ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเสนอชื่อผู้สมควรดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี (ลำดับขั้นตอน)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' นายโชคสุข กรกิตติชัย '''ผู้ทรงคุณ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 8 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
==บทนำ==
==บทนำ==


นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศตลอดมา รัฐธรรมนูญที่มีมาทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยมีการแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ  
นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้มี[[การปกครองระบอบประชาธิปไตย]] โดยมี[[รัฐธรรมนูญ]]เป็น[[กฎหมายสูงสุด]]ของประเทศตลอดมา รัฐธรรมนูญที่มีมาทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบ[[รัฐสภา]] โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า '''“[[อำนาจอธิปไตย]]เป็นของปวงชนชาวไทย”''' [[พระมหากษัตริย์]]ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [[คณะรัฐมนตรี]] และ[[ศาล]] โดยมีการแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ
๑. รัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติในการตรากฎหมายต่าง ๆ  
๒. คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารในการบริหารราชการแผ่นดิน สำหรับคณะรัฐมนตรีนั้นประกอบไปด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน
๑. รัฐสภาเป็นผู้ใช้[[อำนาจนิติบัญญัติ]]ในการตรากฎหมายต่าง
๓. ศาลเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
๒. คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้[[อำนาจบริหาร]]ในการบริหารราชการแผ่นดิน สำหรับคณะรัฐมนตรีนั้นประกอบไปด้วย[[นายกรัฐมนตรี]]และ[[รัฐมนตรี]]ตามจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตาม[[หลักความรับผิดชอบ]]ร่วมกัน
 
๓. ศาลเป็นผู้ใช้[[อำนาจตุลาการ]]ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕, หน้า ๗.</ref>




==ประวัติความเป็นมาของรัฐมนตรี==
==ประวัติความเป็นมาของรัฐมนตรี==


คณะรัฐมนตรีมีที่มาจากคณะเสนาบดีในอดีต สมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก และให้ราษฎรช่วยกัน “ถือบ้านถือเมือง” ในสมัยอยุธยามีการตั้งตำแหน่งจตุสดมภ์ ๔ ตำแหน่ง คือ เวียง วัง คลัง นา มีเสนาบดีเป็นหัวหน้ารับผิดชอบแต่ละฝ่าย มีสมุหนายกและสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าเสนาบดีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง แต่บทบาทเน้นหนักไปในทางการเป็นแม่ทัพใหญ่และรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้เป็นสำคัญ  
คณะรัฐมนตรีมีที่มาจากคณะเสนาบดีในอดีต สมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก และให้ราษฎรช่วยกัน '''“ถือบ้านถือเมือง”''' ในสมัยอยุธยามีการตั้งตำแหน่ง[[จตุสดมภ์]] ๔ ตำแหน่ง คือ [[เวียง]] [[วัง]] [[คลัง]] [[นา]] มีเสนาบดีเป็นหัวหน้ารับผิดชอบแต่ละฝ่าย มีสมุหนายกและสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าเสนาบดีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง แต่บทบาทเน้นหนักไปในทางการเป็นแม่ทัพใหญ่และรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้เป็นสำคัญ<ref>โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗) </ref>
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงจัดการปกครองในลักษณะเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยาและธนบุรี จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ โดยทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of state) และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ขึ้น ยกเลิกตำแหน่งสมุหกลาโหมและสมุหนายก และยกฐานะกรมต่าง ๆ ขึ้นเป็นกระทรวง มีเสนาบดีเป็นหัวหน้า       มีปลัดทูลฉลองเป็นผู้กลั่นกรองเรื่องและช่วยราชการภายในกระทรวง มีการประชุมเสนาบดีในทำนองการประชุมคณะรัฐมนตรี แต่ไม่มีหัวหน้าคณะเสนาบดีในทำนองนายกรัฐมนตรี เพราะในการประชุมคณะเสนาบดี พระมหากษัตริย์ประทับเป็นประธานเอง หรือมิฉะนั้นก็ให้ที่ประชุมเลือกประธานเป็นครั้งคราว การบริหารราชการแผ่นดินโดยระบบคณะเสนาบดีได้ดำเนินมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการจัดตั้งคณะองคมนตรีสภา ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาในการปกครองและการออกกฎหมายทำนองเดียวกับรัฐสภา และมีการจัดตั้งเสนาบดีสภาเป็นที่ประชุมปรึกษาของเสนาบดีทั้งหลาย การบริหารราชการแผ่นดินในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงเป็นเรื่องของพระมหากษัตริย์โดยตรง การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งก็ดี การกำหนดนโยบายในการบริหารก็ดี การควบคุมการบริหารก็ดี เป็นเรื่องตามพระราชอัธยาศัย
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดยคณะราษฎรแล้ว ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งกำหนดให้มี “คณะกรรมการราษฎร” มีจำนวน ๑๕ คน ทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน มี “ประธานกรรมการราษฎร” เป็นหัวหน้า ในระหว่างที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติให้ใช้ คำว่า “รัฐมนตรี” แทน “กรรมการราษฎร” และใช้คำว่า “นายกรัฐมนตรี” แทน “ประธานคณะกรรมการราษฎร” และคำว่า “คณะรัฐมนตรี” แทนคำคณะกรรมการราษฎรว่า “” ซึ่งเป็นคำที่ใช้ปรากฏครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน  
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงจัดการปกครองในลักษณะเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยาและธนบุรี จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงป[[ฏิรูปการปกครอง]]ใหม่ โดยทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of state) และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ขึ้น ยกเลิกตำแหน่ง[[สมุหกลาโหม]]และ[[สมุหนายก]] และยกฐานะกรมต่าง ๆ ขึ้นเป็น[[กระทรวง]] มีเสนาบดีเป็นหัวหน้า<ref>สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, “การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒–๒๕๐๐”, (กรุงเทพฯ: เสมาธรรม), ๒๕๔๙. หน้า ๓๐๒ - ๓๑๗.</ref> มี[[ปลัดทูลฉลอง]]เป็นผู้กลั่นกรองเรื่องและช่วยราชการภายในกระทรวง มีการประชุมเสนาบดีในทำนองการประชุมคณะรัฐมนตรี แต่ไม่มีหัวหน้าคณะเสนาบดีในทำนองนายกรัฐมนตรี เพราะในการประชุมคณะเสนาบดี พระมหากษัตริย์ประทับเป็นประธานเอง หรือมิฉะนั้นก็ให้ที่ประชุมเลือกประธานเป็นครั้งคราว [[การบริหารราชการแผ่นดิน]]โดยระบบคณะเสนาบดีได้ดำเนินมาจนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งมีการจัดตั้ง[[คณะองคมนตรีสภา]] ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาในการปกครองและการออก[[กฎหมาย]]ทำนองเดียวกับรัฐสภา และมีการจัดตั้งเสนาบดีสภาเป็นที่ประชุมปรึกษาของเสนาบดีทั้งหลาย การบริหารราชการแผ่นดินในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงเป็นเรื่องของพระมหากษัตริย์โดยตรง การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งก็ดี การกำหนดนโยบายในการบริหารก็ดี การควบคุมการบริหารก็ดี เป็นเรื่องตามพระราชอัธยาศัย<ref>โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>
 
 
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในวันที่ [[24 มิถุนายน พ.ศ. 2475|๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]] โดย[[คณะราษฎร]]แล้ว ได้มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕]] ซึ่งกำหนดให้มี '''“[[คณะกรรมการราษฎร]]”''' มีจำนวน ๑๕ คน ทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน มี '''“ประธานกรรมการราษฎร”''' เป็นหัวหน้า ในระหว่างที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร [[ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]ได้[[ลงมติ]]ให้ใช้ คำว่า '''“[[รัฐมนตรี]]”''' แทน '''“[[กรรมการราษฎร]]”''' และใช้คำว่า '''“[[นายกรัฐมนตรี]]”''' แทน '''“[[ประธานคณะกรรมการราษฎร]]”''' และคำว่า '''“[[คณะรัฐมนตรี]]”''' แทนคำ'''[[คณะกรรมการราษฎร]]'''ว่า “” ซึ่งเป็นคำที่ใช้ปรากฏครั้งแรกในรั[[ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕]] และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน<ref>นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์, “ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย”, (กรุงเทพฯ :    ขวัญนคร), ๒๕๔๙. หน้า ๘๓.</ref>


==ความหมายของรัฐมนตรี==
==ความหมายของรัฐมนตรี==


“รัฐมนตรี” หมายความถึง บุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีมี ๒ ฐานะ ฐานะแรกเป็นสมาชิก คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า และอีกฐานะหนึ่งเป็นเจ้ากระทรวงผู้มีอำนาจเต็มของส่วนราชการระดับกระทรวงตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
'''“รัฐมนตรี”''' หมายความถึง บุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงมี[[พระบรมราชโองการ]]โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีมี ๒ ฐานะ ฐานะแรกเป็นสมาชิก คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า และอีกฐานะหนึ่งเป็นเจ้ากระทรวงผู้มีอำนาจเต็มของส่วนราชการระดับกระทรวงตาม[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน]]<ref>คณิน บุญสุวรรณ, ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์”, (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘. หน้า ๗๕๗.</ref>
ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับ คณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และ รับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง (คำว่ารัฐมนตรีนี้ในสมัยโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).  รัฐมนตรี (Minister) ของกระทรวงต่างๆ นี้ เมื่อได้รับการแต่งตั้งครบทุกกระทรวงตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันนี้ในฐานะผู้นำในการบริหารประเทศ ก็จะเรียกรวมกันว่าเป็น “คณะรัฐมนตรี”   
 
ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับ คณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และ รับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง (คำว่ารัฐมนตรีนี้ในสมัยโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).<ref> ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref> รัฐมนตรี (Minister) ของกระทรวงต่างๆ นี้ เมื่อได้รับการแต่งตั้งครบทุกกระทรวงตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันนี้ในฐานะผู้นำในการบริหารประเทศ ก็จะเรียกรวมกันว่าเป็น '''“คณะรัฐมนตรี”'''<ref>สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔, หน้า ๑.</ref>  


==องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี==
==องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี==


คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ๑ คนกับรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีจะแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) หรือจากบุคคลภายนอกก็ได้ แต่จะแต่งตั้งจากสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ไม่ได้ นายกรัฐมนตรีถือว่าเป็นรัฐมนตรี จึงต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับรัฐมนตรี  
คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ๑ คนกับรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีจะแต่งตั้งจาก[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]([[ส.ส.]]) หรือจากบุคคลภายนอกก็ได้ แต่จะแต่งตั้งจาก[[สมาชิกวุฒิสภา]]([[ส.ว.]]) ไม่ได้ นายกรัฐมนตรีถือว่าเป็นรัฐมนตรี จึงต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับรัฐมนตรี<ref>The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>


==การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี (ขั้นตอนการแต่งตั้งรัฐมนตรี) ==
==การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี (ขั้นตอนการแต่งตั้งรัฐมนตรี) ==


การแต่งตั้งรัฐมนตรีนั้น นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้นำรายชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งขึ้นกราบบังคม ทูล เพื่อทรงแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ซึ่งในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอ รัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ด้วย  
การแต่งตั้งรัฐมนตรีนั้น นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้นำรายชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งขึ้นกราบบังคม ทูล เพื่อทรงแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ซึ่งในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอ รัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ด้วย<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.</ref>
ซึ่งการจะเป็นรัฐมนตรีได้นั้น ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ และลงนามรับผิดชอบเรียกว่า “ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ”     ส่วนการจะเป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับขั้นตอนในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีตามลำดับดังนี้  
 
๑. มีการเลือกตั้งทั่วไปซึ่งจะต้องจัดขึ้นในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร
ซึ่งการจะเป็นรัฐมนตรีได้นั้น ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ และลงนามรับผิดชอบเรียกว่า “ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ส่วนการจะเป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]ถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับขั้นตอนในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีตามลำดับดังนี้
๒. คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้ง
๓. พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา
๑. มี[[การเลือกตั้งทั่วไป]]ซึ่งจะต้องจัดขึ้นในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร
๔. พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำรัฐพิธีเปิดประชุมสมัยประชุมสามัญทั่วไปครั้งแรก
๒. [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]]ประกาศผลการเลือกตั้ง
๓. พระมหากษัตริย์ทรงตรา[[พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา]]
 
๔. พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำ[[รัฐพิธีเปิดประชุมสมัยประชุมสามัญทั่วไป]]ครั้งแรก
 
๕. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร  
๕. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร  
๖. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร  
๖. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร  
๗. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคล   ซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกตามข้อ ๔    การเสนอชื่อผู้ควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรรับรอง (๑ ใน ๕ ของจำนวน ๕๐๐ คน เท่ากับ ๑๐๐ คน) มติเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำโดยการลงคะแนนอย่างเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (๒๕๑ คน) แต่ถ้าคะแนนเสียงยังไม่ได้มากกว่ากึ่งหนึ่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็สามารถเรียกประชุมได้อีกจนกว่าจะได้มติเช่นว่านั้น แต่ถ้าพ้นกำหนด ๓๐ วันแล้ว ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำชื่อบุคคลผู้ได้คะแนนเสียงสูงสุดขึ้นกราบบังคมทูลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาดังกล่าว แม้บุคคลนั้นจะได้คะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ  
 
๗. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคล ซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกตามข้อ ๔    การเสนอชื่อผู้ควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ[[สภาผู้แทนราษฎร]]รับรอง (๑ ใน ๕ ของจำนวน ๕๐๐ คน เท่ากับ ๑๐๐ คน) มติเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำโดย[[การลงคะแนนอย่างเปิดเผย]] และมี[[คะแนนเสียง]]มากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (๒๕๑ คน) แต่ถ้าคะแนนเสียงยังไม่ได้มากกว่ากึ่งหนึ่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็สามารถเรียกประชุมได้อีกจนกว่าจะได้มติเช่นว่านั้น แต่ถ้าพ้นกำหนด ๓๐ วันแล้ว ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำชื่อบุคคลผู้ได้คะแนนเสียงสูงสุดขึ้นกราบบังคมทูลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาดังกล่าว แม้บุคคลนั้นจะได้คะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ  
 
๘. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี  
๘. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี  
๙. นายกรัฐมนตรีคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี แล้วนำความกราบบังคมทูล นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
๙. นายกรัฐมนตรีคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี แล้วนำความกราบบังคมทูล นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
๑๐. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรี  
๑๐. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรี  
๑๑. นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ โดยรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำ ดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ” 
๑๒. คณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษาเพื่อร่างนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร จะต้องมีการดำเนินการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามข้อ ๗ – ๑๒ ใหม่      ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ วรรคสอง


๑๑. นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ โดยรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำ<ref> วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์].  สืบค้นจาก :  http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref> ดังต่อไปนี้


==คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี==
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.</ref>
 
๑๒. คณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษาเพื่อร่างนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ<ref>วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก :  http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).</ref>
ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือมีการ[[ยุบสภาผู้แทนราษฎร]] จะต้องมีการดำเนินการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามข้อ ๗ – ๑๒ ใหม่      ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ วรรคสอง
 
==คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.</ref>==
 
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐]] มาตรา ๑๗๔ ได้กำหนดว่า รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ คือ


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๗๔ ได้กำหนดว่า รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ คือ
๑. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด  
๑. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด  
๒. มีอายุไม่ต่ำกว่า ๓๕ ปีบริบูรณ์  
๒. มีอายุไม่ต่ำกว่า ๓๕ ปีบริบูรณ์  
๓. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า  
๓. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า  
๔. ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ  
๔. ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ  
๕. ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต  
๕. ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต  
๖. ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช  
๖. ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช  
๗. ไม่อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
 
๗. ไม่อยู่ในระหว่าง[[ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง]]
 
๘. ไม่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ  
๘. ไม่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ  
๙. ไม่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล
 
๑๐. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
๙. ไม่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของ[[ศาล]]
 
๑๐. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจาก[[ราชการ]] [[หน่วยงานของรัฐ]] หรือ[[รัฐวิสาหกิจ]] เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการ[[ทุจริต]]และ[[ประพฤติมิชอบ]]ในวงราชการ
 
๑๑. ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ  
๑๑. ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ  
๑๒. ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำนอกจากข้าราชการการเมือง
 
๑๓. ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
๑๒. ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำนอกจาก[[ข้าราชการการเมือง]]
 
๑๓. ไม่เป็น[[สมาชิกสภาท้องถิ่น]]หรือ[[ผู้บริหารท้องถิ่น]]
 
๑๔. ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ  
๑๔. ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ  
๑๕. ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
 
๑๖. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเนื่องจากการไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไม่ชอบตามกฎหมาย
๑๕. ไม่เป็น[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]] [[กรรมการการเลือกตั้ง]] [[ผู้ตรวจการแผ่นดิน]] [[กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] [[กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] หรือ[[กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]]
๑๗. ไม่เคยถูกวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
 
๑๘. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๕ ปีก่อนได้รับแต่งตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
๑๖. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเนื่องจากการไม่[[ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน]] หรือยื่น[[บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน]]ไม่ชอบตามกฎหมาย
๑๙. ไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน ๒ ปีนับถึงวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี  
 
๑๗. ไม่เคยถูก[[วุฒิสภา]]มีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
 
๑๘. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๕ ปีก่อนได้รับแต่งตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือ[[ความผิดลหุโทษ]]
 
๑๙. ไม่เป็น[[สมาชิกวุฒิสภา]] หรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน ๒ ปีนับถึงวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี  


==อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี==
==อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี==


๑. อำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ  
'''๑. อำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ'''<ref>เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>
๑.๑ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน รักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
 
๑.๒ มีสิทธิเข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา และในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้เข้าประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีต้องเข้าร่วมประชุม  
๑.๑ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วย[[ความซื่อสัตย์สุจริต]] เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน รักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่ง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]
๑.๓ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ถ้ารัฐมนตรีผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะเดียวกันด้วย ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้นออกเสียงลงคะแนนในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่หรือการมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น  
 
๑.๔ ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบต่อสภาผู้แทนราษฎรในหน้าที่ของตน และต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี  
๑.๒ มีสิทธิเข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่[[ประชุมสภา]] และในกรณีที่[[สภาผู้แทนราษฎร]]หรือ[[วุฒิสภา]]มีมติให้เข้าประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีต้องเข้าร่วมประชุม  
๒. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน  
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดังนี้  
๑.๓ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ถ้ารัฐมนตรีผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะเดียวกันด้วย ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น[[ออกเสียงลงคะแนน]]ในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่หรือการมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น  
๒.๑ เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง และของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม หน่วยงานของรัฐในกำกับและความรับผิดชอบในสังกัดกระทรวง เช่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน เป็นต้น โดยรัฐมนตรีว่าการอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได้  
 
๒.๒ กำหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ให้เป็นไปภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง หรือตามมติคณะรัฐมนตรี  
๑.๔ ใน[[การบริหารราชการแผ่นดิน]] รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบต่อสภาผู้แทนราษฎรในหน้าที่ของตน และต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี  
๓. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบข้าราชการพลเรือน  
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ด้านการบริหารงานบุคคล การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และข้าราชการประจำสำนักงานรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑  
'''๒. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน'''<ref>สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๓.</ref>
๔. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ  
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ กำหนดให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอคำขอตั้งงบประมาณประจำปีของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณภายในเวลาที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ มีอำนาจในการกำกับตรวจสอบโดยอาจเรียกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาเสนอข้อเท็จจริง และมีหน้าที่ในการประกาศรายงานรับจ่ายเงินประจำปีเมื่อสิ้นปีงบประมาณในราชกิจจานุเบกษา
[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔]] แก้ไขเพิ่มเติมโดย[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ ๕)พ.ศ.๒๕๔๕]] ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวง]] ดังนี้  
๕. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น  
 
๒.๑ เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง และของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็น[[กรม]] หน่วยงานของรัฐในกำกับและความรับผิดชอบในสังกัดกระทรวง เช่น รัฐวิสาหกิจ [[องค์การมหาชน]] เป็นต้น โดยรัฐมนตรีว่าการอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได้  
 
๒.๒ กำหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ [[การสั่งการ]] [[การอนุญาต]] [[การอนุมัติ]] [[การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีว่าการ]]กระทรวง ให้เป็นไปภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย [[ข้อบังคับ]] [[ระเบียบ]] และ[[คำสั่ง]]ที่เกี่ยวข้อง หรือตามมติคณะรัฐมนตรี  
 
'''๓. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบข้าราชการพลเรือน'''<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.</ref>
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ด้าน[[การบริหารงานบุคคล]] การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และข้าราชการประจำสำนักงานรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑  
 
'''๔. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ'''<ref>สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๕.</ref>
 
[[พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒]] กำหนดให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอคำขอตั้งงบประมาณประจำปีของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณภายในเวลาที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ มีอำนาจในการกำกับตรวจสอบโดยอาจเรียกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาเสนอข้อเท็จจริง และมีหน้าที่ในการประกาศรายงานรับจ่ายเงินประจำปีเมื่อสิ้นปีงบประมาณใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]
 
'''๕. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น'''<ref> เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๖.</ref>
 
๕.๑ มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎหมายอื่น ๆ ของกระทรวงและหรือส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับหรือความรับผิดชอบของกระทรวงที่ระบุให้เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี  
๕.๑ มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎหมายอื่น ๆ ของกระทรวงและหรือส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับหรือความรับผิดชอบของกระทรวงที่ระบุให้เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี  
๕.๒ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการการเมืองในสังกัดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖  
๕.๒ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการการเมืองในสังกัดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖  
๕.๓ สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดในการปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง เช่น ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒
 
๖. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี  
๕.๓ สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดในการปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง เช่น [[ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒]]
 
'''๖. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี'''<ref>เรื่องเดียวกัน หน้า ๓๖.</ref>
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่จากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีให้ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามความจำเป็น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่จากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีให้ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามความจำเป็น


==ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี==
==ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี<ref>อัครเมศวร์ ทองนวล, “สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี, (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔. หน้า ๙.</ref>==
 
'''๑. ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ'''
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะต่อรัฐสภาในการบริหารราชการตามนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี ไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม นายกรัฐมนตรีก็อาจถูกตั้ง[[กระทู้ถาม]] หรือถูกเสนอ[[ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป]]เพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้
 
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะนี้ จะครอบคลุมทุกเรื่องของคณะรัฐมนตรี เช่น เรื่องนโยบายของคณะรัฐมนตรี เรื่อง[[การเสนอร่างพระราชบัญญัติ]] [[การออกพระราชกำหนด]] [[การออกพระราชกฤษฎีกา]] เป็นต้น ความรับผิดชอบร่วมกันจะมีที่มาจากการมีมติในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี


๑. ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ
'''๒. ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี'''
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะต่อรัฐสภาในการบริหารราชการตามนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี ไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม นายกรัฐมนตรีก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้
ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะนี้ จะครอบคลุมทุกเรื่องของคณะรัฐมนตรี เช่น เรื่องนโยบายของคณะรัฐมนตรี เรื่องการเสนอร่างพระราชบัญญัติ การออกพระราชกำหนด การออกพระราชกฤษฎีกา เป็นต้น ความรับผิดชอบร่วมกันจะมีที่มาจากการมีมติในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
๒. ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี เป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เข้าไปดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาผู้แทนราษฎรในการบริหารราชการในหน้าที่ของตนไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม รัฐมนตรีคนนั้นก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี เป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เข้าไปดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาผู้แทนราษฎรในการบริหารราชการในหน้าที่ของตนไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม รัฐมนตรีคนนั้นก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรีจะครอบคลุมทุกเรื่องของแต่ละกระทรวง เช่น เรื่องนโยบายของกระทรวง การออกกฎหมายหรือกฎระเบียบ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการ เป็นต้น  
ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรีจะครอบคลุมทุกเรื่องของแต่ละกระทรวง เช่น เรื่องนโยบายของกระทรวง การออกกฎหมายหรือกฎระเบียบ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการ เป็นต้น  


==การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี==
==การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๓๑ – ๑๓๔.</ref>==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีไว้ ๒ กรณี คือ  
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐]] ได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีไว้ ๒ กรณี คือ
๑. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ  
'''๑. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ'''
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ ได้กำหนดให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ  
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ ได้กำหนดให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ  
๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง  
๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง  
๒) อายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร  
๒) อายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร  
๓) คณะรัฐมนตรีลาออก  
๓) คณะรัฐมนตรีลาออก  
๒. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะตัว  
 
'''๒. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะตัว'''
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อ  
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อ  
๑) ตาย  
๑) ตาย  
๒) ลาออก  
๒) ลาออก  
๓) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษหรือความผิดฐานหมิ่นประมาท  
๓) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษหรือความผิดฐานหมิ่นประมาท  
๔) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล  
๔) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล  
๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ  
๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ  
๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
 
๗) ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๖) มี[[พระบรมราชโองการ]]ให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
 
๗) ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น [[ข้าราชการส่วนท้องถิ่น]] เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
 
๘) รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการรับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๘) รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการรับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๙) รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติต่อบุคคลอื่นๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๙) รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติต่อบุคคลอื่นๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๑๐) เป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือโทรคมนาคม ไม่ว่าในนามของตนเองหรือให้ผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นแทน หรือดำเนินการโดยวิธีการอื่นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมที่สามารถบริหารกิจการดังกล่าวได้ในทำนองเดียวกับการเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการดังกล่าว เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๑๐) เป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือโทรคมนาคม ไม่ว่าในนามของตนเองหรือให้ผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นแทน หรือดำเนินการโดยวิธีการอื่นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมที่สามารถบริหารกิจการดังกล่าวได้ในทำนองเดียวกับการเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการดังกล่าว เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย  
๑๑) ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด  
๑๑) ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด  
๑๒) ใช้สถานะหรือตำแหน่งก้าวก่ายหรือแทรกแซงกิจการในเรื่องต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ  
๑๒) ใช้สถานะหรือตำแหน่งก้าวก่ายหรือแทรกแซงกิจการในเรื่องต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ  
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น
 
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือ[[ราชการส่วนท้องถิ่น]]
 
(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น  
(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น  
(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง  
(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง  
๑๓) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งว่าประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป และได้โอนหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่าวให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ  
 
๑๔) วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง  
๑๓) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ เว้นแต่จะได้แจ้งให้[[ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]ทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งว่าประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป และได้โอนหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่าวให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ  
 
๑๔) วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
๑๕) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบกำหนดเวลา ๘ ปี
๑๕) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบกำหนดเวลา ๘ ปี


==การกระทำอันต้องห้ามของรัฐมนตรี<ref>The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗). </ref>==


==การกระทำอันต้องห้ามของรัฐมนตรี==
ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องไม่กระทำการอันต้องห้าม ต่อไปนี้


ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องไม่กระทำการอันต้องห้าม ต่อไปนี้
๑. เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ นอกจากข้าราชการการเมือง
๑. เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ นอกจากข้าราชการการเมือง
๒. ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ตำแหน่งข้าราชการการเมืองอื่นๆหรือตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ โดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย
๒. ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ตำแหน่งข้าราชการการเมืองอื่นๆหรือตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ โดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย
๓. รับเงินหรือประโยชน์ใดๆจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติทั้งนี้ไม่รวมถึงกับการเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
 
๓. รับเงินหรือประโยชน์ใดๆจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติทั้งนี้ไม่รวมถึงกับการเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินปี[[พระบรมวงศานุวงศ์]] หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
 
๔. รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ  ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว
๔. รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ  ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว
๕. เป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือยังคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป ทั้งนี้ ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรี ผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีผู้นั้นแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้รัฐมนตรีผู้นั้นโอนหุ้นให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น กระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆเกี่ยวกับหุ้น หรือกิจการของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทดังกล่าว
๕. เป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือยังคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป ทั้งนี้ ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรี ผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีผู้นั้นแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้รัฐมนตรีผู้นั้นโอนหุ้นให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น กระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆเกี่ยวกับหุ้น หรือกิจการของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทดังกล่าว


บัญชีอัตราตำแหน่ง เงินเดือน และเงินประจำตำแหน่งของคณะรัฐมนตรี
<center>'''ตารางเปรียบเทียบบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ  พ.ศ. 2540 กับ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 ในประเด็นเรื่องการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร'''</center>
ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน (บาท) อัตราเงินประจำตำแหน่ง   (บาท/เดือน) รวม       (บาท/เดือน)
 
นายกรัฐมนตรี ๗๕,๕๙๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๒๕,๕๙๐
 
รองนายกรัฐมนตรี ๗๔,๔๒๐ ๔๕,๕๐๐ ๑๑๙,๙๒๐
{| border="1" align="center"
รัฐมนตรีว่าการของทุกกระทรวง และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ๗๓,๒๔๐ ๔๒,๕๐๐ ๑๑๕,๗๔๐
|-
รัฐมนตรีช่วยว่าการทุกกระทรวง ๗๒,๐๖๐ ๔๑,๕๐๐ ๑๑๓,๕๖๐
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''ตำแหน่ง'''
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''อัตราเงินเดือน(บาท)'''<ref> พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.</ref>
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''อัตราเงินประจำตำแหน่ง(บาท/เดือน)'''<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๔๖.</ref>
!width="100" style="background:#87cefa;" | '''รวม(บาท/เดือน)'''
|-
|align="center" |นายกรัฐมนตรี
|align="center" |๗๕,๕๙๐
|align="center" |๕๐,๐๐๐
|align="center" |'''๑๒๕,๕๙๐'''
|-
|align="center" |รองนายกรัฐมนตรี
|align="center" |๗๔,๔๒๐
|align="center" |๔๕,๕๐๐
|align="center" |'''๑๑๙,๙๒๐'''
|-
|align="center" |รัฐมนตรีว่าการของทุกกระทรวง และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
|align="center" |๗๓,๒๔๐
|align="center" |๔๒,๕๐๐
|align="center" |'''๑๑๕,๗๔๐'''
|-
|align="center" |รัฐมนตรีช่วยว่าการทุกกระทรวง
|align="center" |๗๒,๐๖๐
|align="center" |๔๑,๕๐๐
|align="center" |'''๑๑๓,๕๖๐'''
|-
|}


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 156: บรรทัดที่ 270:
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


๑. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  
๑. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. '''ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย'''. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  
๒. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๑-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.  
 
๓. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.  
๒. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. '''การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๑-๒๕๐๐'''. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.
๔. อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวด องค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.  
๓. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. '''แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี''', (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.
๔. อัครเมศวร์ ทองนวล. '''สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวด องค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี'''. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.  


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


คณิน บุญสุวรรณ. ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์. (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘.  
คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์'''. (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘.
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm. (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  
เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. '''สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗'''. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm. (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  
นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ :       ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  
 
พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.
เดลินิวส์, '''อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี'''. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.
 
ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก  : http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. '''ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย'''. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.  
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.  
 
วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์].  สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.
สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔.  
 
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี. (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.
ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน '''พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒'''. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก  : http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.  
 
อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐''', (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.  
The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  
 
วิษณุ เครืองาม, '''การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี'''. [ออนไลน์].  สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
 
สถาบันพระปกเกล้า, '''โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐)''' : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔.  
 
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. '''แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี'''. (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''“ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”''', (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,'''“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”''', (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.
 
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. '''การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐'''. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.  
 
อัครเมศวร์ ทองนวล. '''สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี'''. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.
 
The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, '''บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี'''. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).  
 


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==


• การบริหารราชการแผ่นดิน  
• การบริหารราชการแผ่นดิน  
• คณะรัฐมนตรี  
• คณะรัฐมนตรี  
• ฝ่ายบริหาร
• ฝ่ายบริหาร
 
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:09, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง นายโชคสุข กรกิตติชัย

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


บทนำ

นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศตลอดมา รัฐธรรมนูญที่มีมาทุกฉบับได้กำหนดรูปแบบการบริหารการปกครองประเทศอยู่ในระบบรัฐสภา โดยมีหลักสำคัญในการปกครองว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยมีการแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ

๑. รัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติในการตรากฎหมายต่าง ๆ

๒. คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารในการบริหารราชการแผ่นดิน สำหรับคณะรัฐมนตรีนั้นประกอบไปด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน

๓. ศาลเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี[1]


ประวัติความเป็นมาของรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีมีที่มาจากคณะเสนาบดีในอดีต สมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก และให้ราษฎรช่วยกัน “ถือบ้านถือเมือง” ในสมัยอยุธยามีการตั้งตำแหน่งจตุสดมภ์ ๔ ตำแหน่ง คือ เวียง วัง คลัง นา มีเสนาบดีเป็นหัวหน้ารับผิดชอบแต่ละฝ่าย มีสมุหนายกและสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าเสนาบดีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง แต่บทบาทเน้นหนักไปในทางการเป็นแม่ทัพใหญ่และรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้เป็นสำคัญ[2]

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงจัดการปกครองในลักษณะเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยาและธนบุรี จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ โดยทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of state) และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ขึ้น ยกเลิกตำแหน่งสมุหกลาโหมและสมุหนายก และยกฐานะกรมต่าง ๆ ขึ้นเป็นกระทรวง มีเสนาบดีเป็นหัวหน้า[3] มีปลัดทูลฉลองเป็นผู้กลั่นกรองเรื่องและช่วยราชการภายในกระทรวง มีการประชุมเสนาบดีในทำนองการประชุมคณะรัฐมนตรี แต่ไม่มีหัวหน้าคณะเสนาบดีในทำนองนายกรัฐมนตรี เพราะในการประชุมคณะเสนาบดี พระมหากษัตริย์ประทับเป็นประธานเอง หรือมิฉะนั้นก็ให้ที่ประชุมเลือกประธานเป็นครั้งคราว การบริหารราชการแผ่นดินโดยระบบคณะเสนาบดีได้ดำเนินมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการจัดตั้งคณะองคมนตรีสภา ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาในการปกครองและการออกกฎหมายทำนองเดียวกับรัฐสภา และมีการจัดตั้งเสนาบดีสภาเป็นที่ประชุมปรึกษาของเสนาบดีทั้งหลาย การบริหารราชการแผ่นดินในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงเป็นเรื่องของพระมหากษัตริย์โดยตรง การแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งก็ดี การกำหนดนโยบายในการบริหารก็ดี การควบคุมการบริหารก็ดี เป็นเรื่องตามพระราชอัธยาศัย[4]

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดยคณะราษฎรแล้ว ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งกำหนดให้มี คณะกรรมการราษฎร มีจำนวน ๑๕ คน ทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน มี “ประธานกรรมการราษฎร” เป็นหัวหน้า ในระหว่างที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติให้ใช้ คำว่า รัฐมนตรี แทน กรรมการราษฎร และใช้คำว่า นายกรัฐมนตรี แทน ประธานคณะกรรมการราษฎร และคำว่า คณะรัฐมนตรี แทนคำคณะกรรมการราษฎรว่า “” ซึ่งเป็นคำที่ใช้ปรากฏครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน[5]

ความหมายของรัฐมนตรี

“รัฐมนตรี” หมายความถึง บุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีมี ๒ ฐานะ ฐานะแรกเป็นสมาชิก คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า และอีกฐานะหนึ่งเป็นเจ้ากระทรวงผู้มีอำนาจเต็มของส่วนราชการระดับกระทรวงตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน[6]

ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับ คณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และ รับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง (คำว่ารัฐมนตรีนี้ในสมัยโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).[7] รัฐมนตรี (Minister) ของกระทรวงต่างๆ นี้ เมื่อได้รับการแต่งตั้งครบทุกกระทรวงตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันนี้ในฐานะผู้นำในการบริหารประเทศ ก็จะเรียกรวมกันว่าเป็น “คณะรัฐมนตรี”[8]

องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ๑ คนกับรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีจะแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) หรือจากบุคคลภายนอกก็ได้ แต่จะแต่งตั้งจากสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.) ไม่ได้ นายกรัฐมนตรีถือว่าเป็นรัฐมนตรี จึงต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับรัฐมนตรี[9]

การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี (ขั้นตอนการแต่งตั้งรัฐมนตรี)

การแต่งตั้งรัฐมนตรีนั้น นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้นำรายชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งขึ้นกราบบังคม ทูล เพื่อทรงแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ซึ่งในทางปฏิบัติพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอ รัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ด้วย[10]

ซึ่งการจะเป็นรัฐมนตรีได้นั้น ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ และลงนามรับผิดชอบเรียกว่า “ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ส่วนการจะเป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งตามที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรถวายคำแนะนำและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรับขั้นตอนในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีตามลำดับดังนี้

๑. มีการเลือกตั้งทั่วไปซึ่งจะต้องจัดขึ้นในวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

๒. คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้ง

๓. พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา

๔. พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำรัฐพิธีเปิดประชุมสมัยประชุมสามัญทั่วไปครั้งแรก

๕. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร

๖. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร

๗. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคล ซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกตามข้อ ๔ การเสนอชื่อผู้ควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรรับรอง (๑ ใน ๕ ของจำนวน ๕๐๐ คน เท่ากับ ๑๐๐ คน) มติเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทำโดยการลงคะแนนอย่างเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (๒๕๑ คน) แต่ถ้าคะแนนเสียงยังไม่ได้มากกว่ากึ่งหนึ่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็สามารถเรียกประชุมได้อีกจนกว่าจะได้มติเช่นว่านั้น แต่ถ้าพ้นกำหนด ๓๐ วันแล้ว ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำชื่อบุคคลผู้ได้คะแนนเสียงสูงสุดขึ้นกราบบังคมทูลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลาดังกล่าว แม้บุคคลนั้นจะได้คะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

๘. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี

๙. นายกรัฐมนตรีคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี แล้วนำความกราบบังคมทูล นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

๑๐. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรี

๑๑. นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ โดยรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำ[11] ดังต่อไปนี้

“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”[12]

๑๒. คณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษาเพื่อร่างนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ[13]

ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร จะต้องมีการดำเนินการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามข้อ ๗ – ๑๒ ใหม่ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ วรรคสอง

คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี[14]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๗๔ ได้กำหนดว่า รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ คือ

๑. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

๒. มีอายุไม่ต่ำกว่า ๓๕ ปีบริบูรณ์

๓. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

๔. ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ

๕. ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต

๖. ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

๗. ไม่อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง

๘. ไม่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

๙. ไม่ต้องคำพิพากษาให้จำคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล

๑๐. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ

๑๑. ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ

๑๒. ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำนอกจากข้าราชการการเมือง

๑๓. ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น

๑๔. ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ

๑๕. ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

๑๖. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเนื่องจากการไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไม่ชอบตามกฎหมาย

๑๗. ไม่เคยถูกวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง

๑๘. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๕ ปีก่อนได้รับแต่งตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

๑๙. ไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน ๒ ปีนับถึงวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี

อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี

๑. อำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ[15]

๑.๑ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน รักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

๑.๒ มีสิทธิเข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา และในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้เข้าประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีต้องเข้าร่วมประชุม

๑.๓ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ถ้ารัฐมนตรีผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะเดียวกันด้วย ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้นออกเสียงลงคะแนนในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่หรือการมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้น

๑.๔ ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบต่อสภาผู้แทนราษฎรในหน้าที่ของตน และต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี

๒. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน[16]

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ ๕)พ.ศ.๒๕๔๕ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดังนี้

๒.๑ เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกระทรวง และของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม หน่วยงานของรัฐในกำกับและความรับผิดชอบในสังกัดกระทรวง เช่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน เป็นต้น โดยรัฐมนตรีว่าการอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได้

๒.๒ กำหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ให้เป็นไปภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง หรือตามมติคณะรัฐมนตรี

๓. อำนาจหน้าที่ตามระเบียบข้าราชการพลเรือน[17]

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ด้านการบริหารงานบุคคล การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และข้าราชการประจำสำนักงานรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑

๔. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายวิธีการงบประมาณ[18]

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ กำหนดให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอคำขอตั้งงบประมาณประจำปีของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้นต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณภายในเวลาที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ มีอำนาจในการกำกับตรวจสอบโดยอาจเรียกส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาเสนอข้อเท็จจริง และมีหน้าที่ในการประกาศรายงานรับจ่ายเงินประจำปีเมื่อสิ้นปีงบประมาณในราชกิจจานุเบกษา

๕. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น[19]

๕.๑ มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในกฎหมายอื่น ๆ ของกระทรวงและหรือส่วนราชการหรือหน่วยงานที่อยู่ในกำกับหรือความรับผิดชอบของกระทรวงที่ระบุให้เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี

๕.๒ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการการเมืองในสังกัดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖

๕.๓ สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดในการปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง เช่น ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒

๖. อำนาจหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี[20]

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่จากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีให้ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามความจำเป็น

ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี[21]

๑. ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ

ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะ เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะต่อรัฐสภาในการบริหารราชการตามนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี ไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม นายกรัฐมนตรีก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้

ความรับผิดชอบร่วมกันของรัฐมนตรีทั้งคณะนี้ จะครอบคลุมทุกเรื่องของคณะรัฐมนตรี เช่น เรื่องนโยบายของคณะรัฐมนตรี เรื่องการเสนอร่างพระราชบัญญัติ การออกพระราชกำหนด การออกพระราชกฤษฎีกา เป็นต้น ความรับผิดชอบร่วมกันจะมีที่มาจากการมีมติในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี

๒. ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี

ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรี เป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีที่เข้าไปดำรงตำแหน่งในกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาผู้แทนราษฎรในการบริหารราชการในหน้าที่ของตนไม่ว่าการบริหารราชการนั้นจะเกิดผลประการใดก็ตาม แต่ถ้าการบริหารราชการนั้นเกิดผลเสียหายต่อส่วนรวม รัฐมนตรีคนนั้นก็อาจถูกตั้งกระทู้ถาม หรือถูกเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจได้

ความรับผิดชอบเฉพาะตัวของรัฐมนตรีจะครอบคลุมทุกเรื่องของแต่ละกระทรวง เช่น เรื่องนโยบายของกระทรวง การออกกฎหมายหรือกฎระเบียบ การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการ เป็นต้น

การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี[22]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีไว้ ๒ กรณี คือ

๑. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๐ ได้กำหนดให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ

๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง

๒) อายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร

๓) คณะรัฐมนตรีลาออก

๒. การพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะตัว

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่า ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อ

๑) ตาย

๒) ลาออก

๓) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษหรือความผิดฐานหมิ่นประมาท

๔) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล

๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ

๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี

๗) ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๘) รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการรับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๙) รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติต่อบุคคลอื่นๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๑๐) เป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือโทรคมนาคม ไม่ว่าในนามของตนเองหรือให้ผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นแทน หรือดำเนินการโดยวิธีการอื่นไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมที่สามารถบริหารกิจการดังกล่าวได้ในทำนองเดียวกับการเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการดังกล่าว เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

๑๑) ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด

๑๒) ใช้สถานะหรือตำแหน่งก้าวก่ายหรือแทรกแซงกิจการในเรื่องต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น

(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น

(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง

๑๓) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งว่าประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป และได้โอนหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่าวให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ

๑๔) วุฒิสภามีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง

๑๕) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อดำรงตำแหน่งติดต่อกันครบกำหนดเวลา ๘ ปี

การกระทำอันต้องห้ามของรัฐมนตรี[23]

ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องไม่กระทำการอันต้องห้าม ต่อไปนี้

๑. เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ นอกจากข้าราชการการเมือง

๒. ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เว้นแต่ตำแหน่งข้าราชการการเมืองอื่นๆหรือตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ โดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย

๓. รับเงินหรือประโยชน์ใดๆจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติทั้งนี้ไม่รวมถึงกับการเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน

๔. รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือ ผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว

๕. เป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือยังคงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป ทั้งนี้ ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรี ผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีผู้นั้นแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้รัฐมนตรีผู้นั้นโอนหุ้นให้นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้นั้น กระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆเกี่ยวกับหุ้น หรือกิจการของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทดังกล่าว

ตารางเปรียบเทียบบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 ในประเด็นเรื่องการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน(บาท)[24] อัตราเงินประจำตำแหน่ง(บาท/เดือน)[25] รวม(บาท/เดือน)
นายกรัฐมนตรี ๗๕,๕๙๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๒๕,๕๙๐
รองนายกรัฐมนตรี ๗๔,๔๒๐ ๔๕,๕๐๐ ๑๑๙,๙๒๐
รัฐมนตรีว่าการของทุกกระทรวง และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ๗๓,๒๔๐ ๔๒,๕๐๐ ๑๑๕,๗๔๐
รัฐมนตรีช่วยว่าการทุกกระทรวง ๗๒,๐๖๐ ๔๑,๕๐๐ ๑๑๓,๕๖๐

อ้างอิง

  1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕, หน้า ๗.
  2. โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗)
  3. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, “การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒–๒๕๐๐”, (กรุงเทพฯ: เสมาธรรม), ๒๕๔๙. หน้า ๓๐๒ - ๓๑๗.
  4. โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน, “สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗”, [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  5. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์, “ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย”, (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙. หน้า ๘๓.
  6. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์”, (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘. หน้า ๗๕๗.
  7. ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  8. สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔, หน้า ๑.
  9. The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.
  11. วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.
  13. วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  14. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๙.
  15. เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  16. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๓.
  17. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.
  18. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, “แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี”, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕. หน้า ๓๕.
  19. เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๖.
  20. เรื่องเดียวกัน หน้า ๓๖.
  21. อัครเมศวร์ ทองนวล, “สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี, (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔. หน้า ๙.
  22. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๑๓๑ – ๑๓๔.
  23. The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).
  24. พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.
  25. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔. หน้า ๔๖.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

๑. นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.

๒. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๑-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.

๓. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี, (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.

๔. อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวด องค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.

บรรณานุกรม

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์. (กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ), ๒๕๔๘.

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม ๒๗. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp๖/BOOK๒๗/chapter๒/chap๒.htm. (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

เดลินิวส์, อำนาจหน้าที่รัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://www.dailynews.co.th (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

นคร พจนวรพงษ์ และอุกฤษ พจนวรพงษ์. ข้อมูลประวัติศาสตร์การเมืองไทย. (กรุงเทพฯ : ขวัญนคร), ๒๕๔๙.

พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก, ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔, หน้าบัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑.

ราชบัณฑิตยสถาน, “รัฐมนตรี” ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก  : http://rirs๓.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.

วิษณุ เครืองาม, การเข้าสู่ตำแหน่งของรัฐมนตรี. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=๑๙๒๐ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).

สถาบันพระปกเกล้า, โครงการเฉลิมพระเกียรติ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) : คณะรัฐมนตรี , กรุงเทพฯ : สถาบัน., ๒๕๔๔.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และอธิบดี. (กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์), ๒๕๔๕.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, “ระบบงานรัฐสภา ๒๕๕๕”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๕.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,“สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๕๕๔”, (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร), ๒๕๕๔.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย : พ.ศ. ๑๗๖๒-๒๕๐๐. (กรุงเทพฯ : เสมาธรรม), ๒๕๔๙.

อัครเมศวร์ ทองนวล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่อง ๑๐. คณะรัฐมนตรี. (กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา), ๒๕๔๔.

The Thai Association of University Women (TAUW), under the Patronage of H.R.H. Princess Galyani Vadhana, Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra, บทที่ ๗ เรื่อง คณะรัฐมนตรี. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/tauw๒๔๙๑/sm๔๗ (เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗).


ดูเพิ่มเติม

• การบริหารราชการแผ่นดิน

• คณะรัฐมนตรี

• ฝ่ายบริหาร