ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเสนอชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี (ลำดับขั้นตอน)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
==บทนำ==
==บทนำ==


นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศตลอดมา รัฐธรรมนูญที่มีมาทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยมีการแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ  
นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้มี[[การปกครองระบอบประชาธิปไตย]] โดยมี[[รัฐธรรมนูญ]]เป็น[[กฎหมายสูงสุด]]ของประเทศตลอดมา รัฐธรรมนูญที่มีมาทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบ[[รัฐสภา]] โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า '''“[[อำนาจอธิปไตย]]เป็นของปวงชนชาวไทย”''' [[พระมหากษัตริย์]]ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [[คณะรัฐมนตรี]] และ[[ศาล]] โดยมีการแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ
๑. รัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติในการตรากฎหมายต่าง ๆ  
๒. คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารในการบริหารราชการแผ่นดิน สำหรับคณะรัฐมนตรีนั้นประกอบไปด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน
๑. รัฐสภาเป็นผู้ใช้[[อำนาจนิติบัญญัติ]]ในการตรากฎหมายต่าง
๓. ศาลเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
๒. คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้[[อำนาจบริหาร]]ในการบริหารราชการแผ่นดิน สำหรับคณะรัฐมนตรีนั้นประกอบไปด้วย[[นายกรัฐมนตรี]]และ[[รัฐมนตรี]]ตามจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตาม[[หลักความรับผิดชอบ]]ร่วมกัน
 
๓. ศาลเป็นผู้ใช้[[อำนาจตุลาการ]]ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕, หน้า ๗.</ref>




==ประวัติความเป็นมาของรัฐมนตรี==
==ประวัติความเป็นมาของรัฐมนตรี==


คณะรัฐมนตรีมีที่มาจากคณะเสนาบดีในอดีต สมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก และให้ราษฎรช่วยกัน “ถือบ้านถือเมือง” ในสมัยอยุธยามีการตั้งตำแหน่งจตุสดมภ์ ๔ ตำแหน่ง คือ เวียง วัง คลัง นา มีเสนาบดีเป็นหัวหน้ารับผิดชอบแต่ละฝ่าย มีสมุหนายกและสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าเสนาบดีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง แต่บทบาทเน้นหนักไปในทางการเป็นแม่ทัพใหญ่และรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้เป็นสำคัญ  
คณะรัฐมนตรีมีที่มาจากคณะเสนาบดีในอดีต สมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก และให้ราษฎรช่วยกัน '''“ถือบ้านถือเมือง”''' ในสมัยอยุธยามีการตั้งตำแหน่ง[[จตุสดมภ์]] ๔ ตำแหน่ง คือ [[เวียง]] [[วัง]] [[คลัง]] [[นา]] มีเสนาบดีเป็นหัวหน้ารับผิดชอบแต่ละฝ่าย มีสมุหนายกและสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าเสนาบดีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง แต่บทบาทเน้นหนักไปในทางการเป็นแม่ทัพใหญ่และรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้เป็นสำคัญ<ref>โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗) </ref>
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงจัดการปกครองในลักษณะเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยาและธนบุรี จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ โดยทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of state) และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ขึ้น ยกเลิกตำแหน่งสมุหกลาโหมและสมุหนายก และยกฐานะกรมต่าง ๆ ขึ้นเป็นกระทรวง มีเสนาบดีเป็นหัวหน้า       มีปลัดทูลฉลองเป็นผู้กลั่นกรองเรื่องและช่วยราชการภายในกระทรวง มีการประชุมเสนาบดีในทำนองการประชุมคณะรัฐมนตรี แต่ไม่มีหัวหน้าคณะเสนาบดีในทำนองนายกรัฐมนตรี เพราะในการประชุมคณะเสนาบดี พระมหากษัตริย์ประทับเป็นประธานเอง หรือมิฉะนั้นก็ให้ที่ประชุมเลือกประธานเป็นครั้งคราว การบริหารราชการแผ่นดินโดยระบบคณะเสนาบดีได้ดำเนินมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการจัดตั้งคณะองคมนตรีสภา ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาในการปกครองและการออกกฎหมายทำนองเดียวกับรัฐสภา และมีการจัดตั้งเสนาบดีสภาเป็นที่ประชุมปรึกษาของเสนาบดีทั้งหลาย การบริหารราชการแผ่นดินในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงเป็นเรื่องของพระมหากษัตริย์โดยตรง การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งก็ดี การกำหนดนโยบายในการบริหารก็ดี การควบคุมการบริหารก็ดี เป็นเรื่องตามพระราชอัธยาศัย
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดยคณะราษฎรแล้ว ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งกำหนดให้มี “คณะกรรมการราษฎร” มีจำนวน ๑๕ คน ทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน มี “ประธานกรรมการราษฎร” เป็นหัวหน้า ในระหว่างที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติให้ใช้ คำว่า “รัฐมนตรี” แทน “กรรมการราษฎร” และใช้คำว่า “นายกรัฐมนตรี” แทน “ประธานคณะกรรมการราษฎร” และคำว่า “คณะรัฐมนตรี” แทนคำคณะกรรมการราษฎรว่า “” ซึ่งเป็นคำที่ใช้ปรากฏครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน  
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงจัดการปกครองในลักษณะเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยาและธนบุรี จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงป[[ฏิรูปการปกครอง]]ใหม่ โดยทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of state) และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ขึ้น ยกเลิกตำแหน่ง[[สมุหกลาโหม]]และ[[สมุหนายก]] และยกฐานะกรมต่าง ๆ ขึ้นเป็น[[กระทรวง]] มีเสนาบดีเป็นหัวหน้า<ref>สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, “การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒–๒๕๐๐”, (กรุงเทพฯ: เสมาธรรม), ๒๕๔๙. หน้า ๓๐๒ - ๓๑๗.</ref> มี[[ปลัดทูลฉลอง]]เป็นผู้กลั่นกรองเรื่องและช่วยราชการภายในกระทรวง มีการประชุมเสนาบดีในทำนองการประชุมคณะรัฐมนตรี แต่ไม่มีหัวหน้าคณะเสนาบดีในทำนองนายกรัฐมนตรี เพราะในการประชุมคณะเสนาบดี พระมหากษัตริย์ประทับเป็นประธานเอง หรือมิฉะนั้นก็ให้ที่ประชุมเลือกประธานเป็นครั้งคราว [[การบริหารราชการแผ่นดิน]]โดยระบบคณะเสนาบดีได้ดำเนินมาจนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งมีการจัดตั้ง[[คณะองคมนตรีสภา]] ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาในการปกครองและการออก[[กฎหมาย]]ทำนองเดียวกับรัฐสภา และมีการจัดตั้งเสนาบดีสภาเป็นที่ประชุมปรึกษาของเสนาบดีทั้งหลาย การบริหารราชการแผ่นดินในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงเป็นเรื่องของพระมหากษัตริย์โดยตรง การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งก็ดี การกำหนดนโยบายในการบริหารก็ดี การควบคุมการบริหารก็ดี เป็นเรื่องตามพระราชอัธยาศัย<ref>โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>
 
 
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในวันที่ [[24 มิถุนายน พ.ศ. 2475|๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]] โดย[[คณะราษฎร]]แล้ว ได้มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕]] ซึ่งกำหนดให้มี '''“[[คณะกรรมการราษฎร]]”''' มีจำนวน ๑๕ คน ทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน มี '''“ประธานกรรมการราษฎร”''' เป็นหัวหน้า ในระหว่างที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร [[ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]ได้[[ลงมติ]]ให้ใช้ คำว่า '''“[[รัฐมนตรี]]”''' แทน '''“[[กรรมการราษฎร]]”''' และใช้คำว่า '''“[[นายกรัฐมนตรี]]”''' แทน '''“[[ประธานคณะกรรมการราษฎร]]”''' และคำว่า '''“[[คณะรัฐมนตรี]]”''' แทนคำ'''[[คณะกรรมการราษฎร]]'''ว่า “” ซึ่งเป็นคำที่ใช้ปรากฏครั้งแรกในรั[[ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕]] และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน<ref>นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์, “ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย”, (กรุงเทพฯ :    ขวัญนคร), ๒๕๔๙. หน้า ๘๓.</ref>


==ความหมายของรัฐมนตรี==
==ความหมายของรัฐมนตรี==


“รัฐมนตรี” หมายความถึง บุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีมี ๒ ฐานะ ฐานะแรกเป็นสมาชิก คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า และอีกฐานะหนึ่งเป็นเจ้ากระทรวงผู้มีอำนาจเต็มของส่วนราชการระดับกระทรวงตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
'''“รัฐมนตรี”''' หมายความถึง บุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงมี[[พระบรมราชโองการ]]โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีมี ๒ ฐานะ ฐานะแรกเป็นสมาชิก คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า และอีกฐานะหนึ่งเป็นเจ้ากระทรวงผู้มีอำนาจเต็มของส่วนราชการระดับกระทรวงตาม[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน]]<ref>คณิน บุญสุวรรณ, ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์”, (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘. หน้า ๗๕๗.</ref>
ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับ คณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และ รับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง (คำว่ารัฐมนตรีนี้ในสมัยโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).  รัฐมนตรี (Minister) ของกระทรวงต่างๆ นี้ เมื่อได้รับการแต่งตั้งครบทุกกระทรวงตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันนี้ในฐานะผู้นำในการบริหารประเทศ ก็จะเรียกรวมกันว่าเป็น “คณะรัฐมนตรี”   
 
ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับ คณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และ รับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง (คำว่ารัฐมนตรีนี้ในสมัยโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).<ref> ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref> รัฐมนตรี (Minister) ของกระทรวงต่างๆ นี้ เมื่อได้รับการแต่งตั้งครบทุกกระทรวงตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันนี้ในฐานะผู้นำในการบริหารประเทศ ก็จะเรียกรวมกันว่าเป็น '''“คณะรัฐมนตรี”'''<ref>สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔, หน้า ๑.</ref>  


==องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี==
==องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี==


คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ๑ คนกับรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีจะแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) หรือจากบุคคลภายนอกก็ได้ แต่จะแต่งตั้งจากสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ไม่ได้ นายกรัฐมนตรีถือว่าเป็นรัฐมนตรี จึงต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับรัฐมนตรี  
คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ๑ คนกับรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีจะแต่งตั้งจาก[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]([[ส.ส.]]) หรือจากบุคคลภายนอกก็ได้ แต่จะแต่งตั้งจาก[[สมาชิกวุฒิสภา]]([[ส.ว.]]) ไม่ได้ นายกรัฐมนตรีถือว่าเป็นรัฐมนตรี จึงต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับรัฐมนตรี<ref>The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>


==การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี (ขั้นตอนการแต่งตั้งรัฐมนตรี) ==
==การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี (ขั้นตอนการแต่งตั้งรัฐมนตรี) ==


การแต่งตั้งรัฐมนตรีนั้น นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้นำรายชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งขึ้นกราบบังคม ทูล เพื่อทรงแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ซึ่งในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอ รัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ด้วย  
การแต่งตั้งรัฐมนตรีนั้น นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้นำรายชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งขึ้นกราบบังคม ทูล เพื่อทรงแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ซึ่งในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอ รัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ด้วย<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.</ref>
ซึ่งการจะเป็นรัฐมนตรีได้นั้น ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ และลงนามรับผิดชอบเรียกว่า “ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ”     ส่วนการจะเป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับขั้นตอนในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีตามลำดับดังนี้
 
ซึ่งการจะเป็นรัฐมนตรีได้นั้น ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ และลงนามรับผิดชอบเรียกว่า “ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ส่วนการจะเป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]ถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับขั้นตอนในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีตามลำดับดังนี้
   
   
๑. มีการเลือกตั้งทั่วไปซึ่งจะต้องจัดขึ้นในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร
๑. มี[[การเลือกตั้งทั่วไป]]ซึ่งจะต้องจัดขึ้นในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร
   
   
๒. คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้ง
๒. [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]]ประกาศผลการเลือกตั้ง
   
   
๓. พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา
๓. พระมหากษัตริย์ทรงตรา[[พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา]]


๔. พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำรัฐพิธีเปิดประชุมสมัยประชุมสามัญทั่วไปครั้งแรก
๔. พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำ[[รัฐพิธีเปิดประชุมสมัยประชุมสามัญทั่วไป]]ครั้งแรก


๕. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร  
๕. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร  
บรรทัดที่ 47: บรรทัดที่ 52:
๖. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร  
๖. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร  


๗. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคล   ซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกตามข้อ ๔    การเสนอชื่อผู้ควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรรับรอง (๑ ใน ๕ ของจำนวน ๕๐๐ คน เท่ากับ ๑๐๐ คน) มติเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำโดยการลงคะแนนอย่างเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (๒๕๑ คน) แต่ถ้าคะแนนเสียงยังไม่ได้มากกว่ากึ่งหนึ่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็สามารถเรียกประชุมได้อีกจนกว่าจะได้มติเช่นว่านั้น แต่ถ้าพ้นกำหนด ๓๐ วันแล้ว ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำชื่อบุคคลผู้ได้คะแนนเสียงสูงสุดขึ้นกราบบังคมทูลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาดังกล่าว แม้บุคคลนั้นจะได้คะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ  
๗. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคล ซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกตามข้อ ๔    การเสนอชื่อผู้ควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ[[สภาผู้แทนราษฎร]]รับรอง (๑ ใน ๕ ของจำนวน ๕๐๐ คน เท่ากับ ๑๐๐ คน) มติเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำโดย[[การลงคะแนนอย่างเปิดเผย]] และมี[[คะแนนเสียง]]มากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (๒๕๑ คน) แต่ถ้าคะแนนเสียงยังไม่ได้มากกว่ากึ่งหนึ่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็สามารถเรียกประชุมได้อีกจนกว่าจะได้มติเช่นว่านั้น แต่ถ้าพ้นกำหนด ๓๐ วันแล้ว ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำชื่อบุคคลผู้ได้คะแนนเสียงสูงสุดขึ้นกราบบังคมทูลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาดังกล่าว แม้บุคคลนั้นจะได้คะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ  


๘. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี  
๘. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี  
บรรทัดที่ 55: บรรทัดที่ 60:
๑๐. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรี  
๑๐. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรี  


๑๑. นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ โดยรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำ ดังต่อไปนี้
๑๑. นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ โดยรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำ<ref> วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์].  สืบค้นจาก :  http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref> ดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ” 


๑๒. คณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษาเพื่อร่างนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.</ref>
ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร จะต้องมีการดำเนินการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามข้อ ๗ – ๑๒ ใหม่      ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ วรรคสอง


๑๒. คณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษาเพื่อร่างนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ<ref>วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก :  http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).</ref>
ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือมีการ[[ยุบสภาผู้แทนราษฎร]] จะต้องมีการดำเนินการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามข้อ ๗ – ๑๒ ใหม่      ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ วรรคสอง


==คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี==
==คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.</ref>==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๗๔ ได้กำหนดว่า รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ คือ
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐]] มาตรา ๑๗๔ ได้กำหนดว่า รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ คือ


๑. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด  
๑. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด  
บรรทัดที่ 78: บรรทัดที่ 84:
๖. ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช  
๖. ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช  


๗. ไม่อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
๗. ไม่อยู่ในระหว่าง[[ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง]]


๘. ไม่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ  
๘. ไม่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ  


๙. ไม่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล
๙. ไม่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของ[[ศาล]]


๑๐. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
๑๐. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจาก[[ราชการ]] [[หน่วยงานของรัฐ]] หรือ[[รัฐวิสาหกิจ]] เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการ[[ทุจริต]]และ[[ประพฤติมิชอบ]]ในวงราชการ


๑๑. ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ  
๑๑. ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ  


๑๒. ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำนอกจากข้าราชการการเมือง
๑๒. ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำนอกจาก[[ข้าราชการการเมือง]]


๑๓. ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
๑๓. ไม่เป็น[[สมาชิกสภาท้องถิ่น]]หรือ[[ผู้บริหารท้องถิ่น]]


๑๔. ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ  
๑๔. ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ  


๑๕. ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๑๕. ไม่เป็น[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] [[กรรมการการเลือกตั้ง]] [[ผู้ตรวจการแผ่นดิน]] [[กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] [[กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] หรือ[[กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]]


๑๖. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเนื่องจากการไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไม่ชอบตามกฎหมาย
๑๖. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเนื่องจากการไม่[[ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน]] หรือยื่น[[บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน]]ไม่ชอบตามกฎหมาย


๑๗. ไม่เคยถูกวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
๑๗. ไม่เคยถูก[[วุฒิสภา]]มีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง


๑๘. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๕ ปีก่อนได้รับแต่งตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
๑๘. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๕ ปีก่อนได้รับแต่งตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือ[[ความผิดลหุโทษ]]


๑๙. ไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน ๒ ปีนับถึงวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี  
๑๙. ไม่เป็น[[สมาชิกวุฒิสภา]] หรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน ๒ ปีนับถึงวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี  


==อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี==
==อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี==


๑. อำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ  
'''๑. อำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ'''<ref>เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>


๑.๑ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน รักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๑.๑ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วย[[ความซื่อสัตย์สุจริต]] เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน รักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่ง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]


๑.๒ มีสิทธิเข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา และในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้เข้าประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีต้องเข้าร่วมประชุม  
๑.๒ มีสิทธิเข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่[[ประชุมสภา]] และในกรณีที่[[สภาผู้แทนราษฎร]]หรือ[[วุฒิสภา]]มีมติให้เข้าประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีต้องเข้าร่วมประชุม  


๑.๓ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ถ้ารัฐมนตรีผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะเดียวกันด้วย ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้นออกเสียงลงคะแนนในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่หรือการมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น  
๑.๓ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ถ้ารัฐมนตรีผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะเดียวกันด้วย ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น[[ออกเสียงลงคะแนน]]ในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่หรือการมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น  


๑.๔ ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบต่อสภาผู้แทนราษฎรในหน้าที่ของตน และต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี  
๑.๔ ใน[[การบริหารราชการแผ่นดิน]] รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบต่อสภาผู้แทนราษฎรในหน้าที่ของตน และต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี  


๒. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
'''๒. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน'''<ref>สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๓.</ref>
   
   
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดังนี้  
[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔]] แก้ไขเพิ่มเติมโดย[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ ๕)พ.ศ.๒๕๔๕]] ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวง]] ดังนี้  


๒.๑ เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง และของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม หน่วยงานของรัฐในกำกับและความรับผิดชอบในสังกัดกระทรวง เช่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน เป็นต้น โดยรัฐมนตรีว่าการอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได้  
๒.๑ เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง และของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็น[[กรม]] หน่วยงานของรัฐในกำกับและความรับผิดชอบในสังกัดกระทรวง เช่น รัฐวิสาหกิจ [[องค์การมหาชน]] เป็นต้น โดยรัฐมนตรีว่าการอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได้  


๒.๒ กำหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ให้เป็นไปภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง หรือตามมติคณะรัฐมนตรี  
๒.๒ กำหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ [[การสั่งการ]] [[การอนุญาต]] [[การอนุมัติ]] [[การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีว่าการ]]กระทรวง ให้เป็นไปภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย [[ข้อบังคับ]] [[ระเบียบ]] และ[[คำสั่ง]]ที่เกี่ยวข้อง หรือตามมติคณะรัฐมนตรี  


๓. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบข้าราชการพลเรือน
'''๓. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบข้าราชการพลเรือน'''<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.</ref>
   
   
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ด้านการบริหารงานบุคคล การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และข้าราชการประจำสำนักงานรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑  
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ด้าน[[การบริหารงานบุคคล]] การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และข้าราชการประจำสำนักงานรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑  


๔. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ  
'''๔. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ'''<ref>สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๕.</ref>


พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ กำหนดให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอคำขอตั้งงบประมาณประจำปีของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณภายในเวลาที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ มีอำนาจในการกำกับตรวจสอบโดยอาจเรียกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาเสนอข้อเท็จจริง และมีหน้าที่ในการประกาศรายงานรับจ่ายเงินประจำปีเมื่อสิ้นปีงบประมาณในราชกิจจานุเบกษา
[[พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒]] กำหนดให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอคำขอตั้งงบประมาณประจำปีของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณภายในเวลาที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ มีอำนาจในการกำกับตรวจสอบโดยอาจเรียกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาเสนอข้อเท็จจริง และมีหน้าที่ในการประกาศรายงานรับจ่ายเงินประจำปีเมื่อสิ้นปีงบประมาณใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]


๕. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น  
'''๕. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น'''<ref> เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๖.</ref>


๕.๑ มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎหมายอื่น ๆ ของกระทรวงและหรือส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับหรือความรับผิดชอบของกระทรวงที่ระบุให้เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี  
๕.๑ มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎหมายอื่น ๆ ของกระทรวงและหรือส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับหรือความรับผิดชอบของกระทรวงที่ระบุให้เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี  
บรรทัดที่ 138: บรรทัดที่ 144:
๕.๒ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการการเมืองในสังกัดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖  
๕.๒ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการการเมืองในสังกัดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖  


๕.๓ สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดในการปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง เช่น ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒
๕.๓ สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดในการปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง เช่น [[ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒]]


๖. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี  
'''๖. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี'''<ref>เรื่องเดียวกัน หน้า ๓๖.</ref>
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่จากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีให้ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามความจำเป็น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่จากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีให้ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามความจำเป็น


==ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี==
==ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี<ref>อัครเมศวร์ ทองนวล, “สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี, (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔. หน้า ๙.</ref>==


๑. ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ  
'''๑. ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ'''
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะต่อรัฐสภาในการบริหารราชการตามนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี ไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม นายกรัฐมนตรีก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะนี้ จะครอบคลุมทุกเรื่องของคณะรัฐมนตรี เช่น เรื่องนโยบายของคณะรัฐมนตรี เรื่องการเสนอร่างพระราชบัญญัติ การออกพระราชกำหนด การออกพระราชกฤษฎีกา เป็นต้น ความรับผิดชอบร่วมกันจะมีที่มาจากการมีมติในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะต่อรัฐสภาในการบริหารราชการตามนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี ไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม นายกรัฐมนตรีก็อาจถูกตั้ง[[กระทู้ถาม]] หรือถูกเสนอ[[ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป]]เพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้


๒. ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี  
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะนี้ จะครอบคลุมทุกเรื่องของคณะรัฐมนตรี เช่น เรื่องนโยบายของคณะรัฐมนตรี เรื่อง[[การเสนอร่างพระราชบัญญัติ]] [[การออกพระราชกำหนด]] [[การออกพระราชกฤษฎีกา]] เป็นต้น ความรับผิดชอบร่วมกันจะมีที่มาจากการมีมติในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
 
'''๒. ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี'''
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี เป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เข้าไปดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาผู้แทนราษฎรในการบริหารราชการในหน้าที่ของตนไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม รัฐมนตรีคนนั้นก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี เป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เข้าไปดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาผู้แทนราษฎรในการบริหารราชการในหน้าที่ของตนไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม รัฐมนตรีคนนั้นก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรีจะครอบคลุมทุกเรื่องของแต่ละกระทรวง เช่น เรื่องนโยบายของกระทรวง การออกกฎหมายหรือกฎระเบียบ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการ เป็นต้น  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรีจะครอบคลุมทุกเรื่องของแต่ละกระทรวง เช่น เรื่องนโยบายของกระทรวง การออกกฎหมายหรือกฎระเบียบ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการ เป็นต้น  


==การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี==
==การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๓๑ – ๑๓๔.</ref>==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีไว้ ๒ กรณี คือ
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐]] ได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีไว้ ๒ กรณี คือ
'''๑. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ'''
   
   
๑. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ ได้กำหนดให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ  
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ ได้กำหนดให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ  


บรรทัดที่ 166: บรรทัดที่ 178:
๓) คณะรัฐมนตรีลาออก  
๓) คณะรัฐมนตรีลาออก  


๒. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะตัว  
'''๒. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะตัว'''
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อ  
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อ  


บรรทัดที่ 179: บรรทัดที่ 192:
๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ  
๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ  


๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
๖) มี[[พระบรมราชโองการ]]ให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี


๗) ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๗) ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น [[ข้าราชการส่วนท้องถิ่น]] เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  


๘) รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการรับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๘) รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการรับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
บรรทัดที่ 193: บรรทัดที่ 206:
๑๒) ใช้สถานะหรือตำแหน่งก้าวก่ายหรือแทรกแซงกิจการในเรื่องต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ  
๑๒) ใช้สถานะหรือตำแหน่งก้าวก่ายหรือแทรกแซงกิจการในเรื่องต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ  


(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือ[[ราชการส่วนท้องถิ่น]]


(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น  
(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น  
บรรทัดที่ 199: บรรทัดที่ 212:
(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง  
(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง  


(๑๓) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งว่าประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป และได้โอนหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่าวให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ  
๑๓) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ เว้นแต่จะได้แจ้งให้[[ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]ทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งว่าประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป และได้โอนหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่าวให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ  


๑๔) วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
๑๔) วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
บรรทัดที่ 205: บรรทัดที่ 218:
๑๕) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบกำหนดเวลา ๘ ปี
๑๕) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบกำหนดเวลา ๘ ปี


==การกระทำอันต้องห้ามของรัฐมนตรี==
==การกระทำอันต้องห้ามของรัฐมนตรี<ref>The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>==


ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องไม่กระทำการอันต้องห้าม ต่อไปนี้
ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องไม่กระทำการอันต้องห้าม ต่อไปนี้
บรรทัดที่ 213: บรรทัดที่ 226:
๒. ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ตำแหน่งข้าราชการการเมืองอื่นๆหรือตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ โดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย
๒. ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ตำแหน่งข้าราชการการเมืองอื่นๆหรือตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ โดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย


๓. รับเงินหรือประโยชน์ใดๆจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติทั้งนี้ไม่รวมถึงกับการเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
๓. รับเงินหรือประโยชน์ใดๆจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติทั้งนี้ไม่รวมถึงกับการเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินปี[[พระบรมวงศานุวงศ์]] หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน


๔. รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ  ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว
๔. รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ  ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว
บรรทัดที่ 219: บรรทัดที่ 232:
๕. เป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือยังคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป ทั้งนี้ ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรี ผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีผู้นั้นแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้รัฐมนตรีผู้นั้นโอนหุ้นให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น กระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆเกี่ยวกับหุ้น หรือกิจการของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทดังกล่าว
๕. เป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือยังคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป ทั้งนี้ ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรี ผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีผู้นั้นแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้รัฐมนตรีผู้นั้นโอนหุ้นให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น กระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆเกี่ยวกับหุ้น หรือกิจการของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทดังกล่าว


บัญชีอัตราตำแหน่ง เงินเดือน และเงินประจำตำแหน่งของคณะรัฐมนตรี
<center>'''ตารางเปรียบเทียบบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ  พ.ศ. 2540 กับ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 ในประเด็นเรื่องการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร'''</center>
ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน (บาท) อัตราเงินประจำตำแหน่ง   (บาท/เดือน) รวม       (บาท/เดือน)
 
นายกรัฐมนตรี ๗๕,๕๙๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๒๕,๕๙๐
 
รองนายกรัฐมนตรี ๗๔,๔๒๐ ๔๕,๕๐๐ ๑๑๙,๙๒๐
{| border="1" align="center"
รัฐมนตรีว่าการของทุกกระทรวง และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ๗๓,๒๔๐ ๔๒,๕๐๐ ๑๑๕,๗๔๐
|-
รัฐมนตรีช่วยว่าการทุกกระทรวง ๗๒,๐๖๐ ๔๑,๕๐๐ ๑๑๓,๕๖๐
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''ตำแหน่ง'''
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''อัตราเงินเดือน(บาท)'''<ref> พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.</ref>
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''อัตราเงินประจำตำแหน่ง(บาท/เดือน)'''<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๔๖.</ref>
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''รวม(บาท/เดือน)'''
|-
|align="center" |นายกรัฐมนตรี
|align="center" |๗๕,๕๙๐
|align="center" |๕๐,๐๐๐
|align="center" |'''๑๒๕,๕๙๐'''
|-
|align="center" |รองนายกรัฐมนตรี
|align="center" |๗๔,๔๒๐
|align="center" |๔๕,๕๐๐
|align="center" |'''๑๑๙,๙๒๐'''
|-
|align="center" |รัฐมนตรีว่าการของทุกกระทรวง และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
|align="center" |๗๓,๒๔๐
|align="center" |๔๒,๕๐๐
|align="center" |'''๑๑๕,๗๔๐'''
|-
|align="center" |รัฐมนตรีช่วยว่าการทุกกระทรวง
|align="center" |๗๒,๐๖๐
|align="center" |๔๑,๕๐๐
|align="center" |'''๑๑๓,๕๖๐'''
|-
|}


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 232: บรรทัดที่ 270:
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


๑. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  
๑. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. '''ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย'''. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  


๒. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๑-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.
๒. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. '''การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๑-๒๕๐๐'''. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.
   
   
๓. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.
๓. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. '''แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี''', (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.
   
   
๔. อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวด องค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.  
๔. อัครเมศวร์ ทองนวล. '''สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวด องค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี'''. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.  


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


คณิน บุญสุวรรณ. ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์. (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘.
คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์'''. (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘.
   
   
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm. (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. '''สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗'''. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm. (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  


เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
เดลินิวส์, '''อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี'''. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).


นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ :       ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  
นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. '''ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย'''. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  


พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.
พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.


พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.


ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก  : http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน '''พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒'''. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก  : http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.  
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐''', (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.  


วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์].  สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
วิษณุ เครืองาม, '''การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี'''. [ออนไลน์].  สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).


สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔.  
สถาบันพระปกเกล้า, '''โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐)''' : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔.  


สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี. (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. '''แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี'''. (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''“ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”''', (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,'''“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”''', (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.


สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.  
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. '''การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐'''. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.  


อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.
อัครเมศวร์ ทองนวล. '''สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี'''. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.


The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  
The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, '''บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี'''. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  




บรรทัดที่ 278: บรรทัดที่ 316:


• การบริหารราชการแผ่นดิน  
• การบริหารราชการแผ่นดิน  
• คณะรัฐมนตรี  
• คณะรัฐมนตรี  
• ฝ่ายบริหาร
• ฝ่ายบริหาร
 
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:09, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง นายโชคสุข กรกิตติชัย

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


บทนำ

นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศตลอดมา รัฐธรรมนูญที่มีมาทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยมีการแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ

๑. รัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติในการตรากฎหมายต่าง ๆ

๒. คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารในการบริหารราชการแผ่นดิน สำหรับคณะรัฐมนตรีนั้นประกอบไปด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน

๓. ศาลเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี[1]


ประวัติความเป็นมาของรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีมีที่มาจากคณะเสนาบดีในอดีต สมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก และให้ราษฎรช่วยกัน “ถือบ้านถือเมือง” ในสมัยอยุธยามีการตั้งตำแหน่งจตุสดมภ์ ๔ ตำแหน่ง คือ เวียง วัง คลัง นา มีเสนาบดีเป็นหัวหน้ารับผิดชอบแต่ละฝ่าย มีสมุหนายกและสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าเสนาบดีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง แต่บทบาทเน้นหนักไปในทางการเป็นแม่ทัพใหญ่และรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้เป็นสำคัญ[2]

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงจัดการปกครองในลักษณะเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยาและธนบุรี จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ โดยทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of state) และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ขึ้น ยกเลิกตำแหน่งสมุหกลาโหมและสมุหนายก และยกฐานะกรมต่าง ๆ ขึ้นเป็นกระทรวง มีเสนาบดีเป็นหัวหน้า[3] มีปลัดทูลฉลองเป็นผู้กลั่นกรองเรื่องและช่วยราชการภายในกระทรวง มีการประชุมเสนาบดีในทำนองการประชุมคณะรัฐมนตรี แต่ไม่มีหัวหน้าคณะเสนาบดีในทำนองนายกรัฐมนตรี เพราะในการประชุมคณะเสนาบดี พระมหากษัตริย์ประทับเป็นประธานเอง หรือมิฉะนั้นก็ให้ที่ประชุมเลือกประธานเป็นครั้งคราว การบริหารราชการแผ่นดินโดยระบบคณะเสนาบดีได้ดำเนินมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการจัดตั้งคณะองคมนตรีสภา ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาในการปกครองและการออกกฎหมายทำนองเดียวกับรัฐสภา และมีการจัดตั้งเสนาบดีสภาเป็นที่ประชุมปรึกษาของเสนาบดีทั้งหลาย การบริหารราชการแผ่นดินในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงเป็นเรื่องของพระมหากษัตริย์โดยตรง การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งก็ดี การกำหนดนโยบายในการบริหารก็ดี การควบคุมการบริหารก็ดี เป็นเรื่องตามพระราชอัธยาศัย[4]

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดยคณะราษฎรแล้ว ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งกำหนดให้มี คณะกรรมการราษฎร มีจำนวน ๑๕ คน ทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน มี “ประธานกรรมการราษฎร” เป็นหัวหน้า ในระหว่างที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติให้ใช้ คำว่า รัฐมนตรี แทน กรรมการราษฎร และใช้คำว่า นายกรัฐมนตรี แทน ประธานคณะกรรมการราษฎร และคำว่า คณะรัฐมนตรี แทนคำคณะกรรมการราษฎรว่า “” ซึ่งเป็นคำที่ใช้ปรากฏครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน[5]

ความหมายของรัฐมนตรี

“รัฐมนตรี” หมายความถึง บุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีมี ๒ ฐานะ ฐานะแรกเป็นสมาชิก คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า และอีกฐานะหนึ่งเป็นเจ้ากระทรวงผู้มีอำนาจเต็มของส่วนราชการระดับกระทรวงตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน[6]

ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับ คณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และ รับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง (คำว่ารัฐมนตรีนี้ในสมัยโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).[7] รัฐมนตรี (Minister) ของกระทรวงต่างๆ นี้ เมื่อได้รับการแต่งตั้งครบทุกกระทรวงตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันนี้ในฐานะผู้นำในการบริหารประเทศ ก็จะเรียกรวมกันว่าเป็น “คณะรัฐมนตรี”[8]

องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ๑ คนกับรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีจะแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) หรือจากบุคคลภายนอกก็ได้ แต่จะแต่งตั้งจากสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.) ไม่ได้ นายกรัฐมนตรีถือว่าเป็นรัฐมนตรี จึงต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับรัฐมนตรี[9]

การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี (ขั้นตอนการแต่งตั้งรัฐมนตรี)

การแต่งตั้งรัฐมนตรีนั้น นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้นำรายชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งขึ้นกราบบังคม ทูล เพื่อทรงแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ซึ่งในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอ รัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ด้วย[10]

ซึ่งการจะเป็นรัฐมนตรีได้นั้น ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ และลงนามรับผิดชอบเรียกว่า “ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ส่วนการจะเป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับขั้นตอนในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีตามลำดับดังนี้

๑. มีการเลือกตั้งทั่วไปซึ่งจะต้องจัดขึ้นในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

๒. คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้ง

๓. พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา

๔. พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำรัฐพิธีเปิดประชุมสมัยประชุมสามัญทั่วไปครั้งแรก

๕. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร

๖. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร

๗. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคล ซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกตามข้อ ๔ การเสนอชื่อผู้ควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรรับรอง (๑ ใน ๕ ของจำนวน ๕๐๐ คน เท่ากับ ๑๐๐ คน) มติเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำโดยการลงคะแนนอย่างเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (๒๕๑ คน) แต่ถ้าคะแนนเสียงยังไม่ได้มากกว่ากึ่งหนึ่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็สามารถเรียกประชุมได้อีกจนกว่าจะได้มติเช่นว่านั้น แต่ถ้าพ้นกำหนด ๓๐ วันแล้ว ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำชื่อบุคคลผู้ได้คะแนนเสียงสูงสุดขึ้นกราบบังคมทูลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาดังกล่าว แม้บุคคลนั้นจะได้คะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

๘. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี

๙. นายกรัฐมนตรีคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี แล้วนำความกราบบังคมทูล นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

๑๐. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรี

๑๑. นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ โดยรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำ[11] ดังต่อไปนี้

“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”[12]

๑๒. คณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษาเพื่อร่างนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ[13]

ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร จะต้องมีการดำเนินการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามข้อ ๗ – ๑๒ ใหม่ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ วรรคสอง

คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี[14]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๗๔ ได้กำหนดว่า รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ คือ

๑. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

๒. มีอายุไม่ต่ำกว่า ๓๕ ปีบริบูรณ์

๓. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

๔. ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ

๕. ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต

๖. ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

๗. ไม่อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง

๘. ไม่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

๙. ไม่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล

๑๐. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ

๑๑. ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ

๑๒. ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำนอกจากข้าราชการการเมือง

๑๓. ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น

๑๔. ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ

๑๕. ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

๑๖. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเนื่องจากการไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไม่ชอบตามกฎหมาย

๑๗. ไม่เคยถูกวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง

๑๘. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๕ ปีก่อนได้รับแต่งตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

๑๙. ไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน ๒ ปีนับถึงวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี

อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี

๑. อำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ[15]

๑.๑ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน รักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

๑.๒ มีสิทธิเข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา และในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้เข้าประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีต้องเข้าร่วมประชุม

๑.๓ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ถ้ารัฐมนตรีผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะเดียวกันด้วย ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้นออกเสียงลงคะแนนในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่หรือการมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น

๑.๔ ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบต่อสภาผู้แทนราษฎรในหน้าที่ของตน และต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี

๒. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน[16]

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ ๕)พ.ศ.๒๕๔๕ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดังนี้

๒.๑ เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง และของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม หน่วยงานของรัฐในกำกับและความรับผิดชอบในสังกัดกระทรวง เช่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน เป็นต้น โดยรัฐมนตรีว่าการอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได้

๒.๒ กำหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ให้เป็นไปภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง หรือตามมติคณะรัฐมนตรี

๓. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบข้าราชการพลเรือน[17]

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ด้านการบริหารงานบุคคล การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และข้าราชการประจำสำนักงานรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑

๔. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ[18]

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ กำหนดให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอคำขอตั้งงบประมาณประจำปีของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณภายในเวลาที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ มีอำนาจในการกำกับตรวจสอบโดยอาจเรียกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาเสนอข้อเท็จจริง และมีหน้าที่ในการประกาศรายงานรับจ่ายเงินประจำปีเมื่อสิ้นปีงบประมาณในราชกิจจานุเบกษา

๕. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น[19]

๕.๑ มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎหมายอื่น ๆ ของกระทรวงและหรือส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับหรือความรับผิดชอบของกระทรวงที่ระบุให้เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี

๕.๒ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการการเมืองในสังกัดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖

๕.๓ สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดในการปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง เช่น ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒

๖. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี[20]

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่จากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีให้ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามความจำเป็น

ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี[21]

๑. ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ

ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะต่อรัฐสภาในการบริหารราชการตามนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี ไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม นายกรัฐมนตรีก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้

ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะนี้ จะครอบคลุมทุกเรื่องของคณะรัฐมนตรี เช่น เรื่องนโยบายของคณะรัฐมนตรี เรื่องการเสนอร่างพระราชบัญญัติ การออกพระราชกำหนด การออกพระราชกฤษฎีกา เป็นต้น ความรับผิดชอบร่วมกันจะมีที่มาจากการมีมติในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี

๒. ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี

ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี เป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เข้าไปดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาผู้แทนราษฎรในการบริหารราชการในหน้าที่ของตนไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม รัฐมนตรีคนนั้นก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้

ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรีจะครอบคลุมทุกเรื่องของแต่ละกระทรวง เช่น เรื่องนโยบายของกระทรวง การออกกฎหมายหรือกฎระเบียบ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการ เป็นต้น

การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี[22]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีไว้ ๒ กรณี คือ

๑. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ ได้กำหนดให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ

๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง

๒) อายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร

๓) คณะรัฐมนตรีลาออก

๒. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะตัว

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อ

๑) ตาย

๒) ลาออก

๓) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษหรือความผิดฐานหมิ่นประมาท

๔) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล

๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ

๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี

๗) ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๘) รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการรับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๙) รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติต่อบุคคลอื่นๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๑๐) เป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือโทรคมนาคม ไม่ว่าในนามของตนเองหรือให้ผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นแทน หรือดำเนินการโดยวิธีการอื่นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมที่สามารถบริหารกิจการดังกล่าวได้ในทำนองเดียวกับการเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการดังกล่าว เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๑๑) ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด

๑๒) ใช้สถานะหรือตำแหน่งก้าวก่ายหรือแทรกแซงกิจการในเรื่องต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น

(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น

(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง

๑๓) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งว่าประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป และได้โอนหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่าวให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ

๑๔) วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง

๑๕) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบกำหนดเวลา ๘ ปี

การกระทำอันต้องห้ามของรัฐมนตรี[23]

ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องไม่กระทำการอันต้องห้าม ต่อไปนี้

๑. เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ นอกจากข้าราชการการเมือง

๒. ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ตำแหน่งข้าราชการการเมืองอื่นๆหรือตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ โดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย

๓. รับเงินหรือประโยชน์ใดๆจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติทั้งนี้ไม่รวมถึงกับการเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน

๔. รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว

๕. เป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือยังคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป ทั้งนี้ ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรี ผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีผู้นั้นแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้รัฐมนตรีผู้นั้นโอนหุ้นให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น กระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆเกี่ยวกับหุ้น หรือกิจการของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทดังกล่าว

ตารางเปรียบเทียบบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 ในประเด็นเรื่องการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน(บาท)[24] อัตราเงินประจำตำแหน่ง(บาท/เดือน)[25] รวม(บาท/เดือน)
นายกรัฐมนตรี ๗๕,๕๙๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๒๕,๕๙๐
รองนายกรัฐมนตรี ๗๔,๔๒๐ ๔๕,๕๐๐ ๑๑๙,๙๒๐
รัฐมนตรีว่าการของทุกกระทรวง และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ๗๓,๒๔๐ ๔๒,๕๐๐ ๑๑๕,๗๔๐
รัฐมนตรีช่วยว่าการทุกกระทรวง ๗๒,๐๖๐ ๔๑,๕๐๐ ๑๑๓,๕๖๐

อ้างอิง

  1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕, หน้า ๗.
  2. โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗)
  3. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, “การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒–๒๕๐๐”, (กรุงเทพฯ: เสมาธรรม), ๒๕๔๙. หน้า ๓๐๒ - ๓๑๗.
  4. โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  5. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์, “ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย”, (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙. หน้า ๘๓.
  6. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์”, (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘. หน้า ๗๕๗.
  7. ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  8. สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔, หน้า ๑.
  9. The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.
  11. วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.
  13. วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  14. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.
  15. เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  16. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๓.
  17. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.
  18. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๕.
  19. เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๖.
  20. เรื่องเดียวกัน หน้า ๓๖.
  21. อัครเมศวร์ ทองนวล, “สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี, (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔. หน้า ๙.
  22. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๓๑ – ๑๓๔.
  23. The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  24. พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.
  25. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๔๖.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

๑. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.

๒. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๑-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.

๓. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.

๔. อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวด องค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.

บรรณานุกรม

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์. (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘.

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm. (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.

พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.

ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก  : http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.

วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี. (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.

อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.

The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).


ดูเพิ่มเติม

• การบริหารราชการแผ่นดิน

• คณะรัฐมนตรี

• ฝ่ายบริหาร