ่ แต่สุดท้ายก็ยังมีเหลืออีก 27 คน ถูกอายัดตัวเพื่อดำเนินคดี เป็นชาย 23 คน และหญิง 4 คน จนท้ายที่สุด จะเหลือ 19 คน ซึ่งตกเป็น[[จำเลย]] ถูกคุมขังและดำเนินคดีอยู่เกือบ 2 ปีจึงจะได้รับการปล่อยตัว ส่วนผู้ก่อการสังหารซึ่งควรจะเป็นจำเลยตัวจริงนั้นไม่มีรัฐบาลหรือผู้กุมอำนาจครั้งไหนกล่าวถึงอีกเลย แม้กระทั่ง [[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์|พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] [[นายกรัฐมนตรี]]สมัยที่ปล่อยผู้ต้องหา 6 ตุลาฯ ทั้ง 19 คนนี้ก็ได้กล่าวว่า “แล้วก็ให้แล้วกันไป ลืมมันเสียเถิดนะ” เหมือนกับว่าจะให้ลืมกรณีฆาตกรรมดังกล่าวเสีย มิให้กล่าวถึงคนร้ายในกรณีนี้อีก | ||
เงื่อนงำของการสังหารโหดนี้ได้รับการคลี่คลายในตัวเองขั้นหนึ่งในเย็นวันนั้นเอง เมื่อคณะทหารกลุ่มหนึ่งในนามของ [[ | เงื่อนงำของการสังหารโหดนี้ได้รับการคลี่คลายในตัวเองขั้นหนึ่งในเย็นวันนั้นเอง เมื่อคณะทหารกลุ่มหนึ่งในนามของ “[[คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน]]” ได้กระทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดอำนาจล้มเลิก[[การปกครองในระบอบประชาธิปไตย]] ล้มรัฐบาลที่ได้มาจาก[[การเลือกตั้ง]]ตามวิถีทาง[[รัฐสภา]]และฟื้น[[ระบอบเผด็จการ]]ขวาจัดขึ้นมาปกครองประเทศแทน ถ้าหากว่าการสังหารหมู่เมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลาคม คือการก่อ[[อาชญากรรม]]ต่อนักศึกษาผู้รักความเป็นธรรมแล้ว การรัฐประหารเมื่อเย็นวันที่ 6 ตุลาคมก็คือ การก่ออาชญากรรมต่อประเทศชาติ เพราะเป็นการทำลายสิทธิประชาธิปไตยของประชาชนทั้งชาติ ที่ได้มาจากการเสียสละเลือดเนื้อและชีวิตของวีรชน [[14 ตุลาคม พ.ศ.2516]] เมื่อโยงการรัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ครั้งนี้เข้ากับการสังหารโหดที่เกิดขึ้นในวันเดียวกัน จะทำให้มองเห็นภาพการเคลื่อนไหวของพลังปฏิกิริยาที่ร่วมมือกันก่ออาชญากรรมได้ชัดเจนขึ้น | ||
เป็นไปไม่ได้ที่จะเข้าใจกรณี 6 ตุลาคม 2519 ได้กระจ่างโดยไม่ตอบคำถามว่า กรณี 6 ตุลาฯคม พ.ศ.2519 เกิดขึ้นได้อย่างไร ซึ่งก่อนอื่นใดต้องเริ่มต้นจากกรณี 14 ตุลาคม 2516 นับเป็นครั้งแรกที่นักศึกษาและประชาชนที่ปราศจากอาวุธ และไม่เคยมีส่วนร่วมทางการเมือง ได้ลุกฮือขึ้นสู้ต่อสู้ จนกระทั่งสามารถโค่นรัฐบาลเผด็จการ ที่นำโดย[[สถาบันทหาร]]และระบบราชการลงได้ หลังจากที่ระบอบนี้ครอบงำการเมืองไทยอยู่นานถึง 16 ปีนับตั้งแต่การยึดอำนาจของ[[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2501 การเปลี่ยนแปลงเริ่มตั้งแต่เมื่อเกิดความรุนแรงในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม จากการเกิดเหตุปะทะของนักศึกษาประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจทหาร จากนั้นการต่อสู้ของฝ่ายประชาชนลุกลาม จนทำให้รัฐบาลไม่อาจควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ ในที่สุด [[ถนอม กิตติขจร|จอมพลถนอม กิตติขจร]] ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลาเย็นวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 นั้นเอง จากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ได้ประกาศตั้ง[[สัญญา ธรรมศักดิ์|นายสัญญา ธรรมศักดิ์]] อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นนายกรัฐมนตรี เหตุการณ์จึงได้กลับคืนสู่สภาพปกติในวันที่ 15 ตุลาคม หลังจากที่อดีตผู้นำ 3 คน คือ จอมพลถนอม กิตติขจร [[ประภาส จารุเสถียร|จอมพลประภาส จารุเสถียร]] และ [[ณรงค์ กิตติขจร|พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร]] ได้เดินทางหนีออกจากประเทศ | เป็นไปไม่ได้ที่จะเข้าใจกรณี 6 ตุลาคม 2519 ได้กระจ่างโดยไม่ตอบคำถามว่า กรณี 6 ตุลาฯคม พ.ศ.2519 เกิดขึ้นได้อย่างไร ซึ่งก่อนอื่นใดต้องเริ่มต้นจากกรณี 14 ตุลาคม 2516 นับเป็นครั้งแรกที่นักศึกษาและประชาชนที่ปราศจากอาวุธ และไม่เคยมีส่วนร่วมทางการเมือง ได้ลุกฮือขึ้นสู้ต่อสู้ จนกระทั่งสามารถโค่นรัฐบาลเผด็จการ ที่นำโดย[[สถาบันทหาร]]และระบบราชการลงได้ หลังจากที่ระบอบนี้ครอบงำการเมืองไทยอยู่นานถึง 16 ปีนับตั้งแต่การยึดอำนาจของ[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2501 การเปลี่ยนแปลงเริ่มตั้งแต่เมื่อเกิดความรุนแรงในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม จากการเกิดเหตุปะทะของนักศึกษาประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจทหาร จากนั้นการต่อสู้ของฝ่ายประชาชนลุกลาม จนทำให้รัฐบาลไม่อาจควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ ในที่สุด [[ถนอม กิตติขจร|จอมพลถนอม กิตติขจร]] ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลาเย็นวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 นั้นเอง จากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ได้ประกาศตั้ง[[สัญญา ธรรมศักดิ์|นายสัญญา ธรรมศักดิ์]] อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นนายกรัฐมนตรี เหตุการณ์จึงได้กลับคืนสู่สภาพปกติในวันที่ 15 ตุลาคม หลังจากที่อดีตผู้นำ 3 คน คือ จอมพลถนอม กิตติขจร [[ประภาส จารุเสถียร|จอมพลประภาส จารุเสถียร]] และ [[ณรงค์ กิตติขจร|พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร]] ได้เดินทางหนีออกจากประเทศ | ||
แม้ว่าจะประกาศเป็นรัฐบาลรักษาการณ์ แต่นายสัญญา ธรรมศักดิ์ได้เปลี่ยนภาพลักษณ์ของการบริหารประเทศไปไม่น้อย จากการตั้งคณะรัฐบาลที่มี[[พลเรือน]]เป็นส่วนข้างมาก คือ 19 คน โดยมีตำรวจและทหารเพียง 5 คน ซึ่งส่วนมากดำรงตำแหน่งในส่วน[[กลาโหม]]และ[[มหาดไทย]] ซึ่งเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การรัฐประหารเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2494 เป็นต้นมา ที่คณะบริหารมีสัดส่วนของพลเรือนมากเช่นนี้ จากนั้น [[คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติราชการ (กตป.)]]ซึ่งแต่เดิม มี พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นเลขาธิการ ถูกยกเลิก นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้ประกาศว่าจะปกครองประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย จะให้เสรีภาพแก่ประชาชนอย่างเต็มที่ พยายามที่จะแสดงความใกล้ชิดกับประชาชนโดยการออกรายการโทรทัศน์ที่ชื่อว่า “พบประชาชน” เป็นระยะๆ เพื่อแสดงให้เห็นว่า รัฐบาลมิได้บริหารประเทศโดยพลการดังที่ผ่านมา นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรี ก็ยังให้สัญญาที่จะแก้ปัญหาของประเทศในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาเงินเฟ้อ ปัญหาความเดือดร้อนของชาวนา ปัญหาความยากจนของประชาชน เป็นต้น และสัญญาว่าจะดำเนินการให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยโดยเร็ว และให้มีการสอบสวนคดีสังหารหมู่ในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ส่วน [[พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา]] ผู้บัญชาการทหารบก ก็ได้เสนอเรื่องให้มีการยกเลิกการ[[พระราชทานยศ]]จอมพลแก่นายทหาร ทำให้ยศจอมพลสิ้นสุดลง | แม้ว่าจะประกาศเป็นรัฐบาลรักษาการณ์ แต่นายสัญญา ธรรมศักดิ์ได้เปลี่ยนภาพลักษณ์ของการบริหารประเทศไปไม่น้อย จากการตั้งคณะรัฐบาลที่มี[[พลเรือน]]เป็นส่วนข้างมาก คือ 19 คน โดยมีตำรวจและทหารเพียง 5 คน ซึ่งส่วนมากดำรงตำแหน่งในส่วน[[กลาโหม]]และ[[มหาดไทย]] ซึ่งเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การรัฐประหารเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2494 เป็นต้นมา ที่คณะบริหารมีสัดส่วนของพลเรือนมากเช่นนี้ จากนั้น [[คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติราชการ (กตป.)]]ซึ่งแต่เดิม มี พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นเลขาธิการ ถูกยกเลิก นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้ประกาศว่าจะปกครองประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย จะให้เสรีภาพแก่ประชาชนอย่างเต็มที่ พยายามที่จะแสดงความใกล้ชิดกับประชาชนโดยการออกรายการโทรทัศน์ที่ชื่อว่า “พบประชาชน” เป็นระยะๆ เพื่อแสดงให้เห็นว่า รัฐบาลมิได้บริหารประเทศโดยพลการดังที่ผ่านมา นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรี ก็ยังให้สัญญาที่จะแก้ปัญหาของประเทศในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาเงินเฟ้อ ปัญหาความเดือดร้อนของชาวนา ปัญหาความยากจนของประชาชน เป็นต้น และสัญญาว่าจะดำเนินการให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยโดยเร็ว และให้มีการสอบสวนคดีสังหารหมู่ในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ส่วน [[กฤษณ์ สีวะรา|พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา]] ผู้บัญชาการทหารบก ก็ได้เสนอเรื่องให้มีการยกเลิกการ[[พระราชทานยศ]]จอมพลแก่นายทหาร ทำให้ยศจอมพลสิ้นสุดลง | ||
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลก็ประสบวิกฤตอย่างหนัก เพราะปัญหาหลายด้านรุมเร้า ส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น อันเนื่องจากวิกฤตการณ์น้ำมันในตลาดโลก ซึ่งเกิดขึ้นใน พ.ศ.2517 ทำให้รัฐบาลต้องขึ้นราคาน้ำมันภายในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ทำให้ประชาชนเดือดร้อนมากขึ้น นอกจากนี้ก็คือการเผชิญกับกระแสการตื่นตัวของประชาชน ทำให้เกิดการประท้วงจากประชาชนส่วนต่างๆ ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม จนรัฐบาลไม่อาจจะแก้ปัญหาได้ [[การควบคุมเสถียรภาพทางการเมือง]]ก็ทำได้ยาก ดังนั้น ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2517 นายกรัฐมนตรี สัญญา ธรรมศักดิ์ จึงลาออกจากตำแหน่ง แต่ก็ได้รับการแต่งตั้งกลับมาใหม่ และบริหารประเทศต่อมาอีก 9 เดือน หลังจากที่ได้มีการพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2517 และให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2518 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงมากที่สุด ดังนั้น ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคจึงได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ และได้มีการตั้งรัฐบาล 2 พรรคระหว่างพรรคประชาธิปัตย์และ[[เกษตรสังคม]] แต่ปรากฏว่าในวันแถลงนโยบาย สภาลงมติไม่รับรองนโยบายรัฐบาล [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] จึงต้องลาออกจากตำแหน่ง และ [[ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้าพรรคกิจสังคม ได้รวบรวมเสียงพรรคต่างๆ 12 พรรคมาสนับสนุนจนมากเพียงพอ จึงได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้แถลงนโยบายหลักคือ การผันเงินสู่ชนบท สงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยในกรุงเทพฯ ให้ขึ้นรถเมล์ฟรี รักษาพยาบาลฟรี และวางนโยบายต่างประเทศให้สหรัฐถอนทหารจากประเทศไทย รัฐบาลชุดนี้ได้รับการรับรองจาก[[สภาผู้แทนราษฎร]]เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2518 | อย่างไรก็ตาม รัฐบาลก็ประสบวิกฤตอย่างหนัก เพราะปัญหาหลายด้านรุมเร้า ส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น อันเนื่องจากวิกฤตการณ์น้ำมันในตลาดโลก ซึ่งเกิดขึ้นใน พ.ศ.2517 ทำให้รัฐบาลต้องขึ้นราคาน้ำมันภายในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ทำให้ประชาชนเดือดร้อนมากขึ้น นอกจากนี้ก็คือการเผชิญกับกระแสการตื่นตัวของประชาชน ทำให้เกิดการประท้วงจากประชาชนส่วนต่างๆ ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม จนรัฐบาลไม่อาจจะแก้ปัญหาได้ [[การควบคุมเสถียรภาพทางการเมือง]]ก็ทำได้ยาก ดังนั้น ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2517 นายกรัฐมนตรี สัญญา ธรรมศักดิ์ จึงลาออกจากตำแหน่ง แต่ก็ได้รับการแต่งตั้งกลับมาใหม่ และบริหารประเทศต่อมาอีก 9 เดือน หลังจากที่ได้มีการพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2517 และให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2518 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงมากที่สุด ดังนั้น ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคจึงได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ และได้มีการตั้งรัฐบาล 2 พรรคระหว่างพรรคประชาธิปัตย์และ[[เกษตรสังคม]] แต่ปรากฏว่าในวันแถลงนโยบาย สภาลงมติไม่รับรองนโยบายรัฐบาล [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] จึงต้องลาออกจากตำแหน่ง และ [[ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้าพรรคกิจสังคม ได้รวบรวมเสียงพรรคต่างๆ 12 พรรคมาสนับสนุนจนมากเพียงพอ จึงได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้แถลงนโยบายหลักคือ การผันเงินสู่ชนบท สงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยในกรุงเทพฯ ให้ขึ้นรถเมล์ฟรี รักษาพยาบาลฟรี และวางนโยบายต่างประเทศให้สหรัฐถอนทหารจากประเทศไทย รัฐบาลชุดนี้ได้รับการรับรองจาก[[สภาผู้แทนราษฎร]]เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2518 | ||
รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช บริหารประเทศต่อจากนั้นมาได้นาน 10 เดือน ก็เกิดวิกฤตการณ์อย่างหนักในคณะรัฐบาล หลังจากที่นายกรัฐมนตรีพยายามจะดึงพรรคเกษตรสังคมมาเข้าร่วมรัฐบาล แต่กลับก่อให้เกิดความแตกแยกอย่างมากในหมู่พรรคร่วมรัฐบาลพรรคอื่น ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2519 และประกาศให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2519 ซึ่งในการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคประชาธิปัตย์ได้รับชัยชนะด้วยเสียงมากที่สุด แม้กระทั่ง ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ก็พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ดังนั้น ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ จึงกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และตั้งรัฐบาลผสม 4 พรรค คือ พรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำร่วมกับ[[พรรคชาติไทย]] ที่นำโดย [[พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร]] [[พรรคธรรมสังคม]] นำโดย [[พล.อ.อ.ทวี จุลละทรัพย์]] และ [[สังคมชาตินิยม|พรรคสังคมชาตินิยม]] นำโดย [[นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์]] รัฐบาลชุดนี้ บริหารประเทศมาจนถึงเมื่อเกิดเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 จึงสิ้นสภาพอย่างเป็นทางการ ด้วยการรัฐประหารของฝ่ายทหาร | รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช บริหารประเทศต่อจากนั้นมาได้นาน 10 เดือน ก็เกิดวิกฤตการณ์อย่างหนักในคณะรัฐบาล หลังจากที่นายกรัฐมนตรีพยายามจะดึงพรรคเกษตรสังคมมาเข้าร่วมรัฐบาล แต่กลับก่อให้เกิดความแตกแยกอย่างมากในหมู่พรรคร่วมรัฐบาลพรรคอื่น ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2519 และประกาศให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2519 ซึ่งในการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคประชาธิปัตย์ได้รับชัยชนะด้วยเสียงมากที่สุด แม้กระทั่ง ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ก็พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ดังนั้น ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ จึงกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และตั้งรัฐบาลผสม 4 พรรค คือ พรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำร่วมกับ[[ชาติไทย|พรรคชาติไทย]] ที่นำโดย [[ประมาณ อดิเรกสาร|พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร]] [[พรรคธรรมสังคม]] นำโดย [[ทวี จุลละทรัพย์|พล.อ.อ.ทวี จุลละทรัพย์]] และ [[สังคมชาตินิยม|พรรคสังคมชาตินิยม]] นำโดย [[ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์|นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์]] รัฐบาลชุดนี้ บริหารประเทศมาจนถึงเมื่อเกิดเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 จึงสิ้นสภาพอย่างเป็นทางการ ด้วยการรัฐประหารของฝ่ายทหาร | ||
นอกจากเงื่อนไขทางการเมืองที่กล่าวมา ซึ่งเป็นบริบทพื้นฐานที่จะทำเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 แล้ว ในช่วงกรณี 14 ตุลาคม 2516 ยังมีปัจจัยอื่นๆ ส่วนสำคัญต่อการเกิดขึ้นของกรณีนองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ด้วย ได้แก่ การเฟื่องฟูของอุดมการณ์สังคมนิยม, การต่อสู้ของกรรมกร, การเคลื่อนไหวของชาวนา, การเคลื่อนไหวของประชาชนในวงการอื่นๆ ที่ทุกข์ยากเดือดร้อนไม่ว่าจะเป็นพ่อค้าแม่ค้าหาบเร่แผงลอย ประชาชนในสลัม กระเป๋ารถเมล์และพนักงานขับรถ พนักงานรถบริษัทขนส่ง (บขส.) พ่อค้าลอตเตอรี่รายย่อยและคนพิการ พนักงานไทยการ์ด กลุ่มชาวประมง และประชาชนผู้เดือดร้อนกลุ่มอื่นๆ ก็เกิดความตื่นตัวที่จะรู้จักสิทธิของตนเอง ในการร้องเรียนและต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น ที่สำคัญที่สุดก็คือการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา, อิทธิพลของ[[แนวคิดสังคมนิยม]] ทำให้นักศึกษากลายเป็นแนวหน้าในการวิพากษ์วัฒนธรรมเก่าด้วยการเสนอคำขวัญ “ศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน” มาหักล้างแนวทางศิลปะแบบเก่า โดยการวิพากษ์ว่า แนวทางศิลปวัฒนธรรมที่ดำรงอยู่นั้น เป็นศิลปะที่มุ่งรับใช้[[ชนชั้นปกครองศักดินา]]และ[[ทุนนิยม]] เพื่อจะมอมเมาให้ประชาชนพร่ามัวอยู่กับความล้าหลัง และยอมรับการครอบงำของชนชั้นปกครอง ศิลปะแนวใหม่จึงไม่ควรที่จะเป็นเช่นนั้น หากแต่จะต้องเป็นศิลปะที่รับใช้ประชาชน และการเคลื่อนไหวของขบวนการทางสังคมอื่นๆ เช่น [[ขบวนการสิทธิสตรี]] และ [[ขบวนการสภาพแวดล้อม]] | นอกจากเงื่อนไขทางการเมืองที่กล่าวมา ซึ่งเป็นบริบทพื้นฐานที่จะทำเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 แล้ว ในช่วงกรณี 14 ตุลาคม 2516 ยังมีปัจจัยอื่นๆ ส่วนสำคัญต่อการเกิดขึ้นของกรณีนองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ด้วย ได้แก่ การเฟื่องฟูของอุดมการณ์สังคมนิยม, การต่อสู้ของกรรมกร, การเคลื่อนไหวของชาวนา, การเคลื่อนไหวของประชาชนในวงการอื่นๆ ที่ทุกข์ยากเดือดร้อนไม่ว่าจะเป็นพ่อค้าแม่ค้าหาบเร่แผงลอย ประชาชนในสลัม กระเป๋ารถเมล์และพนักงานขับรถ พนักงานรถบริษัทขนส่ง (บขส.) พ่อค้าลอตเตอรี่รายย่อยและคนพิการ พนักงานไทยการ์ด กลุ่มชาวประมง และประชาชนผู้เดือดร้อนกลุ่มอื่นๆ ก็เกิดความตื่นตัวที่จะรู้จักสิทธิของตนเอง ในการร้องเรียนและต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น ที่สำคัญที่สุดก็คือการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา, อิทธิพลของ[[แนวคิดสังคมนิยม]] ทำให้นักศึกษากลายเป็นแนวหน้าในการวิพากษ์วัฒนธรรมเก่าด้วยการเสนอคำขวัญ “ศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน” มาหักล้างแนวทางศิลปะแบบเก่า โดยการวิพากษ์ว่า แนวทางศิลปวัฒนธรรมที่ดำรงอยู่นั้น เป็นศิลปะที่มุ่งรับใช้[[ชนชั้นปกครองศักดินา]]และ[[ทุนนิยม]] เพื่อจะมอมเมาให้ประชาชนพร่ามัวอยู่กับความล้าหลัง และยอมรับการครอบงำของชนชั้นปกครอง ศิลปะแนวใหม่จึงไม่ควรที่จะเป็นเช่นนั้น หากแต่จะต้องเป็นศิลปะที่รับใช้ประชาชน และการเคลื่อนไหวของขบวนการทางสังคมอื่นๆ เช่น [[ขบวนการสิทธิสตรี]] และ [[ขบวนการสภาพแวดล้อม]] | ||
บรรทัดที่ 38: | บรรทัดที่ 38: | ||
ต่อมา ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2519 สมาชิกสภาก็ได้เสนอให้มีการประชุมในเรื่องการกลับมาของจอมพลถนอมโดยตรง และได้ลงมติคัดค้านการกลับมาของจอมพลถนอม ให้รัฐบาลดำเนินการเรื่องนี้โดยทันที ปรากฏว่า นายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ไม่อาจจะจัดการอะไรได้ จึงได้ลาออกจากตำแหน่งกลางสภาผู้แทนราษฎร และในเวลา 21.30 น.วันเดียวกันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ[[สมเด็จพระบรมราชินี]] ก็เสด็จไปที่วัดบวรนิเวศเพื่อสนทนาธรรมกับพระญาณสังวร ซึ่งเคยเป็นพระพี่เลี้ยงเมื่อพระองค์ทรงผนวช ในระหว่างการเยือน [[คุณหญิงเกษหลง สนิทวงศ์]] [[นางสนองพระโอษฐ์]] ได้แถลงว่า สมเด็จพระราชินีให้มาบอกว่า ได้ทราบว่าจะมีคนใจร้ายจะมาเผาวัดบวรนิเวศ จึงทรงมีความห่วงใยอย่างมาก “ขอให้ประชาชนช่วยกันดูแลป้องกัน อย่าให้ผู้ใจร้ายมาทำลายวัด” | ต่อมา ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2519 สมาชิกสภาก็ได้เสนอให้มีการประชุมในเรื่องการกลับมาของจอมพลถนอมโดยตรง และได้ลงมติคัดค้านการกลับมาของจอมพลถนอม ให้รัฐบาลดำเนินการเรื่องนี้โดยทันที ปรากฏว่า นายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ไม่อาจจะจัดการอะไรได้ จึงได้ลาออกจากตำแหน่งกลางสภาผู้แทนราษฎร และในเวลา 21.30 น.วันเดียวกันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ[[สมเด็จพระบรมราชินี]] ก็เสด็จไปที่วัดบวรนิเวศเพื่อสนทนาธรรมกับพระญาณสังวร ซึ่งเคยเป็นพระพี่เลี้ยงเมื่อพระองค์ทรงผนวช ในระหว่างการเยือน [[คุณหญิงเกษหลง สนิทวงศ์]] [[นางสนองพระโอษฐ์]] ได้แถลงว่า สมเด็จพระราชินีให้มาบอกว่า ได้ทราบว่าจะมีคนใจร้ายจะมาเผาวัดบวรนิเวศ จึงทรงมีความห่วงใยอย่างมาก “ขอให้ประชาชนช่วยกันดูแลป้องกัน อย่าให้ผู้ใจร้ายมาทำลายวัด” | ||
วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2519 [[นายสมัคร สุนทรเวช]][[ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย]] ได้แถลงว่า “การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จวัดบวรฯกลางดึก แสดงให้เห็นว่า พระองค์ต้องการให้พระถนอม อยู่ในประเทศต่อไป” อย่างไรก็ตามในคืนวันนั้น ขบวนการนักศึกษาได้ออกติดโปสเตอร์ต่อต้านจอมพลถนอมทั่วประเทศ ปรากฏว่านิสิตจุฬาลงกรณ์ที่ออกติดโปสเตอร์ถูกชายฉกรรจ์จำนวนหนึ่งดักทำร้าย และนำเอาโปสเตอร์ที่จะติดนั้นไปทำลาย นอกจากนี้ [[นายชุมพร ทุมไมย]] และ [[นายวิชัย เกษศรีพงศา]] พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นครปฐม และเป็นสมาชิกแนวร่วมประชาชน ได้ออกติดโปสเตอร์ต่อต้านจอมพลถนอม ถูกคนร้ายฆาตกรรมแล้วนำไปแขวนคอที่ประตูทางเข้าที่ดินจัดสรรบริเวณหมู่บ้าน 2 ตำบลพระประโทน ปรากฏจากการชันสูตรว่าทั้งสองคนถูกซ้อมและฆ่าอย่างทารุณก่อนที่จะนำศพไปแขวน สันนิษฐานว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจนครปฐมเป็นผู้ลงมือ ซึ่งกรณีนี้ ได้สร้างความสะเทือนใจอย่างมาก ศูนย์นิสิตจึงได้ตั้งข้อเรียกร้องเพิ่มต่อรัฐบาล ให้จับคนร้ายมาลงโทษโดยเร็ว ทางฝ่ายรัฐบาลได้ตั้งให้ [[พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ]] เป็นผู้ควบคุมคดี | วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2519 [[สมัคร สุนทรเวช|นายสมัคร สุนทรเวช]][[ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย]] ได้แถลงว่า “การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จวัดบวรฯกลางดึก แสดงให้เห็นว่า พระองค์ต้องการให้พระถนอม อยู่ในประเทศต่อไป” อย่างไรก็ตามในคืนวันนั้น ขบวนการนักศึกษาได้ออกติดโปสเตอร์ต่อต้านจอมพลถนอมทั่วประเทศ ปรากฏว่านิสิตจุฬาลงกรณ์ที่ออกติดโปสเตอร์ถูกชายฉกรรจ์จำนวนหนึ่งดักทำร้าย และนำเอาโปสเตอร์ที่จะติดนั้นไปทำลาย นอกจากนี้ [[นายชุมพร ทุมไมย]] และ [[นายวิชัย เกษศรีพงศา]] พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นครปฐม และเป็นสมาชิกแนวร่วมประชาชน ได้ออกติดโปสเตอร์ต่อต้านจอมพลถนอม ถูกคนร้ายฆาตกรรมแล้วนำไปแขวนคอที่ประตูทางเข้าที่ดินจัดสรรบริเวณหมู่บ้าน 2 ตำบลพระประโทน ปรากฏจากการชันสูตรว่าทั้งสองคนถูกซ้อมและฆ่าอย่างทารุณก่อนที่จะนำศพไปแขวน สันนิษฐานว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจนครปฐมเป็นผู้ลงมือ ซึ่งกรณีนี้ ได้สร้างความสะเทือนใจอย่างมาก ศูนย์นิสิตจึงได้ตั้งข้อเรียกร้องเพิ่มต่อรัฐบาล ให้จับคนร้ายมาลงโทษโดยเร็ว ทางฝ่ายรัฐบาลได้ตั้งให้ [[พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ]] เป็นผู้ควบคุมคดี | ||
วันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2519 [[กิตติวุฒโฑภิกขุ]] ก็ได้แถลงย้ำว่า “การบวชของพระถนอม ครั้งนี้ ได้กราบบังคมทูลขออนุญาตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมทั้งการขอเข้ามาในเมืองไทยด้วย ดังนั้น พระถนอมจึงเป็นผู้บริสุทธิ์” ต่อมา ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2519 [[นายส่งสุข ภัคเกษม]] ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ฝ่ายขวา ได้ออกมาแถลงข่าวใส่ร้ายป้ายสีว่า กลุ่มฝ่ายซ้ายในพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งหมายถึงกลุ่มของ[[นายดำรงค์ ลัทธพิพัฒน์]] และ [[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] ได้จ่ายเงินให้แก่ศูนย์นิสิต 8 แสนบาท โดยผ่าน[[นายสุธรรม แสงประทุม]] ในกรณีเคลื่อนไหวต่อต้านจอมพลประภาส จารุเสถียร เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา | |||
การชุมนุมคัดค้านจอมพลถนอมของขบวนการนักศึกษา ได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน ที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และได้ยื่นคำขาดให้รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช แก้ไขปัญหาเรื่องจอมพลถนอม กิตติขจร และให้จับตัวคนร้ายที่ก่อการฆาตกรรม 2 ช่างไฟฟ้านครปฐมมาลงโทษ และขอให้รัฐบาลจัดกำลังรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ชุมนุม ต่อมาศูนย์นิสิตได้ใช้มาตรการรุก คือขอให้รัฐบาลตอบภายใน 3 วัน | การชุมนุมคัดค้านจอมพลถนอมของขบวนการนักศึกษา ได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน ที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และได้ยื่นคำขาดให้รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช แก้ไขปัญหาเรื่องจอมพลถนอม กิตติขจร และให้จับตัวคนร้ายที่ก่อการฆาตกรรม 2 ช่างไฟฟ้านครปฐมมาลงโทษ และขอให้รัฐบาลจัดกำลังรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ชุมนุม ต่อมาศูนย์นิสิตได้ใช้มาตรการรุก คือขอให้รัฐบาลตอบภายใน 3 วัน | ||
บรรทัดที่ 50: | บรรทัดที่ 51: | ||
ในเวลากลางวันของวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้นเอง กลุ่มอิสระ 21 กลุ่มของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รณรงค์ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์งดสอบ เพื่อร่วมการประท้วงขับไล่จอมพลถนอม ในการรณรงค์งดสอบนี้ ชมรมนาฏศิลป์และการละคร ได้จัดการแสดงละครเรียกร้องให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการเข้าร่วมการต่อสู้ โดยมีฉากหนึ่งที่เป็นภาพสะท้อน ถึงช่างไฟฟ้าที่ถูกสังหารที่นครปฐม ปรากฏว่าการรณรงค์ประสบผล จนทำให้มหาวิทยาลัยต้องประกาศเลื่อนการสอบออกไปอย่างไม่มีกำหนด ต่อมาเวลาตั้งแต่ 15.30 น. ได้มีการชุมนุมประชาชนที่สนามหลวง จนกระทั่งเกิดฝนตก และมีแนวโน้มการคุกคามของกลุ่มฝ่ายขวา ในเวลา 19.30 น. ดังนั้นกลุ่มนักศึกษาที่นำการชุมนุม จึงมีมติให้ย้ายเวทีเข้ามาชุมนุมในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อความสะดวกในการรักษาความปลอดภัย และการประท้วงก็ข้ามคืนมาจนถึงวันที่ 5 ตุลาคม ได้มีการชุมนุมประท้วงจอมพลถนอม เกิดขึ้นในอีกหลายจังหวัด เช่น ที่เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา สงขลา เป็นต้น | ในเวลากลางวันของวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้นเอง กลุ่มอิสระ 21 กลุ่มของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รณรงค์ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์งดสอบ เพื่อร่วมการประท้วงขับไล่จอมพลถนอม ในการรณรงค์งดสอบนี้ ชมรมนาฏศิลป์และการละคร ได้จัดการแสดงละครเรียกร้องให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการเข้าร่วมการต่อสู้ โดยมีฉากหนึ่งที่เป็นภาพสะท้อน ถึงช่างไฟฟ้าที่ถูกสังหารที่นครปฐม ปรากฏว่าการรณรงค์ประสบผล จนทำให้มหาวิทยาลัยต้องประกาศเลื่อนการสอบออกไปอย่างไม่มีกำหนด ต่อมาเวลาตั้งแต่ 15.30 น. ได้มีการชุมนุมประชาชนที่สนามหลวง จนกระทั่งเกิดฝนตก และมีแนวโน้มการคุกคามของกลุ่มฝ่ายขวา ในเวลา 19.30 น. ดังนั้นกลุ่มนักศึกษาที่นำการชุมนุม จึงมีมติให้ย้ายเวทีเข้ามาชุมนุมในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อความสะดวกในการรักษาความปลอดภัย และการประท้วงก็ข้ามคืนมาจนถึงวันที่ 5 ตุลาคม ได้มีการชุมนุมประท้วงจอมพลถนอม เกิดขึ้นในอีกหลายจังหวัด เช่น ที่เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา สงขลา เป็นต้น | ||
หลังจากนี้[[สถานีวิทยุทหาร]]ทุกแห่งก็ออกข่าวเกี่ยวกับกรณีหมิ่น[[พระบรมเดชานุภาพ]]นี้ และระดม”ผู้รักชาติ” จำนวนนับพันไปชุมนุมที่ลานพระบรมรูปทรงม้าเพื่อต่อต้านกรณีดังกล่าว โดยเฉพาะกลุ่มพลังฝ่ายขวาเช่น กระทิงแดง ลูกเสือชาวบ้าน และนวพล จากการอ้างเอาเรื่องการหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์นี้เอง กลุ่มปฏิกิริยาจึงสามารถระดมประชาชนที่โกรธแค้นเป็นจำนวนมากมาร่วมการชุมนุมได้ โดยประเด็นที่วิทยุยานเกราะเรียกร้อง ก็คือ ให้ทำลาย พวก”คอมมิวนิสต์”ที่อยู่ในธรรมศาสตร์ และประท้วงรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ที่ตั้งรัฐบาลใหม่ โดยไม่ให้ นายสมัคร สุนทรเวช และ [[นายสมบุญ ศิริธร]] เข้าร่วมในคณะรัฐมนตรี | หลังจากนี้[[สถานีวิทยุทหาร]]ทุกแห่งก็ออกข่าวเกี่ยวกับกรณีหมิ่น[[พระบรมเดชานุภาพ]]นี้ และระดม”ผู้รักชาติ” จำนวนนับพันไปชุมนุมที่ลานพระบรมรูปทรงม้าเพื่อต่อต้านกรณีดังกล่าว โดยเฉพาะกลุ่มพลังฝ่ายขวาเช่น กระทิงแดง ลูกเสือชาวบ้าน และนวพล จากการอ้างเอาเรื่องการหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์นี้เอง กลุ่มปฏิกิริยาจึงสามารถระดมประชาชนที่โกรธแค้นเป็นจำนวนมากมาร่วมการชุมนุมได้ โดยประเด็นที่วิทยุยานเกราะเรียกร้อง ก็คือ ให้ทำลาย พวก”คอมมิวนิสต์”ที่อยู่ในธรรมศาสตร์ และประท้วงรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ที่ตั้งรัฐบาลใหม่ โดยไม่ให้ นายสมัคร สุนทรเวช และ [[นายสมบุญ ศิริธร]] เข้าร่วมในคณะรัฐมนตรี | ||
เวลาดึกของวันนั้น การชุมนุมของฝ่ายขวา ก็ย้ายสถานที่มายังท้องสนามหลวง ตรงบริเวณฝั่งตรงข้ามธรรมศาสตร์ และได้มีการยั่วยุประชาชนอย่างหนัก ให้เกลียดชังนักศึกษามากยิ่งขึ้น และเช้าวันที่ 6 ตุลาคม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจก็เริ่มยิงอาวุธสงครามใส่ผู้ชุมนุม จากนั้นต่อมา ก็ได้ใช้กองกำลังตำรวจกองปราบ และหน่วยตำวจตระเวนชายแดน นำการกวาดล้างนักศึกษาในมหาวิทยาธรรมศาสตร์ด้วยอาวุธสงครามเต็มอัตรา นี่คือการปราบปรามใหญ่กรณี 6 ตุลาคมนั่นเอง | เวลาดึกของวันนั้น การชุมนุมของฝ่ายขวา ก็ย้ายสถานที่มายังท้องสนามหลวง ตรงบริเวณฝั่งตรงข้ามธรรมศาสตร์ และได้มีการยั่วยุประชาชนอย่างหนัก ให้เกลียดชังนักศึกษามากยิ่งขึ้น และเช้าวันที่ 6 ตุลาคม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจก็เริ่มยิงอาวุธสงครามใส่ผู้ชุมนุม จากนั้นต่อมา ก็ได้ใช้กองกำลังตำรวจกองปราบ และหน่วยตำวจตระเวนชายแดน นำการกวาดล้างนักศึกษาในมหาวิทยาธรรมศาสตร์ด้วยอาวุธสงครามเต็มอัตรา นี่คือการปราบปรามใหญ่กรณี 6 ตุลาคมนั่นเอง | ||
การเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา ได้สั่นคลอนผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยเช่นกัน โดยเฉพาะกรณีการคัดค้านการตั้งฐานทัพในประเทศไทย การต่อต้านการครอบงำทางเศรษฐกิจและการขูดรีดทรัพยากรของสหรัฐ รวมทั้งการเปิดโปงโทษกรรมของอเมริกาในส่วนอื่นๆ ของโลก ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจให้กับสหรัฐอเมริกาอย่างมาก ความจริงแล้วตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2493 หลังการรัฐประหารของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ประเทศไทยและสหรัฐก็มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันมาก สหรัฐได้เริ่มนำเอา[[ระบบอุปถัมภ์เ]]ข้ามาใช้ในประเทศไทย โดยการให้ความช่วยเหลือและค้ำจุนอำนาจของผู้มีอำนาจในประเทศไทย เช่น การที่[[องค์การสืบราชการลับ ซีไอเอ.]] สนับสนุน[[พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์]] และ[[กระทรวงกลาโหมอเมริกา]]สนับสนุนจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้น ในสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร สหรัฐก็ได้ใช้ระบบดังกล่าวค้ำจุนอำนาจเผด็จการของรัฐบาลนั้นไว้เช่นกัน ซึ่งกลายเป็นความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างผู้นำทางการทหารของไทยกับสหรัฐตลอดมา | การเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา ได้สั่นคลอนผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยเช่นกัน โดยเฉพาะกรณีการคัดค้านการตั้งฐานทัพในประเทศไทย การต่อต้านการครอบงำทางเศรษฐกิจและการขูดรีดทรัพยากรของสหรัฐ รวมทั้งการเปิดโปงโทษกรรมของอเมริกาในส่วนอื่นๆ ของโลก ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจให้กับสหรัฐอเมริกาอย่างมาก ความจริงแล้วตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2493 หลังการรัฐประหารของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ประเทศไทยและสหรัฐก็มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันมาก สหรัฐได้เริ่มนำเอา[[ระบบอุปถัมภ์เ]]ข้ามาใช้ในประเทศไทย โดยการให้ความช่วยเหลือและค้ำจุนอำนาจของผู้มีอำนาจในประเทศไทย เช่น การที่[[องค์การสืบราชการลับ ซีไอเอ.]] สนับสนุน[[เผ่า ศรียานนท์|พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์]] และ[[กระทรวงกลาโหมอเมริกา]]สนับสนุนจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้น ในสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร สหรัฐก็ได้ใช้ระบบดังกล่าวค้ำจุนอำนาจเผด็จการของรัฐบาลนั้นไว้เช่นกัน ซึ่งกลายเป็นความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างผู้นำทางการทหารของไทยกับสหรัฐตลอดมา | ||
หลัง 14 ตุลาคม องค์การของอเมริกาเช่น ซีไอเอ. ยังคงมีบทบาทในประเทศไทยอย่างมาก จากการที่[[พลเอกสายหยุด เกิดผล]] ผู้อำนวยการ [[กอ.รมน.]] เคยให้สัมภาษณ์เมื่อ พ.ศ.2517 ยอมรับว่า ซีไอเอ. ยังมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกองกำลังตำรวจตระเวนชายแดน และ[[พลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์]] รองอธิบดีกรมตำรวจก็ให้สัมภาษณ์ว่า ซีไอเอ. กำลังให้ความช่วยเหลือประเทศไทยอย่างจริงจัง และตัวเขาเองยังได้รับรายงานจาก ซีไอเอ. อย่างสม่ำเสมอ แต่ได้กล่าวแก้ต่างว่า ซีไอเอ. เป็นหน่วยงานประชาธิปไตย และเกลียดเผด็จการ และเป็นที่เปิดเผยรู้กันทั่วไปว่า ซีไอเอ. เป็นผู้จ่ายเงินสนับสนุนพลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์เป็นหัวหน้าหน่วยเสือพรานซึ่งไปรบในลาวในระยะก่อนหน้านี้ | หลัง 14 ตุลาคม องค์การของอเมริกาเช่น ซีไอเอ. ยังคงมีบทบาทในประเทศไทยอย่างมาก จากการที่[[พลเอกสายหยุด เกิดผล]] ผู้อำนวยการ [[กอ.รมน.]] เคยให้สัมภาษณ์เมื่อ พ.ศ.2517 ยอมรับว่า ซีไอเอ. ยังมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกองกำลังตำรวจตระเวนชายแดน และ[[พลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์]] รองอธิบดีกรมตำรวจก็ให้สัมภาษณ์ว่า ซีไอเอ. กำลังให้ความช่วยเหลือประเทศไทยอย่างจริงจัง และตัวเขาเองยังได้รับรายงานจาก ซีไอเอ. อย่างสม่ำเสมอ แต่ได้กล่าวแก้ต่างว่า ซีไอเอ. เป็นหน่วยงานประชาธิปไตย และเกลียดเผด็จการ และเป็นที่เปิดเผยรู้กันทั่วไปว่า ซีไอเอ. เป็นผู้จ่ายเงินสนับสนุนพลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์เป็นหัวหน้าหน่วยเสือพรานซึ่งไปรบในลาวในระยะก่อนหน้านี้ | ||
บรรทัดที่ 67: | บรรทัดที่ 69: | ||
ในวันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2518 ก็มีกลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการ ทหาร ตำรวจ นักธุรกิจ และผู้นำกรรมกรฝ่ายขวา ได้นัดประชุมที่[[สโมสรสีลม]] และตั้งกลุ่มที่ชื่อว่า[[ “ขบวนการปฏิรูปแห่งชาติ”]] ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มนี้ ก็คือ [[นายประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์]] ข้าราชการกรมแรงงาน ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการจัดตั้งกรรมกรฝ่ายขวา กลุ่มขบวนการปฏิรูปได้แถลงเป้าหมายที่จะต่อต้านคอมมิวนิสต์ โดยโจมตีรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ด้วยว่า เป็นรัฐบาลที่อ่อนเกินไป “ปล่อยให้คอมมิวนิสต์เพ่นพ่านเต็มแผ่นดิน” จึงได้เสนอให้มีการเก็บหนังสือฝ่ายสังคมนิยมทั่วประเทศ แต่ปรากฏว่าการสร้างกระแสของขบวนการ ยังไม่ประสบความสำเร็จ แต่กลุ่มขบวนการปฏิรูปยังคงเคลื่อนไหวต่อมา จนกระทั่งถึงวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2519 ก็มีคำว่า[[ “สภาปฏิรูป”]] ลงใน [[นสพ.ไทยรัฐ]]แล้วใน[[คอลัมน์ “ไต้ฝุ่น”]] จากนั้น การรัฐประหารในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มทหารที่ยึดอำนาจจึงเรียกคณะของตนว่า “คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” | ในวันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2518 ก็มีกลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการ ทหาร ตำรวจ นักธุรกิจ และผู้นำกรรมกรฝ่ายขวา ได้นัดประชุมที่[[สโมสรสีลม]] และตั้งกลุ่มที่ชื่อว่า[[ “ขบวนการปฏิรูปแห่งชาติ”]] ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มนี้ ก็คือ [[นายประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์]] ข้าราชการกรมแรงงาน ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการจัดตั้งกรรมกรฝ่ายขวา กลุ่มขบวนการปฏิรูปได้แถลงเป้าหมายที่จะต่อต้านคอมมิวนิสต์ โดยโจมตีรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ด้วยว่า เป็นรัฐบาลที่อ่อนเกินไป “ปล่อยให้คอมมิวนิสต์เพ่นพ่านเต็มแผ่นดิน” จึงได้เสนอให้มีการเก็บหนังสือฝ่ายสังคมนิยมทั่วประเทศ แต่ปรากฏว่าการสร้างกระแสของขบวนการ ยังไม่ประสบความสำเร็จ แต่กลุ่มขบวนการปฏิรูปยังคงเคลื่อนไหวต่อมา จนกระทั่งถึงวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2519 ก็มีคำว่า[[ “สภาปฏิรูป”]] ลงใน [[นสพ.ไทยรัฐ]]แล้วใน[[คอลัมน์ “ไต้ฝุ่น”]] จากนั้น การรัฐประหารในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มทหารที่ยึดอำนาจจึงเรียกคณะของตนว่า “คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” | ||
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ประกอบด้วย [[พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่]] เป็นหัวหน้าคณะ นอกจากนี้ยังมี [[พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์]] [[พล.อ.อ.กมล เตชะตุงคะ]] [[พล.อ.เสริม ณ นคร]] และ | คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ประกอบด้วย [[สงัด ชลออยู่|พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่]] เป็นหัวหน้าคณะ นอกจากนี้ยังมี [[พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์]] [[กมล เตชะตุงคะ|พล.อ.อ.กมล เตชะตุงคะ]] [[เสริม ณ นคร|พล.อ.เสริม ณ นคร]] และ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นต้น แต่กลุ่มทหารที่จะนำมาสู่การรัฐประหารนี้มิได้รวมตัวกันในลักษณะเช่นนี้มาก่อน หลังกรณี 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 นั้น กลุ่มทหารได้แบ่งออกเป็นกำลังต่างๆ 3 กลุ่มใหญ่นั่นคือ กลุ่ม[[พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา]] หรือกลุ่มสี่เสากลุ่มหนึ่ง กลุ่มทหารอำนาจเดิมของจอมพลประภาส จารุเสถียร ซึ่งจะมี [[พล.ท.ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา]] และ[[พล.อ.ประเสริฐ ธรรมศิริ]] เป็นแกนอีกกลุ่มหนึ่ง แต่กลุ่มที่สามที่จะมีบทบาทมาก คือ [[กลุ่มซอยราชครู]] ซึ่งนำโดย[[ประมาณ อดิเรกสาร|พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร]] หัวหน้าพรรคชาติไทย ร่วมด้วย [[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พล.ต.ชาติชาย ชุณหะวัณ]] เลขาธิการพรรค และ [[พล.ต.ศิริ ศิริโยธิน]] รองหัวหน้าพรรค และมีการเชื่อมประสานเข้ากับข้าราชการทหารตำรวจคนสำคัญ ที่ยังอยู่ในประจำการ เช่น [[พล.ท.ไพฑูรย์ อิงคตานุวัตร]] [[ฉลาด หิรัญศิริ|พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ]] [[วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์|พล.ท.วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์]] [[พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ]] เป็นต้น กลุ่มนี้ แสดงบทบาทเป็นปีกขวาของคณะรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดังในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.2518 พล.ต.ประมาณ เป็นผู้เสนอคำขวัญ “ขวาพิฆาตซ้าย” เรียกร้องให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าที่เห็นว่าเป็น”ฝ่ายขวา”ลุกขึ้นพิฆาต “ฝ่ายซ้าย” คือ ขบวนการนักศึกษา | ||
กลุ่มทหารทั้งสามกลุ่มนี้มิได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนัก แต่กลุ่มที่มีบทบาทสูงที่สุดก็คือกลุ่มพล.อ.กฤษณ์ สีวะรา แต่ พล.อ.กฤษณ์ เกษียณอายุราชการเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2518 พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับตำแหน่ง[[ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแทน]] ขณะที่ พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ ได้รับตำแหน่ง[[ผู้บัญชาการทหารบก]] สำหรับ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ได้รับตำแหน่งเสนาธิการทหาร ปรากฏว่าในเดือนเมษายน พ.ศ.2519 พลเอกกฤษณ์ได้ถึงแก่กรรมอย่างมีเงื่อนงำ หลังจากที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้เพียงสองสัปดาห์ พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ ผู้บัญชาการทหารบก ได้ขึ้นมามีบทบาทในกลุ่มนี้แทนโดยรับช่วงอำนาจต่อมาจนกระทั่งเกษียณอายุราชการในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2519 และ พล.อ.เสริม ณ นคร ได้เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกต่อมา | กลุ่มทหารทั้งสามกลุ่มนี้มิได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนัก แต่กลุ่มที่มีบทบาทสูงที่สุดก็คือกลุ่มพล.อ.กฤษณ์ สีวะรา แต่ พล.อ.กฤษณ์ เกษียณอายุราชการเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2518 พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับตำแหน่ง[[ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแทน]] ขณะที่ พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ ได้รับตำแหน่ง[[ผู้บัญชาการทหารบก]] สำหรับ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ได้รับตำแหน่งเสนาธิการทหาร ปรากฏว่าในเดือนเมษายน พ.ศ.2519 พลเอกกฤษณ์ได้ถึงแก่กรรมอย่างมีเงื่อนงำ หลังจากที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้เพียงสองสัปดาห์ พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ ผู้บัญชาการทหารบก ได้ขึ้นมามีบทบาทในกลุ่มนี้แทนโดยรับช่วงอำนาจต่อมาจนกระทั่งเกษียณอายุราชการในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2519 และ พล.อ.เสริม ณ นคร ได้เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกต่อมา | ||
บรรทัดที่ 73: | บรรทัดที่ 75: | ||
อย่างไรก็ตาม นายทหารส่วนมากจะมีบทบาทที่ไม่เปิดเผยนัก ในการประกาศตัวเป็นศัตรูกับขบวนการนักศึกษา นอกจากจะเป็นผู้สนับสนุนองค์กรฝ่ายขวาต่างๆ และแสดงบทบาทในการทำลายขบวนการนักศึกษาผ่าน กอ.รมน. ส่วนการสังหารหมู่เมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลาคม ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ากลุ่มเหล่านี้จะมีส่วนเกี่ยวข้องในการนี้แต่อย่างใด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งพล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ พล.อ.เสริม ณ นคร และพล.อ.อ.กมล เตชะตุงคะนั้น ไม่น่าที่จะเป็นตัวการใหญ่ที่เป็นต้นเหตุให้เกิดการสังหารหมู่ครั้งนี้ เพราะถ้าหากว่านายทหารเหล่านี้เป็นแกนกลาง จะสามารถใช้กำลังทัพดำเนินการได้เลย ไม่ต้องใช้กำลังตำรวจกองปราบ และตำรวจตระเวนชายแดนเข้าสังหารนักศึกษาประชาชนอย่างที่ปรากฏ เพราะอำนาจสั่งการเหนือตำรวจตระเวนชายแดน ไม่น่าจะอยู่ในมือนายทหารเหล่านี้ในระยะนั้น | อย่างไรก็ตาม นายทหารส่วนมากจะมีบทบาทที่ไม่เปิดเผยนัก ในการประกาศตัวเป็นศัตรูกับขบวนการนักศึกษา นอกจากจะเป็นผู้สนับสนุนองค์กรฝ่ายขวาต่างๆ และแสดงบทบาทในการทำลายขบวนการนักศึกษาผ่าน กอ.รมน. ส่วนการสังหารหมู่เมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลาคม ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ากลุ่มเหล่านี้จะมีส่วนเกี่ยวข้องในการนี้แต่อย่างใด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งพล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ พล.อ.เสริม ณ นคร และพล.อ.อ.กมล เตชะตุงคะนั้น ไม่น่าที่จะเป็นตัวการใหญ่ที่เป็นต้นเหตุให้เกิดการสังหารหมู่ครั้งนี้ เพราะถ้าหากว่านายทหารเหล่านี้เป็นแกนกลาง จะสามารถใช้กำลังทัพดำเนินการได้เลย ไม่ต้องใช้กำลังตำรวจกองปราบ และตำรวจตระเวนชายแดนเข้าสังหารนักศึกษาประชาชนอย่างที่ปรากฏ เพราะอำนาจสั่งการเหนือตำรวจตระเวนชายแดน ไม่น่าจะอยู่ในมือนายทหารเหล่านี้ในระยะนั้น | ||
ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้น มีความเป็นไปได้ว่า นายทหารกลุ่มอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งทราบต่อมาว่าเป็น กลุ่มของพลเอกฉลาด หิรัญศิริ และ พล.ท.วิทูรย์ ยะสวัสดิ์ จะมีส่วนโดยตรงในการปราบปรามนักศึกษามากกว่า และเตรียมจะก่อการรัฐประหารในเวลาดึก แต่ปรากฏว่า กลุ่มของ[[พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์]] และ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ได้ร่วมกันก่อการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองเสียก่อนในตอนหัวค่ำวันนั้นเอง | ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้น มีความเป็นไปได้ว่า นายทหารกลุ่มอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งทราบต่อมาว่าเป็น กลุ่มของพลเอกฉลาด หิรัญศิริ และ พล.ท.วิทูรย์ ยะสวัสดิ์ จะมีส่วนโดยตรงในการปราบปรามนักศึกษามากกว่า และเตรียมจะก่อการรัฐประหารในเวลาดึก แต่ปรากฏว่า กลุ่มของ[[บุญชัย บำรุงพงศ์|พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์]] และ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ได้ร่วมกันก่อการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองเสียก่อนในตอนหัวค่ำวันนั้นเอง | ||
หลังจากการรัฐประหาร คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ได้แต่งตั้งให้ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี นายธานินทร์ ขณะนั้นอายุ 50 ปี ดำรงตำแหน่ง[[ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะศาลฏีกา]] เป็นบุคคลที่ประชาชนทั่วไปไม่เคยได้ยินชื่อในวงการเมืองมาก่อนเลย นอกจากชื่อเสียงในฐานะที่เป็นวิทยากรต่อต้านคอมมิวนิสต์ และมีแนวคิดทางการเมืองขวาตกขอบ นายชวน หลีกภัย สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ได้เสนอหลักฐานว่า “สภาปฏิรูป” ได้มีการเตรียมการมาล่วงหน้า อย่างน้อยตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2519 และรวมทั้งมีการเตรียมตัวบุคคลที่จะมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย และมีความเป็นไปได้ว่า บุคคลนั้นก็คือ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร นั่นเอง ดังที่ บุญชนะ อัตถากร ได้อธิบายถึงคำบอกเล่าของ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิรูป ดังมีใจความส่วนหนึ่งว่า | หลังจากการรัฐประหาร คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ได้แต่งตั้งให้ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี นายธานินทร์ ขณะนั้นอายุ 50 ปี ดำรงตำแหน่ง[[ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะศาลฏีกา]] เป็นบุคคลที่ประชาชนทั่วไปไม่เคยได้ยินชื่อในวงการเมืองมาก่อนเลย นอกจากชื่อเสียงในฐานะที่เป็นวิทยากรต่อต้านคอมมิวนิสต์ และมีแนวคิดทางการเมืองขวาตกขอบ นายชวน หลีกภัย สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ได้เสนอหลักฐานว่า “สภาปฏิรูป” ได้มีการเตรียมการมาล่วงหน้า อย่างน้อยตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2519 และรวมทั้งมีการเตรียมตัวบุคคลที่จะมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย และมีความเป็นไปได้ว่า บุคคลนั้นก็คือ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร นั่นเอง ดังที่ บุญชนะ อัตถากร ได้อธิบายถึงคำบอกเล่าของ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิรูป ดังมีใจความส่วนหนึ่งว่า | ||
บรรทัดที่ 82: | บรรทัดที่ 84: | ||
:::''คุณสงัดเห็นว่า เมื่อไม่รับสั่งตรงๆ ก็คงจะดำเนินการไม่ได้ จึงกราบบังคมทูลว่า ถ้าทางทหารยึดอำนาจการปกครองได้แล้ว..ใครควรจะเป็นนายกรัฐมนตรี... ได้กราบ บังคมทูลชื่อไปประมาณ 15 ชื่อ...แต่ไม่ทรงรับสั่งสนับสนุนผู้ใด ...เมื่อไม่ได้ชื่อบุคคล และเวลาก็ล่วงเลยไปมากแล้ว คุณสงัดก็เตรียมตัวจะกราบบังคมทูลลากลับ แต่ก่อนจะออกจากที่เฝ้าในหลวงได้รับสั่งว่า จะทำอะไรลงไปก็ควรปรึกษานักกฎหมาย คือ คุณธานินทร์ กรัยวิเชียร ผู้พิพากษาศาลฎีกาเสียด้วย คุณสงัดบอกว่า ไม่เคยรู้จักคุณธานินทร์มาก่อนเลย พอมาถึงกรุงเทพฯก็ได้บอกพรรคพวกทางกรุงเทพฯ ให้ทราบ และเชิญคุณธานินทร์มาพบ '' | :::''คุณสงัดเห็นว่า เมื่อไม่รับสั่งตรงๆ ก็คงจะดำเนินการไม่ได้ จึงกราบบังคมทูลว่า ถ้าทางทหารยึดอำนาจการปกครองได้แล้ว..ใครควรจะเป็นนายกรัฐมนตรี... ได้กราบ บังคมทูลชื่อไปประมาณ 15 ชื่อ...แต่ไม่ทรงรับสั่งสนับสนุนผู้ใด ...เมื่อไม่ได้ชื่อบุคคล และเวลาก็ล่วงเลยไปมากแล้ว คุณสงัดก็เตรียมตัวจะกราบบังคมทูลลากลับ แต่ก่อนจะออกจากที่เฝ้าในหลวงได้รับสั่งว่า จะทำอะไรลงไปก็ควรปรึกษานักกฎหมาย คือ คุณธานินทร์ กรัยวิเชียร ผู้พิพากษาศาลฎีกาเสียด้วย คุณสงัดบอกว่า ไม่เคยรู้จักคุณธานินทร์มาก่อนเลย พอมาถึงกรุงเทพฯก็ได้บอกพรรคพวกทางกรุงเทพฯ ให้ทราบ และเชิญคุณธานินทร์มาพบ '' | ||
จากที่กล่าวมา เราจะเห็นได้ว่า เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 เป็นผลผลิตอันสืบเนื่องจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 เมื่อขบวนการนักศึกษาได้รับชัยชนะในการต่อสู้ และนำมาซึ่งกระแสการตื่นตัวด้านประชาธิปไตยครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งในกระแสดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดการตื่นตัวอย่างมากของประชาชนกลุ่มต่างๆ การต่อสู้เพื่อสิทธิของประชาชนชนชั้นล่าง ทั้งกรรมกร ชาวนา และ กลุ่มสังคมอื่นๆ เกิดขึ้นเป็นระลอกคลื่น นอกจากนี้ ยังมีกระแสต่อต้าน[[จักรพรรดินิยม]]อเมริกา รวมทั้งกระแสแห่งการขยายตัวของแนวคิด[[สังคมนิยม]] ซึ่งเป็นแนวคิดที่วิพากษ์สังคมเก่า เสนอทางออกใหม่แก่สังคม และนำมาซึ่งการเรียกร้องการปฏิวัติวัฒนธรรม สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่รับใช้ประชาชน เป็นต้น ซึ่งเป็นกระแสคลื่นที่ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน | จากที่กล่าวมา เราจะเห็นได้ว่า เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 เป็นผลผลิตอันสืบเนื่องจากเหตุการณ์ [[14 ตุลาคม พ.ศ.2516]] เมื่อขบวนการนักศึกษาได้รับชัยชนะในการต่อสู้ และนำมาซึ่งกระแสการตื่นตัวด้านประชาธิปไตยครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งในกระแสดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดการตื่นตัวอย่างมากของประชาชนกลุ่มต่างๆ การต่อสู้เพื่อสิทธิของประชาชนชนชั้นล่าง ทั้งกรรมกร ชาวนา และ กลุ่มสังคมอื่นๆ เกิดขึ้นเป็นระลอกคลื่น นอกจากนี้ ยังมีกระแสต่อต้าน[[จักรพรรดินิยม]]อเมริกา รวมทั้งกระแสแห่งการขยายตัวของแนวคิด[[สังคมนิยม]] ซึ่งเป็นแนวคิดที่วิพากษ์สังคมเก่า เสนอทางออกใหม่แก่สังคม และนำมาซึ่งการเรียกร้องการปฏิวัติวัฒนธรรม สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่รับใช้ประชาชน เป็นต้น ซึ่งเป็นกระแสคลื่นที่ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน | ||
กระแสต่างๆ เหล่านี้ ผ่านเข้ามาในสังคมไทย ซึ่งเคยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างแบบ[[อนุรักษ์นิยม]] ชนชั้นนำที่กุมอำนาจรัฐนั้น ไม่คุ้นเคยกับประชาธิปไตย ที่จะเปิดให้ประชาชนมีเสรีภาพในการต่อสู้เพื่อสิทธิของตนเอง คุ้นเคยแต่กับการใช้อำนาจเผด็จการ คุมอำนาจเหนือประชาชนที่ภักดี และว่านอนสอนง่าย เชื่อในสิ่งเดียวกับชนชั้นนำ และปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐ ชนชั้นนำไทยจึงรู้สึกตระหนกและไม่เข้าใจกระแสเช่นนี้ เข้าใจไปว่ากระแสก้าวหน้าเหล่านี้ จะบั่นทอนความมั่นคงของแห่งสถานะของตน ยิ่งกว่านั้น ความรู้สึกไม่มีเสถียรภาพ หวาดวิตกในกระแสการเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบ้าน เกรงว่าขบวนการนักศึกษา จะเป็นตัวการก่อให้เกิดการปฏิวัติในลักษณะเดียวกันในสังคมไทย นำมาซึ่งการวางแผนที่จะหยุดยั้งการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ แต่ชนชั้นนำของไทยนั้นก็ไม่มีบทเรียน ไม่รู้จักการแก้ปัญหาทางการเมืองกับฝ่ายประชาชนอย่างสันติวิธี และทำอย่างอื่นไม่เป็นนอกจากวางแผนรัฐประหาร ดังนั้น จึงได้ใช้วิธีการที่เคยชิน คือใช้ความรุนแรงในการสะกัดกั้นและปราบปราม แล้วสร้างเงื่อนไขในการยึดอำนาจโดยกองทัพ | กระแสต่างๆ เหล่านี้ ผ่านเข้ามาในสังคมไทย ซึ่งเคยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างแบบ[[อนุรักษ์นิยม]] ชนชั้นนำที่กุมอำนาจรัฐนั้น ไม่คุ้นเคยกับประชาธิปไตย ที่จะเปิดให้ประชาชนมีเสรีภาพในการต่อสู้เพื่อสิทธิของตนเอง คุ้นเคยแต่กับการใช้อำนาจเผด็จการ คุมอำนาจเหนือประชาชนที่ภักดี และว่านอนสอนง่าย เชื่อในสิ่งเดียวกับชนชั้นนำ และปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐ ชนชั้นนำไทยจึงรู้สึกตระหนกและไม่เข้าใจกระแสเช่นนี้ เข้าใจไปว่ากระแสก้าวหน้าเหล่านี้ จะบั่นทอนความมั่นคงของแห่งสถานะของตน ยิ่งกว่านั้น ความรู้สึกไม่มีเสถียรภาพ หวาดวิตกในกระแสการเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบ้าน เกรงว่าขบวนการนักศึกษา จะเป็นตัวการก่อให้เกิดการปฏิวัติในลักษณะเดียวกันในสังคมไทย นำมาซึ่งการวางแผนที่จะหยุดยั้งการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ แต่ชนชั้นนำของไทยนั้นก็ไม่มีบทเรียน ไม่รู้จักการแก้ปัญหาทางการเมืองกับฝ่ายประชาชนอย่างสันติวิธี และทำอย่างอื่นไม่เป็นนอกจากวางแผนรัฐประหาร ดังนั้น จึงได้ใช้วิธีการที่เคยชิน คือใช้ความรุนแรงในการสะกัดกั้นและปราบปราม แล้วสร้างเงื่อนไขในการยึดอำนาจโดยกองทัพ |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:13, 16 ตุลาคม 2557
ผู้เรียบเรียง ธิกานต์ ศรีนารา
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้นเป็นวันที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่า ได้เกิดกรณีนองเลือดครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐบาลและกลุ่มฝ่ายขวาหลายกลุ่มร่วมมือกันก่อการสังหารหมู่นักศึกษาประชาชน ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใจกลางพระนคร จนทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 39 คน และบาดเจ็บ 145 คน การก่อการสังหารครั้งนี้ได้กลายเป็นข่าวแพร่ไปทั่วโลก แต่ที่น่าประหลาดใจที่สุดก็คือ การก่อกรณีนองเลือดครั้งนี้ ไม่มีการจับกุมฆาตกรผู้ก่อการสังหารเลยแม้แต่คนเดียว ในทางตรงข้ามนักศึกษาประชาชนที่เหลือรอดจากการถูกสังหารจำนวน 3,094 คน กลับถูกจับกุมทั้งหมดภายในวันนั้นเอง และถึงแม้ว่าในระยะต่อมา ผู้ถูกจับกุมจะได้รับการประกันตัวออกมาเป็นส่วนใหญ่ แต่สุดท้ายก็ยังมีเหลืออีก 27 คน ถูกอายัดตัวเพื่อดำเนินคดี เป็นชาย 23 คน และหญิง 4 คน จนท้ายที่สุด จะเหลือ 19 คน ซึ่งตกเป็นจำเลย ถูกคุมขังและดำเนินคดีอยู่เกือบ 2 ปีจึงจะได้รับการปล่อยตัว ส่วนผู้ก่อการสังหารซึ่งควรจะเป็นจำเลยตัวจริงนั้นไม่มีรัฐบาลหรือผู้กุมอำนาจครั้งไหนกล่าวถึงอีกเลย แม้กระทั่ง พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นายกรัฐมนตรีสมัยที่ปล่อยผู้ต้องหา 6 ตุลาฯ ทั้ง 19 คนนี้ก็ได้กล่าวว่า “แล้วก็ให้แล้วกันไป ลืมมันเสียเถิดนะ” เหมือนกับว่าจะให้ลืมกรณีฆาตกรรมดังกล่าวเสีย มิให้กล่าวถึงคนร้ายในกรณีนี้อีก
เงื่อนงำของการสังหารโหดนี้ได้รับการคลี่คลายในตัวเองขั้นหนึ่งในเย็นวันนั้นเอง เมื่อคณะทหารกลุ่มหนึ่งในนามของ “คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” ได้กระทำการรัฐประหารยึดอำนาจล้มเลิกการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ล้มรัฐบาลที่ได้มาจากการเลือกตั้งตามวิถีทางรัฐสภาและฟื้นระบอบเผด็จการขวาจัดขึ้นมาปกครองประเทศแทน ถ้าหากว่าการสังหารหมู่เมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลาคม คือการก่ออาชญากรรมต่อนักศึกษาผู้รักความเป็นธรรมแล้ว การรัฐประหารเมื่อเย็นวันที่ 6 ตุลาคมก็คือ การก่ออาชญากรรมต่อประเทศชาติ เพราะเป็นการทำลายสิทธิประชาธิปไตยของประชาชนทั้งชาติ ที่ได้มาจากการเสียสละเลือดเนื้อและชีวิตของวีรชน 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 เมื่อโยงการรัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ครั้งนี้เข้ากับการสังหารโหดที่เกิดขึ้นในวันเดียวกัน จะทำให้มองเห็นภาพการเคลื่อนไหวของพลังปฏิกิริยาที่ร่วมมือกันก่ออาชญากรรมได้ชัดเจนขึ้น
เป็นไปไม่ได้ที่จะเข้าใจกรณี 6 ตุลาคม 2519 ได้กระจ่างโดยไม่ตอบคำถามว่า กรณี 6 ตุลาฯคม พ.ศ.2519 เกิดขึ้นได้อย่างไร ซึ่งก่อนอื่นใดต้องเริ่มต้นจากกรณี 14 ตุลาคม 2516 นับเป็นครั้งแรกที่นักศึกษาและประชาชนที่ปราศจากอาวุธ และไม่เคยมีส่วนร่วมทางการเมือง ได้ลุกฮือขึ้นสู้ต่อสู้ จนกระทั่งสามารถโค่นรัฐบาลเผด็จการ ที่นำโดยสถาบันทหารและระบบราชการลงได้ หลังจากที่ระบอบนี้ครอบงำการเมืองไทยอยู่นานถึง 16 ปีนับตั้งแต่การยึดอำนาจของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2501 การเปลี่ยนแปลงเริ่มตั้งแต่เมื่อเกิดความรุนแรงในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม จากการเกิดเหตุปะทะของนักศึกษาประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจทหาร จากนั้นการต่อสู้ของฝ่ายประชาชนลุกลาม จนทำให้รัฐบาลไม่อาจควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ ในที่สุด จอมพลถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในเวลาเย็นวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 นั้นเอง จากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ประกาศตั้งนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นนายกรัฐมนตรี เหตุการณ์จึงได้กลับคืนสู่สภาพปกติในวันที่ 15 ตุลาคม หลังจากที่อดีตผู้นำ 3 คน คือ จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้เดินทางหนีออกจากประเทศ
แม้ว่าจะประกาศเป็นรัฐบาลรักษาการณ์ แต่นายสัญญา ธรรมศักดิ์ได้เปลี่ยนภาพลักษณ์ของการบริหารประเทศไปไม่น้อย จากการตั้งคณะรัฐบาลที่มีพลเรือนเป็นส่วนข้างมาก คือ 19 คน โดยมีตำรวจและทหารเพียง 5 คน ซึ่งส่วนมากดำรงตำแหน่งในส่วนกลาโหมและมหาดไทย ซึ่งเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การรัฐประหารเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2494 เป็นต้นมา ที่คณะบริหารมีสัดส่วนของพลเรือนมากเช่นนี้ จากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติราชการ (กตป.)ซึ่งแต่เดิม มี พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นเลขาธิการ ถูกยกเลิก นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้ประกาศว่าจะปกครองประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย จะให้เสรีภาพแก่ประชาชนอย่างเต็มที่ พยายามที่จะแสดงความใกล้ชิดกับประชาชนโดยการออกรายการโทรทัศน์ที่ชื่อว่า “พบประชาชน” เป็นระยะๆ เพื่อแสดงให้เห็นว่า รัฐบาลมิได้บริหารประเทศโดยพลการดังที่ผ่านมา นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรี ก็ยังให้สัญญาที่จะแก้ปัญหาของประเทศในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาเงินเฟ้อ ปัญหาความเดือดร้อนของชาวนา ปัญหาความยากจนของประชาชน เป็นต้น และสัญญาว่าจะดำเนินการให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยโดยเร็ว และให้มีการสอบสวนคดีสังหารหมู่ในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ส่วน พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา ผู้บัญชาการทหารบก ก็ได้เสนอเรื่องให้มีการยกเลิกการพระราชทานยศจอมพลแก่นายทหาร ทำให้ยศจอมพลสิ้นสุดลง
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลก็ประสบวิกฤตอย่างหนัก เพราะปัญหาหลายด้านรุมเร้า ส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น อันเนื่องจากวิกฤตการณ์น้ำมันในตลาดโลก ซึ่งเกิดขึ้นใน พ.ศ.2517 ทำให้รัฐบาลต้องขึ้นราคาน้ำมันภายในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ทำให้ประชาชนเดือดร้อนมากขึ้น นอกจากนี้ก็คือการเผชิญกับกระแสการตื่นตัวของประชาชน ทำให้เกิดการประท้วงจากประชาชนส่วนต่างๆ ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม จนรัฐบาลไม่อาจจะแก้ปัญหาได้ การควบคุมเสถียรภาพทางการเมืองก็ทำได้ยาก ดังนั้น ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2517 นายกรัฐมนตรี สัญญา ธรรมศักดิ์ จึงลาออกจากตำแหน่ง แต่ก็ได้รับการแต่งตั้งกลับมาใหม่ และบริหารประเทศต่อมาอีก 9 เดือน หลังจากที่ได้มีการพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2517 และให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2518 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงมากที่สุด ดังนั้น ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคจึงได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ และได้มีการตั้งรัฐบาล 2 พรรคระหว่างพรรคประชาธิปัตย์และเกษตรสังคม แต่ปรากฏว่าในวันแถลงนโยบาย สภาลงมติไม่รับรองนโยบายรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช จึงต้องลาออกจากตำแหน่ง และ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หัวหน้าพรรคกิจสังคม ได้รวบรวมเสียงพรรคต่างๆ 12 พรรคมาสนับสนุนจนมากเพียงพอ จึงได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้แถลงนโยบายหลักคือ การผันเงินสู่ชนบท สงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยในกรุงเทพฯ ให้ขึ้นรถเมล์ฟรี รักษาพยาบาลฟรี และวางนโยบายต่างประเทศให้สหรัฐถอนทหารจากประเทศไทย รัฐบาลชุดนี้ได้รับการรับรองจากสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2518
รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช บริหารประเทศต่อจากนั้นมาได้นาน 10 เดือน ก็เกิดวิกฤตการณ์อย่างหนักในคณะรัฐบาล หลังจากที่นายกรัฐมนตรีพยายามจะดึงพรรคเกษตรสังคมมาเข้าร่วมรัฐบาล แต่กลับก่อให้เกิดความแตกแยกอย่างมากในหมู่พรรคร่วมรัฐบาลพรรคอื่น ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ จึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2519 และประกาศให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2519 ซึ่งในการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคประชาธิปัตย์ได้รับชัยชนะด้วยเสียงมากที่สุด แม้กระทั่ง ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ก็พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ดังนั้น ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ จึงกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และตั้งรัฐบาลผสม 4 พรรค คือ พรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำร่วมกับพรรคชาติไทย ที่นำโดย พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร พรรคธรรมสังคม นำโดย พล.อ.อ.ทวี จุลละทรัพย์ และ พรรคสังคมชาตินิยม นำโดย นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ รัฐบาลชุดนี้ บริหารประเทศมาจนถึงเมื่อเกิดเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 จึงสิ้นสภาพอย่างเป็นทางการ ด้วยการรัฐประหารของฝ่ายทหาร
นอกจากเงื่อนไขทางการเมืองที่กล่าวมา ซึ่งเป็นบริบทพื้นฐานที่จะทำเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 แล้ว ในช่วงกรณี 14 ตุลาคม 2516 ยังมีปัจจัยอื่นๆ ส่วนสำคัญต่อการเกิดขึ้นของกรณีนองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ด้วย ได้แก่ การเฟื่องฟูของอุดมการณ์สังคมนิยม, การต่อสู้ของกรรมกร, การเคลื่อนไหวของชาวนา, การเคลื่อนไหวของประชาชนในวงการอื่นๆ ที่ทุกข์ยากเดือดร้อนไม่ว่าจะเป็นพ่อค้าแม่ค้าหาบเร่แผงลอย ประชาชนในสลัม กระเป๋ารถเมล์และพนักงานขับรถ พนักงานรถบริษัทขนส่ง (บขส.) พ่อค้าลอตเตอรี่รายย่อยและคนพิการ พนักงานไทยการ์ด กลุ่มชาวประมง และประชาชนผู้เดือดร้อนกลุ่มอื่นๆ ก็เกิดความตื่นตัวที่จะรู้จักสิทธิของตนเอง ในการร้องเรียนและต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น ที่สำคัญที่สุดก็คือการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา, อิทธิพลของแนวคิดสังคมนิยม ทำให้นักศึกษากลายเป็นแนวหน้าในการวิพากษ์วัฒนธรรมเก่าด้วยการเสนอคำขวัญ “ศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน” มาหักล้างแนวทางศิลปะแบบเก่า โดยการวิพากษ์ว่า แนวทางศิลปวัฒนธรรมที่ดำรงอยู่นั้น เป็นศิลปะที่มุ่งรับใช้ชนชั้นปกครองศักดินาและทุนนิยม เพื่อจะมอมเมาให้ประชาชนพร่ามัวอยู่กับความล้าหลัง และยอมรับการครอบงำของชนชั้นปกครอง ศิลปะแนวใหม่จึงไม่ควรที่จะเป็นเช่นนั้น หากแต่จะต้องเป็นศิลปะที่รับใช้ประชาชน และการเคลื่อนไหวของขบวนการทางสังคมอื่นๆ เช่น ขบวนการสิทธิสตรี และ ขบวนการสภาพแวดล้อม
การเคลื่อนไหวสนับสนุนการต่อสู้ของกรรมกรชาวนา และคนยากจน การมุ่งที่จะเรียกร้องเอกราชสมบูรณ์โดยคัดค้านการคงอยู่ของทหารและฐานทัพในประเทศไทย การขยายตัวของอุดมการณ์สังคมนิยมและการเกิดของพรรคการเมืองแนวทางสังคมนิยมที่ต่อสู้ทางรัฐสภา ที่เสนอคำขวัญให้ประชาชนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ตลอดจนถึงการเกิดกระแสวิพากษ์สังคมและวัฒนธรรมในด้านต่างๆ ที่ดำเนินการโดยขบวนการนักศึกษาเป็นแกนกลางได้ก่อให้เกิดความวิตกอย่างมาก ในหมู่ผู้มีอำนาจและกลุ่มอนุรักษ์นิยม ที่มีความหวาดกลัวว่าผลประโยชน์ของตนจะต้องถูกกระทบกระเทือน และยิ่งเกิดการปฏิวัติไปสู่สังคมนิยมในประเทศกัมพูชา และเวียดนาม เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.2518 และการปฏิวัติในลาวเมื่อเดือนธันวาคมปีเดียวกัน อันนำมาสู่การยกเลิกสถาบันกษัตริย์ในลาว ยิ่งก่อให้เกิดความวิตกอย่างยิ่งว่า จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในทำนองเดียวกันในประเทศไทย แต่แทนที่ชนชั้นนำไทยจะหันมาแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองให้เป็นธรรมมากขึ้น หรือหันมาสร้างประเทศไทยให้มีเอกราช ประชาธิปไตยอย่างแท้จริง กลุ่มอนุรักษ์นิยมและปฏิกิริยากลับเห็นว่าการเคลื่อนไหวเหล่านี้เป็นความวุ่นวาย และใช้ทัศนะที่คับแคบ โจมตี การเคลื่อนไหวต่อต้านความไม่เป็นธรรมนี้ว่าเป็นการเคลื่อนไหวของคอมมิวนิสต์ รวมทั้งเหมารวมว่า ขบวนการนักศึกษาจะต้องกลายเป็นปิศาจคอมมิวนิสต์ไปทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมีความเห็นว่า รัฐบาลพลเรือนสมัย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช โอนเอนไปตามเสียงของขบวนการนักศึกษามากเกินไป
ดังนั้น วิธีการแก้ปัญหา จึงได้ใช้ความรุนแรงเข้าจัดการยุติบทบาทของขบวนการนักศึกษา และนำประเทศกลับคืนสู่เสถียรภาพเช่นเดิม โดยสร้างเงื่อนไขที่จะก่อการรัฐประหาร นำเอารัฐบาลที่เข้มแข็งและปราบปรามคอมมิวนิสต์มาบริหารประเทศแทน วิธีการที่ใช้ต่อขบวนการนักศึกษาก็คือ การแบ่งแยกขบวนการและทำลาย ใช้ความรุนแรงเข้าสะกัดกั้น การตั้งองค์กรฝ่ายขวาขึ้นต่อต้านขบวนการนักศึกษา การปิดล้อมทางข่าวสารและใส่ร้ายป้ายสี, การโฆษณาทำลายภาพลักษณ์, มีการจัดตั้งกลุ่มกระทิงแดง และกลุ่มพลังฝ่ายปฏิกิริยาต่างๆ อีกมาก เพื่อให้ร่วมกันในการทำลายขบวนการนักศึกษา กลุ่มต่างๆ เหล่านี้ ได้รับการสนับสนุนอันดียิ่งจากอำนาจและกลไกของรัฐในขณะนั้น ที่สามารถระบุชื่อได้ เช่น กลุ่มนวพล ชมรมอาชีวะเสรี กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน กลุ่มเพ็ชรไทย กลุ่มช้างดำ กลุ่มพิทักษ์ไทย สหพันธ์นักศึกษาครูแห่งประเทศไทย กลุ่มแนวร่วมรักชาติ กลุ่มประชาชนผู้รักชาติ กลุ่มแนวร่วมต่อต้านเผด็จการทุกรูปแบบขบวนการปฏิรูปแห่งชาติ สหพันธ์ครูอาชีวะ กลุ่มกรรมกรเสรี กลุ่มค้างคาวไทย กลุ่มกล้วยไม้ไทย กลุ่มวิหคสายฟ้า กลุ่มสหภาพแรงงานเอกชน ชมรมแม่บ้าน ฯลฯ และท้ายที่สุดก็คือ การกวาดล้างปราบปราม และก่อรัฐประหารฟื้นเผด็จการ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดนี้เอง ที่นำมาสู่การเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
การคุกคามฝ่ายนักศึกษาเกิดขึ้นอย่างหนักใน พ.ศ.2519 ตั้งแต่ต้นปี การปฏิบัติการดังกล่าวกระทำจนกระทั่งแน่ใจได้ว่า ขบวนการอ่อนกำลังลงมากแล้ว จึงได้มีการนำเอาตัวจอมพลประภาส จารุเสถียร เข้ามาสู่ประเทศเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2519 ในข้ออ้างของจอมพลประภาสว่า จะเข้ามารักษาตา ฝ่ายนักศึกษาได้เรียกชุมนุมประชาชน เพื่อเรียกร้องให้นำตัว จอมพลประภาสมาลงโทษ ในการประท้วงครั้งนี้ กลุ่มอันธพาลการเมืองก็ก่อกวนเช่นเดิม ด้วยการขว้างระเบิดใส่ที่ชุมนุมของฝ่ายนักศึกษา ทำให้มีผู้เสียชีวิต 2 คน และบาดเจ็บอีก 38 คน แต่ปรากฏว่าเหตุการณ์นี้ กลุ่มชนชั้นนำ ยังไม่มีความพร้อมเพียงพอที่จะก่อการรัฐประหารได้ จึงต้องผลักดันให้จอมพลประภาส เดินทางออกนอกประเทศไปก่อน ในที่สุดจอมพลประภาสยินยอมเดินทางออกไปยังกรุงไทเปอีกครั้งในวันที่ 22 สิงหาคม โดยก่อนออกเดินทาง ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เข้าเฝ้าฯพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีกด้วย
หลังจากนี้ เริ่มมีข่าวว่า จอมพลถนอม กิตติขจร จะขอกลับเข้าสู่ประเทศไทยอีกครั้ง เนื่องจากบิดาขุนโสภิตบรรณลักษณ์(อำพัน กิตติขจร) ซึ่งมีอายุถึง 90 ปีแล้ว ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2519 ศูนย์นิสิตได้เรียกประชุมกลุ่มต่างๆ 165 กลุ่ม เพื่อคัดค้านการกลับเข้ามาของจอมพลถนอม กิตติขจร โดยระบุความผิดของจอมพลถนอม 11 ข้อ จากนั้น ในวันที่ 7 กันยายน ก็มีการอภิปรายที่หอประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในหัวข้อ”ทำไมจอมพลถนอมจะกลับมา” ซึ่งผู้อภิปรายหลายคนได้สรุปว่า การเข้ามาของจอมพลถนอมส่วนหนึ่ง เป็นแผนการที่วางไว้เพื่อจะหาทางก่อการรัฐประหารนั้นเอง อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้มีมติมิให้จอมพลถนอม กิตติขจรกลับเข้าประเทศ
แต่ปรากฏว่า เมื่อถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2519 จอมพลถนอม กิตติขจร ก็กลับเข้าประเทศจนได้ โดยบวชเป็นสามเณรมาจากสิงคโปร์ จากนั้นก็ตรงไปยังวัดบวรนิเวศ เพื่อบวชเป็นภิกษุ โดยมีพระญาณสังวร เป็นองค์อุปัชฌาย์ และเมื่อบวชเรียบร้อยก็ขนานนามว่า สุกิตติขจโรภิกษุ ในกรณีนี้ วิทยุยานเกราะได้นำคำปราศรัยของจอมพลถนอมมาออกอากาศในวันที่ 19 กันยายน ซึ่งมีสาระสำคัญว่า จอมพลถนอมกลับเข้ามาในประเทศครั้งนี้เพื่อเยี่ยมอาการป่วยของบิดา จึงได้บวชเป็นพระภิกษุตามความประสงค์ของบิดา และไม่มีจุดมุ่งหมายทางการเมืองอย่างใดเลย จากนั้น วิทยุยานเกราะได้ตักเตือนมิให้นักศึกษาก่อความวุ่นวาย มิฉะนั้นแล้วอาจจะต้องมีการประหารสักสามหมื่นคน เพื่อให้ชาติบ้านเมืองรอดพ้นจากภัย
เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ ขบวนการนักศึกษาที่นำโดยศูนย์นิสิต และแนวร่วมต้านเผด็จการแห่งชาติ ก็เคลื่อนไหวโดยทันที โดยยื่นข้อเสนอต่อรัฐบาล แสดงการคัดค้านจอมพลถนอม ที่ใช้ศาสนาบังหน้า ทำให้พระศาสนามัวหมอง เรียกร้องให้นำเอาจอมพลถนอมมาขึ้นศาลพิจารณาคดี พร้อมทั้งคัดค้านความพยายามที่จะก่อการรัฐประหาร นอกจากนี้ ขณะที่กลุ่มยุวสงฆ์ ก็ออกคำแถลงคัดค้านสถานะภิกษุของจอมพลถนอม โดยขอให้มหาเถรสมาคมตรวจสอบการบวชครั้งนี้ว่า ถูกต้องตามพระวินัยหรือไม่ และถวายหนังสือต่อสังฆราช ให้สอบสวนพระญาณสังวรด้วย ในฐานะที่ทำการบวชให้แก่ผู้ต้องหาคดีอาญา ปรากฏว่าสมเด็จพระสังฆราชยอมรับว่าการบวชนั้นถูกต้อง ส่วนเรื่องขับไล่จอมพลถนอมจากประเทศนั้นเป็นเรื่องทางโลก ที่ทางมหาเภระสมาคมไม่อาจเกี่ยวข้องได้
ต่อมา ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2519 สมาชิกสภาก็ได้เสนอให้มีการประชุมในเรื่องการกลับมาของจอมพลถนอมโดยตรง และได้ลงมติคัดค้านการกลับมาของจอมพลถนอม ให้รัฐบาลดำเนินการเรื่องนี้โดยทันที ปรากฏว่า นายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ไม่อาจจะจัดการอะไรได้ จึงได้ลาออกจากตำแหน่งกลางสภาผู้แทนราษฎร และในเวลา 21.30 น.วันเดียวกันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี ก็เสด็จไปที่วัดบวรนิเวศเพื่อสนทนาธรรมกับพระญาณสังวร ซึ่งเคยเป็นพระพี่เลี้ยงเมื่อพระองค์ทรงผนวช ในระหว่างการเยือน คุณหญิงเกษหลง สนิทวงศ์ นางสนองพระโอษฐ์ ได้แถลงว่า สมเด็จพระราชินีให้มาบอกว่า ได้ทราบว่าจะมีคนใจร้ายจะมาเผาวัดบวรนิเวศ จึงทรงมีความห่วงใยอย่างมาก “ขอให้ประชาชนช่วยกันดูแลป้องกัน อย่าให้ผู้ใจร้ายมาทำลายวัด”
วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2519 นายสมัคร สุนทรเวชรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แถลงว่า “การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จวัดบวรฯกลางดึก แสดงให้เห็นว่า พระองค์ต้องการให้พระถนอม อยู่ในประเทศต่อไป” อย่างไรก็ตามในคืนวันนั้น ขบวนการนักศึกษาได้ออกติดโปสเตอร์ต่อต้านจอมพลถนอมทั่วประเทศ ปรากฏว่านิสิตจุฬาลงกรณ์ที่ออกติดโปสเตอร์ถูกชายฉกรรจ์จำนวนหนึ่งดักทำร้าย และนำเอาโปสเตอร์ที่จะติดนั้นไปทำลาย นอกจากนี้ นายชุมพร ทุมไมย และ นายวิชัย เกษศรีพงศา พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นครปฐม และเป็นสมาชิกแนวร่วมประชาชน ได้ออกติดโปสเตอร์ต่อต้านจอมพลถนอม ถูกคนร้ายฆาตกรรมแล้วนำไปแขวนคอที่ประตูทางเข้าที่ดินจัดสรรบริเวณหมู่บ้าน 2 ตำบลพระประโทน ปรากฏจากการชันสูตรว่าทั้งสองคนถูกซ้อมและฆ่าอย่างทารุณก่อนที่จะนำศพไปแขวน สันนิษฐานว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจนครปฐมเป็นผู้ลงมือ ซึ่งกรณีนี้ ได้สร้างความสะเทือนใจอย่างมาก ศูนย์นิสิตจึงได้ตั้งข้อเรียกร้องเพิ่มต่อรัฐบาล ให้จับคนร้ายมาลงโทษโดยเร็ว ทางฝ่ายรัฐบาลได้ตั้งให้ พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ เป็นผู้ควบคุมคดี
วันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2519 กิตติวุฒโฑภิกขุ ก็ได้แถลงย้ำว่า “การบวชของพระถนอม ครั้งนี้ ได้กราบบังคมทูลขออนุญาตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมทั้งการขอเข้ามาในเมืองไทยด้วย ดังนั้น พระถนอมจึงเป็นผู้บริสุทธิ์” ต่อมา ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2519 นายส่งสุข ภัคเกษม ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ฝ่ายขวา ได้ออกมาแถลงข่าวใส่ร้ายป้ายสีว่า กลุ่มฝ่ายซ้ายในพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งหมายถึงกลุ่มของนายดำรงค์ ลัทธพิพัฒน์ และ นายชวน หลีกภัย ได้จ่ายเงินให้แก่ศูนย์นิสิต 8 แสนบาท โดยผ่านนายสุธรรม แสงประทุม ในกรณีเคลื่อนไหวต่อต้านจอมพลประภาส จารุเสถียร เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา
การชุมนุมคัดค้านจอมพลถนอมของขบวนการนักศึกษา ได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้ยื่นคำขาดให้รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช แก้ไขปัญหาเรื่องจอมพลถนอม กิตติขจร และให้จับตัวคนร้ายที่ก่อการฆาตกรรม 2 ช่างไฟฟ้านครปฐมมาลงโทษ และขอให้รัฐบาลจัดกำลังรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ชุมนุม ต่อมาศูนย์นิสิตได้ใช้มาตรการรุก คือขอให้รัฐบาลตอบภายใน 3 วัน
วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2519 ตัวแทนญาติวีรชน 14 ตุลาคม ได้เข้าพบนายกรัฐมนตรี ขอให้ดำเนินการขับจอมพลถนอม กิตติขจรจากประเทศไทย และได้เริ่มอดอาหารประท้วงที่หน้าทำเนียบรัฐบาล ในวันเดียวกัน กลุ่มฝ่ายขวา 13 กลุ่ม ได้ร่วมออกแถลงการณ์ว่า
- ได้ปรากฏแน่ชัดแล้วว่า ศูนย์นิสิตนักศึกษา สภาแรงงานแห่งประเทศไทย และ นักการเมืองฝ่ายซ้าย ได้ถือเอาพระถนอมมาเป็นเงื่อนไขสร้างความไม่สงบขึ้นภายในประเทศชาติ ถึงขั้นจะก่อวินาศกรรมทำลายวัดบวรนิเวศวิหาร และล้มล้างรัฐบาล เรื่องนี้กลุ่มต่างๆ ดังกล่าว ได้ประชุมลงมติว่า 1. จะร่วมกันปกป้องวัดบวรฯทุกวิถีทาง ตามพระราชเสาวณีย์
วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2519 กำหนดเวลาเส้นตายที่ศูนย์นิสิตยื่นไว้มาถึง ทางฝ่ายกระทิงแดงได้ตั้งกำลังล้อมวัดบวรนิเวศ โดยอ้างว่า เพื่อป้องกันศาสนสถาน ปรากฏว่าตัวแทนศูนย์นิสิตได้เข้าพบนายกรัฐมนตรี แต่ก็ยังไม่มีอะไรคืบหน้า ดังนั้น จึงได้มีการตกลงให้มีการชุมนุมประชาชนครั้งใหญ่ที่สนามหลวงในเวลาเย็นวันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม
ในเวลากลางวันของวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้นเอง กลุ่มอิสระ 21 กลุ่มของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รณรงค์ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์งดสอบ เพื่อร่วมการประท้วงขับไล่จอมพลถนอม ในการรณรงค์งดสอบนี้ ชมรมนาฏศิลป์และการละคร ได้จัดการแสดงละครเรียกร้องให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการเข้าร่วมการต่อสู้ โดยมีฉากหนึ่งที่เป็นภาพสะท้อน ถึงช่างไฟฟ้าที่ถูกสังหารที่นครปฐม ปรากฏว่าการรณรงค์ประสบผล จนทำให้มหาวิทยาลัยต้องประกาศเลื่อนการสอบออกไปอย่างไม่มีกำหนด ต่อมาเวลาตั้งแต่ 15.30 น. ได้มีการชุมนุมประชาชนที่สนามหลวง จนกระทั่งเกิดฝนตก และมีแนวโน้มการคุกคามของกลุ่มฝ่ายขวา ในเวลา 19.30 น. ดังนั้นกลุ่มนักศึกษาที่นำการชุมนุม จึงมีมติให้ย้ายเวทีเข้ามาชุมนุมในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อความสะดวกในการรักษาความปลอดภัย และการประท้วงก็ข้ามคืนมาจนถึงวันที่ 5 ตุลาคม ได้มีการชุมนุมประท้วงจอมพลถนอม เกิดขึ้นในอีกหลายจังหวัด เช่น ที่เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา สงขลา เป็นต้น
หลังจากนี้สถานีวิทยุทหารทุกแห่งก็ออกข่าวเกี่ยวกับกรณีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพนี้ และระดม”ผู้รักชาติ” จำนวนนับพันไปชุมนุมที่ลานพระบรมรูปทรงม้าเพื่อต่อต้านกรณีดังกล่าว โดยเฉพาะกลุ่มพลังฝ่ายขวาเช่น กระทิงแดง ลูกเสือชาวบ้าน และนวพล จากการอ้างเอาเรื่องการหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์นี้เอง กลุ่มปฏิกิริยาจึงสามารถระดมประชาชนที่โกรธแค้นเป็นจำนวนมากมาร่วมการชุมนุมได้ โดยประเด็นที่วิทยุยานเกราะเรียกร้อง ก็คือ ให้ทำลาย พวก”คอมมิวนิสต์”ที่อยู่ในธรรมศาสตร์ และประท้วงรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ที่ตั้งรัฐบาลใหม่ โดยไม่ให้ นายสมัคร สุนทรเวช และ นายสมบุญ ศิริธร เข้าร่วมในคณะรัฐมนตรี
เวลาดึกของวันนั้น การชุมนุมของฝ่ายขวา ก็ย้ายสถานที่มายังท้องสนามหลวง ตรงบริเวณฝั่งตรงข้ามธรรมศาสตร์ และได้มีการยั่วยุประชาชนอย่างหนัก ให้เกลียดชังนักศึกษามากยิ่งขึ้น และเช้าวันที่ 6 ตุลาคม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจก็เริ่มยิงอาวุธสงครามใส่ผู้ชุมนุม จากนั้นต่อมา ก็ได้ใช้กองกำลังตำรวจกองปราบ และหน่วยตำวจตระเวนชายแดน นำการกวาดล้างนักศึกษาในมหาวิทยาธรรมศาสตร์ด้วยอาวุธสงครามเต็มอัตรา นี่คือการปราบปรามใหญ่กรณี 6 ตุลาคมนั่นเอง
การเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา ได้สั่นคลอนผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยเช่นกัน โดยเฉพาะกรณีการคัดค้านการตั้งฐานทัพในประเทศไทย การต่อต้านการครอบงำทางเศรษฐกิจและการขูดรีดทรัพยากรของสหรัฐ รวมทั้งการเปิดโปงโทษกรรมของอเมริกาในส่วนอื่นๆ ของโลก ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจให้กับสหรัฐอเมริกาอย่างมาก ความจริงแล้วตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2493 หลังการรัฐประหารของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประเทศไทยและสหรัฐก็มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันมาก สหรัฐได้เริ่มนำเอาระบบอุปถัมภ์เข้ามาใช้ในประเทศไทย โดยการให้ความช่วยเหลือและค้ำจุนอำนาจของผู้มีอำนาจในประเทศไทย เช่น การที่องค์การสืบราชการลับ ซีไอเอ. สนับสนุนพล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ และกระทรวงกลาโหมอเมริกาสนับสนุนจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้น ในสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร สหรัฐก็ได้ใช้ระบบดังกล่าวค้ำจุนอำนาจเผด็จการของรัฐบาลนั้นไว้เช่นกัน ซึ่งกลายเป็นความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างผู้นำทางการทหารของไทยกับสหรัฐตลอดมา
หลัง 14 ตุลาคม องค์การของอเมริกาเช่น ซีไอเอ. ยังคงมีบทบาทในประเทศไทยอย่างมาก จากการที่พลเอกสายหยุด เกิดผล ผู้อำนวยการ กอ.รมน. เคยให้สัมภาษณ์เมื่อ พ.ศ.2517 ยอมรับว่า ซีไอเอ. ยังมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกองกำลังตำรวจตระเวนชายแดน และพลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ รองอธิบดีกรมตำรวจก็ให้สัมภาษณ์ว่า ซีไอเอ. กำลังให้ความช่วยเหลือประเทศไทยอย่างจริงจัง และตัวเขาเองยังได้รับรายงานจาก ซีไอเอ. อย่างสม่ำเสมอ แต่ได้กล่าวแก้ต่างว่า ซีไอเอ. เป็นหน่วยงานประชาธิปไตย และเกลียดเผด็จการ และเป็นที่เปิดเผยรู้กันทั่วไปว่า ซีไอเอ. เป็นผู้จ่ายเงินสนับสนุนพลโทวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์เป็นหัวหน้าหน่วยเสือพรานซึ่งไปรบในลาวในระยะก่อนหน้านี้
นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังเป็นผู้สนับสนุนอย่างแข็งขันต่อ กอ.รมน.ของไทย และรวมทั้งเงินทุนในการก่อตั้งนวพลด้วย ในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2518 นายจอห์น รัสกิน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์สตาร์ทรีบูน ในเมืองมีนิอาโปลิส ในสหรัฐว่า ซีไอเอ.ได้ให้การช่วยเหลือด้านการเงินแก่นวพลและกระทิงแดงถึง 12.5 ล้านเหรียญสหรัฐ และสำหรับการช่วยเหลืออย่างเป็นทางการ รัฐบาลสหรัฐก็ยังให้เงินให้เปล่ากับรัฐบาลไทยถึง 566 ล้านบาท
ดังนั้น แม้ว่ากรณี 6 ตุลาคมจะไม่ปรากฏหลักฐานว่า องค์กรหรือหน่วยงานใดของสหรัฐอเมริกาจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการสังหารโหด ส่วนการเกี่ยวข้องทางอ้อมหรือท่าทีอย่างลับๆ ของสหรัฐอเมริกาต่อกรณี 6 ตุลานั้นยังต้องศึกษาต่อไป
ควรกล่าวด้วยว่า ยังมีกลุ่มการเมืองที่สำคัญอีกกลุ่มหนึ่งที่มีส่วนอย่างสำคัญของการก่อกรณีนองเลือด 6 ตุลาคม 2519 นั่นคือ กลุ่มทหารหรือคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน กล่าวคือ ก่อนหน้านี้ ตั้งแต่เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจการบริหารประเทศเมื่อ พ.ศ.2501 ได้เรียกคณะของตนที่ยึดอำนาจว่า”คณะปฏิวัติ” ด้วยความมุ่งหมายที่จะสร้างเข้าใจว่า การมีการปฏิวัติประเทศไทยให้มุ่งไปสู่ความก้าวหน้า ต่อมาเมื่อ จอมพลถนอม กิตติขจร ยึดอำนาจตนเองเมื่อ พ.ศ.2514 ก็นำคำว่า “คณะปฏิวัติ”มาใช้อีกครั้ง ดังนั้น เมื่อหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 คำว่า”ปฏิวัติ”จึงเสื่อมค่าแห่งการใช้ลง คณะทหารที่คิดการยึดอำนาจจึงต้องคิดหาคำใหม่ คำว่า”ปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” ก่อนหน้านี้หมายถึง การปรับปรุงการบริหารประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองแผ่นดิน โดยใช้แนวความคิดและวิธีการแบบตะวันตกมาดำเนินการ ดังนั้น แนวโน้มที่จะมีการรัฐประหารครั้งใหม่ ในนามของ”คณะปฏิรูป” เกิดขึ้นก่อนหน้านี้แล้ว
ในวันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2518 ก็มีกลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการ ทหาร ตำรวจ นักธุรกิจ และผู้นำกรรมกรฝ่ายขวา ได้นัดประชุมที่สโมสรสีลม และตั้งกลุ่มที่ชื่อว่า“ขบวนการปฏิรูปแห่งชาติ” ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในกลุ่มนี้ ก็คือ นายประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์ ข้าราชการกรมแรงงาน ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการจัดตั้งกรรมกรฝ่ายขวา กลุ่มขบวนการปฏิรูปได้แถลงเป้าหมายที่จะต่อต้านคอมมิวนิสต์ โดยโจมตีรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ด้วยว่า เป็นรัฐบาลที่อ่อนเกินไป “ปล่อยให้คอมมิวนิสต์เพ่นพ่านเต็มแผ่นดิน” จึงได้เสนอให้มีการเก็บหนังสือฝ่ายสังคมนิยมทั่วประเทศ แต่ปรากฏว่าการสร้างกระแสของขบวนการ ยังไม่ประสบความสำเร็จ แต่กลุ่มขบวนการปฏิรูปยังคงเคลื่อนไหวต่อมา จนกระทั่งถึงวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2519 ก็มีคำว่า“สภาปฏิรูป” ลงใน นสพ.ไทยรัฐแล้วในคอลัมน์ “ไต้ฝุ่น” จากนั้น การรัฐประหารในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มทหารที่ยึดอำนาจจึงเรียกคณะของตนว่า “คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน”
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ประกอบด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นหัวหน้าคณะ นอกจากนี้ยังมี พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ พล.อ.อ.กมล เตชะตุงคะ พล.อ.เสริม ณ นคร และ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นต้น แต่กลุ่มทหารที่จะนำมาสู่การรัฐประหารนี้มิได้รวมตัวกันในลักษณะเช่นนี้มาก่อน หลังกรณี 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 นั้น กลุ่มทหารได้แบ่งออกเป็นกำลังต่างๆ 3 กลุ่มใหญ่นั่นคือ กลุ่มพล.อ.กฤษณ์ สีวะรา หรือกลุ่มสี่เสากลุ่มหนึ่ง กลุ่มทหารอำนาจเดิมของจอมพลประภาส จารุเสถียร ซึ่งจะมี พล.ท.ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา และพล.อ.ประเสริฐ ธรรมศิริ เป็นแกนอีกกลุ่มหนึ่ง แต่กลุ่มที่สามที่จะมีบทบาทมาก คือ กลุ่มซอยราชครู ซึ่งนำโดยพล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร หัวหน้าพรรคชาติไทย ร่วมด้วย พล.ต.ชาติชาย ชุณหะวัณ เลขาธิการพรรค และ พล.ต.ศิริ ศิริโยธิน รองหัวหน้าพรรค และมีการเชื่อมประสานเข้ากับข้าราชการทหารตำรวจคนสำคัญ ที่ยังอยู่ในประจำการ เช่น พล.ท.ไพฑูรย์ อิงคตานุวัตร พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ พล.ท.วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ พล.ต.ท.ชุมพล โลหะชาละ เป็นต้น กลุ่มนี้ แสดงบทบาทเป็นปีกขวาของคณะรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดังในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.2518 พล.ต.ประมาณ เป็นผู้เสนอคำขวัญ “ขวาพิฆาตซ้าย” เรียกร้องให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าที่เห็นว่าเป็น”ฝ่ายขวา”ลุกขึ้นพิฆาต “ฝ่ายซ้าย” คือ ขบวนการนักศึกษา
กลุ่มทหารทั้งสามกลุ่มนี้มิได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนัก แต่กลุ่มที่มีบทบาทสูงที่สุดก็คือกลุ่มพล.อ.กฤษณ์ สีวะรา แต่ พล.อ.กฤษณ์ เกษียณอายุราชการเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2518 พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดแทน ขณะที่ พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ ได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก สำหรับ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ได้รับตำแหน่งเสนาธิการทหาร ปรากฏว่าในเดือนเมษายน พ.ศ.2519 พลเอกกฤษณ์ได้ถึงแก่กรรมอย่างมีเงื่อนงำ หลังจากที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้เพียงสองสัปดาห์ พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ ผู้บัญชาการทหารบก ได้ขึ้นมามีบทบาทในกลุ่มนี้แทนโดยรับช่วงอำนาจต่อมาจนกระทั่งเกษียณอายุราชการในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2519 และ พล.อ.เสริม ณ นคร ได้เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกต่อมา
อย่างไรก็ตาม นายทหารส่วนมากจะมีบทบาทที่ไม่เปิดเผยนัก ในการประกาศตัวเป็นศัตรูกับขบวนการนักศึกษา นอกจากจะเป็นผู้สนับสนุนองค์กรฝ่ายขวาต่างๆ และแสดงบทบาทในการทำลายขบวนการนักศึกษาผ่าน กอ.รมน. ส่วนการสังหารหมู่เมื่อเช้าวันที่ 6 ตุลาคม ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ากลุ่มเหล่านี้จะมีส่วนเกี่ยวข้องในการนี้แต่อย่างใด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งพล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ พล.อ.เสริม ณ นคร และพล.อ.อ.กมล เตชะตุงคะนั้น ไม่น่าที่จะเป็นตัวการใหญ่ที่เป็นต้นเหตุให้เกิดการสังหารหมู่ครั้งนี้ เพราะถ้าหากว่านายทหารเหล่านี้เป็นแกนกลาง จะสามารถใช้กำลังทัพดำเนินการได้เลย ไม่ต้องใช้กำลังตำรวจกองปราบ และตำรวจตระเวนชายแดนเข้าสังหารนักศึกษาประชาชนอย่างที่ปรากฏ เพราะอำนาจสั่งการเหนือตำรวจตระเวนชายแดน ไม่น่าจะอยู่ในมือนายทหารเหล่านี้ในระยะนั้น
ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 นั้น มีความเป็นไปได้ว่า นายทหารกลุ่มอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งทราบต่อมาว่าเป็น กลุ่มของพลเอกฉลาด หิรัญศิริ และ พล.ท.วิทูรย์ ยะสวัสดิ์ จะมีส่วนโดยตรงในการปราบปรามนักศึกษามากกว่า และเตรียมจะก่อการรัฐประหารในเวลาดึก แต่ปรากฏว่า กลุ่มของพล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ และ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ได้ร่วมกันก่อการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองเสียก่อนในตอนหัวค่ำวันนั้นเอง
หลังจากการรัฐประหาร คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ได้แต่งตั้งให้ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี นายธานินทร์ ขณะนั้นอายุ 50 ปี ดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาหัวหน้าคณะศาลฏีกา เป็นบุคคลที่ประชาชนทั่วไปไม่เคยได้ยินชื่อในวงการเมืองมาก่อนเลย นอกจากชื่อเสียงในฐานะที่เป็นวิทยากรต่อต้านคอมมิวนิสต์ และมีแนวคิดทางการเมืองขวาตกขอบ นายชวน หลีกภัย สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ได้เสนอหลักฐานว่า “สภาปฏิรูป” ได้มีการเตรียมการมาล่วงหน้า อย่างน้อยตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2519 และรวมทั้งมีการเตรียมตัวบุคคลที่จะมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย และมีความเป็นไปได้ว่า บุคคลนั้นก็คือ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร นั่นเอง ดังที่ บุญชนะ อัตถากร ได้อธิบายถึงคำบอกเล่าของ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิรูป ดังมีใจความส่วนหนึ่งว่า
- เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2519 มีข่าวลืออยู่ทั่วไปว่า จะมีทหารคิดก่อการปฏิวัติ...เหตุการณ์บ้านเมืองในขณะนั้น ฝ่ายซ้ายกำลังฮึกเหิม และรบกวนความสงบสุขอยู่ทั่วไป จึงได้กราบบังคมทูลขึ้นไปยังในหลวง ซึ่งประทับอยู่ที่ภูพิงค์ราชนิเวศในขณะนั้น ...คุณสงัด จึงได้กราบบังคมทูลให้ทรงทราบสถานการณ์บ้านเมืองว่า เป็นที่น่าวิตก ถ้าปล่อยไปบ้านเมืองอาจจะต้องตกอยู่ในสถานะอย่างเดียวกับลาวและเขมร จึงควรดำเนินการปฏิวัติ... อยากได้พรจากพระโอษฐ์ให้ทางทหารดำเนินการได้ตามที่คิดไว้ แต่ในหลวงมิได้รับสั่งตรงๆ คงรับสั่งแต่ว่า ให้คิดเอาเองว่า ควรจะทำอย่างไรต่อไป
- คุณสงัดเห็นว่า เมื่อไม่รับสั่งตรงๆ ก็คงจะดำเนินการไม่ได้ จึงกราบบังคมทูลว่า ถ้าทางทหารยึดอำนาจการปกครองได้แล้ว..ใครควรจะเป็นนายกรัฐมนตรี... ได้กราบ บังคมทูลชื่อไปประมาณ 15 ชื่อ...แต่ไม่ทรงรับสั่งสนับสนุนผู้ใด ...เมื่อไม่ได้ชื่อบุคคล และเวลาก็ล่วงเลยไปมากแล้ว คุณสงัดก็เตรียมตัวจะกราบบังคมทูลลากลับ แต่ก่อนจะออกจากที่เฝ้าในหลวงได้รับสั่งว่า จะทำอะไรลงไปก็ควรปรึกษานักกฎหมาย คือ คุณธานินทร์ กรัยวิเชียร ผู้พิพากษาศาลฎีกาเสียด้วย คุณสงัดบอกว่า ไม่เคยรู้จักคุณธานินทร์มาก่อนเลย พอมาถึงกรุงเทพฯก็ได้บอกพรรคพวกทางกรุงเทพฯ ให้ทราบ และเชิญคุณธานินทร์มาพบ
จากที่กล่าวมา เราจะเห็นได้ว่า เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 เป็นผลผลิตอันสืบเนื่องจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 เมื่อขบวนการนักศึกษาได้รับชัยชนะในการต่อสู้ และนำมาซึ่งกระแสการตื่นตัวด้านประชาธิปไตยครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งในกระแสดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดการตื่นตัวอย่างมากของประชาชนกลุ่มต่างๆ การต่อสู้เพื่อสิทธิของประชาชนชนชั้นล่าง ทั้งกรรมกร ชาวนา และ กลุ่มสังคมอื่นๆ เกิดขึ้นเป็นระลอกคลื่น นอกจากนี้ ยังมีกระแสต่อต้านจักรพรรดินิยมอเมริกา รวมทั้งกระแสแห่งการขยายตัวของแนวคิดสังคมนิยม ซึ่งเป็นแนวคิดที่วิพากษ์สังคมเก่า เสนอทางออกใหม่แก่สังคม และนำมาซึ่งการเรียกร้องการปฏิวัติวัฒนธรรม สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่รับใช้ประชาชน เป็นต้น ซึ่งเป็นกระแสคลื่นที่ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน
กระแสต่างๆ เหล่านี้ ผ่านเข้ามาในสังคมไทย ซึ่งเคยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างแบบอนุรักษ์นิยม ชนชั้นนำที่กุมอำนาจรัฐนั้น ไม่คุ้นเคยกับประชาธิปไตย ที่จะเปิดให้ประชาชนมีเสรีภาพในการต่อสู้เพื่อสิทธิของตนเอง คุ้นเคยแต่กับการใช้อำนาจเผด็จการ คุมอำนาจเหนือประชาชนที่ภักดี และว่านอนสอนง่าย เชื่อในสิ่งเดียวกับชนชั้นนำ และปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐ ชนชั้นนำไทยจึงรู้สึกตระหนกและไม่เข้าใจกระแสเช่นนี้ เข้าใจไปว่ากระแสก้าวหน้าเหล่านี้ จะบั่นทอนความมั่นคงของแห่งสถานะของตน ยิ่งกว่านั้น ความรู้สึกไม่มีเสถียรภาพ หวาดวิตกในกระแสการเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบ้าน เกรงว่าขบวนการนักศึกษา จะเป็นตัวการก่อให้เกิดการปฏิวัติในลักษณะเดียวกันในสังคมไทย นำมาซึ่งการวางแผนที่จะหยุดยั้งการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ แต่ชนชั้นนำของไทยนั้นก็ไม่มีบทเรียน ไม่รู้จักการแก้ปัญหาทางการเมืองกับฝ่ายประชาชนอย่างสันติวิธี และทำอย่างอื่นไม่เป็นนอกจากวางแผนรัฐประหาร ดังนั้น จึงได้ใช้วิธีการที่เคยชิน คือใช้ความรุนแรงในการสะกัดกั้นและปราบปราม แล้วสร้างเงื่อนไขในการยึดอำนาจโดยกองทัพ
ดังนั้น แผนการก่อการรัฐประหารและเตรียมการที่จะสังหารนักศึกษานั้น ได้มีการเตรียมการมาตั้งแต่ก่อน อย่างน้อยตั้งแต่กลางปี พ.ศ.2517 เมื่อเกิดกรณีพลับพลาไชย กรณีนี้ ก็ได้เห็นถึงความพร้อมของอำนาจรัฐ ที่จะใช้ความรุนแรงต่อฝ่ายประชาชน หลังจากนั้นก็เริ่มมีการจัดตั้งกองกำลังฝ่ายขวา และกลุ่มอันธพาลการเมืองขึ้น แล้วใช้ความรุนแรงสะกัดกั้นการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา และได้เกิดการสังหารฝ่ายนักศึกษา นักการเมืองฝ่ายสังคมนิยม และผู้นำชาวนาเกือบตลอดเวลา นอกจากนี้ ก็ได้เริ่มมีการสร้างสถานการณ์ต่างๆ เพื่อหาทางปราบปรามฝ่ายนักศึกษาประชาชน รวมทั้งการปิดล้อมการประชาสัมพันธ์ของขบวนการนักศึกษา แล้วทำลายภาพลักษณ์ของฝ่ายนักศึกษา และแม้กระทั่งมีการเชื่อมโยงหลายครั้งว่า ฝ่ายนักศึกษามีเป้าหมายจะทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อให้ประชาชนรังเกียจชิงชังขบวนการนักศึกษา หรืออย่างน้อยก็สับสนไม่เข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อจะได้ไม่ให้การสนับสนุนฝ่ายนักศึกษา การกระทำเช่นนี้มิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญแต่มีการวางแผนและกำหนดการล่วงหน้าทั้งสิ้น
หลังจากที่ได้มีการเตรียมการเรียบร้อย ใน พ.ศ.2519 ก็ได้เริ่มมีการวางเงื่อนไขรัฐประหาร ในส่วนการปราบปราม ก็ได้มีการเตรียมไว้ก่อนเช่นกัน จึงได้มีการนำเอาจอมพลประภาส จารุเสถียร และจอมพลถนอม กิตติขจร เข้ามาในประเทศตามลำดับ เพื่อสร้างสถานการณ์ปราบปรามและก่อรัฐประหาร และเงื่อนไขดังกล่าวสมบูรณ์เมื่อเกิดกรณีใส่ร้ายป้ายสีนักศึกษา ในกรณีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช จึงได้ปลุกระดมประชาชนขึ้นมาต่อต้านนักศึกษาในวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2519 และใช้ความรุนแรงของอำนาจรัฐเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนในเวลาเช้าวันที่ 6 ตุลาคม และก็ก่อการรัฐประหารฟื้นเผด็จการในเย็นวันเดียวกันนั้นเอง [1]
อ้างอิง
- ↑ เรียบเรียงมาจาก สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519, 2544, หน้า 63 – 166.