ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ ผู้ทรงคุณว..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์
ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


----
----
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
 
 


          '''ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร '''นายกรัฐมนตรีคนที่ 28 และนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีต[https://th.wikipedia.org/wiki/สภาผู้แทนราษฎรไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร] กรรมการและเลขานุการมูลนิธิ[https://th.wikipedia.org/wiki/ไทยคม ไทยคม] 
          '''ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร '''[[นายกรัฐมนตรี]]คนที่ 28 และนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีต[https://th.wikipedia.org/wiki/สภาผู้แทนราษฎรไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร] กรรมการและเลขานุการมูลนิธิ[https://th.wikipedia.org/wiki/ไทยคม ไทยคม] 


 
 
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:
          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นธิดาคนสุดท้องในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยมีพี่ชายและพี่สาว ดังนี้
          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นธิดาคนสุดท้องในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยมีพี่ชายและพี่สาว ดังนี้


          1. นางเยาวลักษณ์ ชินวัตร (สมรสกับ พ.อ. ศุกภฤษ์ คล่องคำนวณการ)
          1. นาง[[เยาวลักษณ์_ชินวัตร]] (สมรสกับ พ.อ. ศุกภฤษ์ คล่องคำนวณการ)


          2. พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร (สมรสกับคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร)
          2. พันตำรวจโท ดร. [[ทักษิณ_ชินวัตร]] (สมรสกับ[[คุณหญิงพจมาน_ณ_ป้อมเพชร]])


          3. นางเยาวเรศ ชินวัตร (สมรสกับนายวีระชัย วงศ์นภาจันทร์)
          3. นางเยาวเรศ ชินวัตร (สมรสกับนายวีระชัย วงศ์นภาจันทร์)
บรรทัดที่ 28: บรรทัดที่ 28:
          5. นายอุดร ชินวัตร (ถึงแก่กรรมแล้ว)
          5. นายอุดร ชินวัตร (ถึงแก่กรรมแล้ว)


          6. นางเยาวภา ชินวัตร (สมรสกับนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์)
          6. นาง[[เยาวภา_ชินวัตร]] (สมรสกับ[[นายสมชาย_วงศ์สวัสดิ์]])


          7. นายพายัพ ชินวัตร (สมรสกับนางพอฤทัย จันทรพันธ์)
          7. นาย[[พายัพ_ชินวัตร]] (สมรสกับนางพอฤทัย จันทรพันธ์)


          8. นางมณฑาทิพย์ ชินวัตร (สมรสกับนายแพทย์สมชัย โกวิทย์เจริญกุญ)
          8. นางมณฑาทิพย์ ชินวัตร (สมรสกับนายแพทย์สมชัย โกวิทย์เจริญกุญ)
บรรทัดที่ 36: บรรทัดที่ 36:
          9. นางทัศนีย์ ชินวัตร (ถึงแก่กรรมแล้ว)
          9. นางทัศนีย์ ชินวัตร (ถึงแก่กรรมแล้ว)


          10. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (สมรสกับนายอนุสรณ์ อมรฉัตร)[[#_ftn2|[2]]]
          10. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (สมรสกับนาย[[อนุสรณ์_อมรฉัตร]])[[#_ftn2|[2]]]


          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เข้าศึกษาระดับมัธยมต้นที่โรงเรียนเรยีนา เชลี วิทยาลัย ศึกษาในระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จากนั้นเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในปี พ.ศ. 2531 จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตที่ Kentucky State University (KUS) เมือง Frankfort รัฐ Kentucky ประเทศสหรัฐอเมริกา และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2533[[#_ftn3|[3]]]
          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เข้าศึกษาระดับมัธยมต้นที่โรงเรียนเรยีนา เชลี วิทยาลัย ศึกษาในระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จากนั้นเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในปี พ.ศ. 2531 จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตที่ Kentucky State University (KUS) เมือง Frankfort รัฐ Kentucky ประเทศสหรัฐอเมริกา และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2533[[#_ftn3|[3]]]
บรรทัดที่ 60: บรรทัดที่ 60:
'''บทบาททางการเมือง'''
'''บทบาททางการเมือง'''


          หลังจากที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีประกาศพระราชกฤษฎีกา ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554[[#_ftn7|[7]]]นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้รับร้องขอจาก ดร.ทักษิณ ชินวัตรให้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย ท่ามกลางกระแสข่าวว่าเป็นตัวแทนของดร.ทักษิณ โดย ดร.ทักษิณให้เหตุผลว่า “ยิ่งลักษณ์ไม่ใช่ “นอมินี” แต่เป็น “โคลนนิ่ง”  เพราะเคยทำงานร่วมกันมา เติบโตมาด้วยฐานคิดเดียวกัน” [[#_ftn8|[8]]] นางสาวยิ่งลักษณ์จึงได้เข้าสู่วงการการเมืองโดยสมัครเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทยในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 และในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรค ที่มีนายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์ หัวหน้าพรรคเพื่อไทยเป็นประธานที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 1[[#_ftn9|[9]]]
          หลังจากที่นาย[[อภิสิทธิ์_เวชชาชีวะ]] นายกรัฐมนตรีประกาศ[[พระราชกฤษฎีกา_ยุบสภาผู้แทนราษฎร_พ.ศ.2554|พระราชกฤษฎีกา ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554]] ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยให้[[มีการเลือกตั้งทั่วไป]]ในวันที่ [[3_กรกฎาคม_พ.ศ._2554]][[#_ftn7|[7]]]นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้รับร้องขอจาก ดร.ทักษิณ ชินวัตรให้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[พรรคเพื่อไทย]] ท่ามกลางกระแสข่าวว่าเป็นตัวแทนของดร.ทักษิณ โดย ดร.ทักษิณให้เหตุผลว่า “ยิ่งลักษณ์ไม่ใช่ “[[นอมินี]]” แต่เป็น “โคลนนิ่ง”  เพราะเคยทำงานร่วมกันมา เติบโตมาด้วยฐานคิดเดียวกัน” [[#_ftn8|[8]]] นางสาวยิ่งลักษณ์จึงได้เข้าสู่วงการการเมืองโดยสมัครเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทยในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 และในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุม[[คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง|คณะกรรมการบริหารพรรค]] ที่มีนาย[[ยงยุทธ_วิชัยดิษฐ์]] หัวหน้าพรรคเพื่อไทยเป็นประธานที่ประชุมมีมติเป็น[[เอกฉันท์]]ให้ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นผู้สมัคร[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ]]ลำดับที่ 1[[#_ftn9|[9]]]


          นโยบายสำคัญที่ใช้ในการหาเสียงคือ นโยบายจบปริญญาตรีทำงานมีเงินเดือนเริ่มต้น 15,000 บาท, ลดภาษีนิติบุคคล จาก 30% เหลือ 23% โครงการรถยนต์คันแรก คืนภาษีและเพิ่มค่าลดหย่อนภาษีให้กับผู้ที่ซื้อบ้านหลังแรก เครดิตการ์ดสำหรับเกษตรกร เด็กนักเรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ หรือ One Tablet PC Per Child นโยบายกองทุนหมู่บ้าน นโยบายพักชำระหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้ไม่เกินห้าแสนบาท ไม่น้อยกว่า 3 ปี โครงการรับจำนำข้าวทุกเมล็ด เป็นต้น[[#_ftn10|[10]]]
          นโยบายสำคัญที่ใช้ในการหาเสียงคือ นโยบายจบปริญญาตรีทำงานมีเงินเดือนเริ่มต้น 15,000 บาท, ลดภาษีนิติบุคคล จาก 30% เหลือ 23% โครงการรถยนต์คันแรก คืนภาษีและเพิ่มค่าลดหย่อนภาษีให้กับผู้ที่ซื้อบ้านหลังแรก เครดิตการ์ดสำหรับเกษตรกร เด็กนักเรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ หรือ One Tablet PC Per Child นโยบายกองทุนหมู่บ้าน นโยบายพักชำระหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้ไม่เกินห้าแสนบาท ไม่น้อยกว่า 3 ปี โครงการรับจำนำข้าวทุกเมล็ด เป็นต้น[[#_ftn10|[10]]]


          ผลการเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ปรากฏว่า พรรคเพื่อไทยได้คะแนนมาเป็นอันดับที่ 1 โดยได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 265 เสียง พรรคที่ได้คะแนนอันดับ 2 คือ พรรคประชาธิปัตย์ ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 159 เสียง วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเลือก นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง 296 คะแนน ไม่เห็นชอบ 3 เสียง และงดออกเสียง 197 เสียง จากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาลงชื่อใช้สิทธิออกเสียง 458 คน จากทั้งหมด 500 คน[[#_ftn11|[11]]]
          ผลการเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ปรากฏว่า พรรคเพื่อไทยได้คะแนนมาเป็นอันดับที่ 1 โดยได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 265 เสียง พรรคที่ได้คะแนนอันดับ 2 คือ [[พรรคประชาธิปัตย์]] ได้[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] 159 เสียง วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 [[ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]ได้[[การลงมติ|ลงมติ]]เลือก นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง 296 คะแนน ไม่เห็นชอบ 3 เสียง และงดออกเสียง 197 เสียง จากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาลงชื่อใช้สิทธิออกเสียง 458 คน จากทั้งหมด 500 คน[[#_ftn11|[11]]]


          วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 28[[#_ftn12|[12]]] ด้วยวัยเพียง 44 ปี เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกและนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ของไทย โดยจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคชาติไทยพัฒนา (19 เสียง) พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (7 เสียง) พรรคพลังชล (7 เสียง) พรรคมหาชน (1 เสียง) รวมเป็น 299 เสียง[[#_ftn13|[13]]]
          วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 28[[#_ftn12|[12]]] ด้วยวัยเพียง 44 ปี เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกและนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ของไทย โดยจัดตั้ง[[รัฐบาลผสม]]ร่วมกับ[[พรรคชาติไทยพัฒนา]] (19 เสียง) [[พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน]] (7 เสียง) [[พรรคพลังชล]] (7 เสียง) [[พรรคมหาชน]] (1 เสียง) รวมเป็น 299 เสียง[[#_ftn13|[13]]]


          วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐบาลได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา โดยมีเนื้อหาโดยสรุป 3 ประการ ประกอบด้วย (1) นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น (2) นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ และ (3) นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 อย่างสมบูรณ์
          วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐบาลได้[[แถลงนโยบายต่อรัฐสภา]] โดยมีเนื้อหาโดยสรุป 3 ประการ ประกอบด้วย (1) นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น (2) นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ และ (3) นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 อย่างสมบูรณ์


           นโยบายและแนวปฏิบัติที่ดำเนินงานในปีแรกประกอบด้วย นโยบายเร่งด่วนจำนวน 16 ข้อ คือนโยบายเร่งด่วยที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก จำนวน 16 ข้อ คือ (1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์(2) การป้องกันยาเสพติด (3) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น (4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ (5) แก้ปัญหาความสงบชายแดนภาคใต้  (6) สร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ (7) แก้ไขปัญหาราคาน้ำมัน (8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน (9) ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล (10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน (11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรเข้าถึงแหล่งเงินทุน (12) ส่งเสริมรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ (13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) (14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาให้แก่โรงเรียน  (16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.)[[#_ftn14|[14]]]
           นโยบายและแนวปฏิบัติที่ดำเนินงานในปีแรกประกอบด้วย นโยบายเร่งด่วนจำนวน 16 ข้อ คือนโยบายเร่งด่วยที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก จำนวน 16 ข้อ คือ (1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์(2) การป้องกันยาเสพติด (3) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น (4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ (5) แก้ปัญหาความสงบชายแดนภาคใต้  (6) สร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ (7) แก้ไขปัญหาราคาน้ำมัน (8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน (9) ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล (10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน (11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรเข้าถึงแหล่งเงินทุน (12) ส่งเสริมรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ (13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) (14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาให้แก่โรงเรียน  (16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.)[[#_ftn14|[14]]]
บรรทัดที่ 74: บรรทัดที่ 74:
           เพียงช่วงแรกรัฐบาลของนาวสาวยิ่งลักษณ์ต้องเผชิญกับปัญหาอุทกภัยที่รุนแรงเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคมพ.ศ. 2554และสิ้นสุดในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 ซึ่งมีราษฎรได้รับผลกระทบจำนวนกว่า 12.8 ล้านคน ธนาคารโลกประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท[[#_ftn15|[15]]]
           เพียงช่วงแรกรัฐบาลของนาวสาวยิ่งลักษณ์ต้องเผชิญกับปัญหาอุทกภัยที่รุนแรงเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคมพ.ศ. 2554และสิ้นสุดในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 ซึ่งมีราษฎรได้รับผลกระทบจำนวนกว่า 12.8 ล้านคน ธนาคารโลกประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท[[#_ftn15|[15]]]


          รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์เผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างรุนแรงจากการเสนอ ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่งกระทำความผิดเนื่องจากการชุมนุมทางการเมืองการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน พ.ศ..... ต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรร่วมกันเข้าชื่อจำนวน 21 คน เนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้มุ่งนิรโทษกรรมผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้กระทำผิดโดยคณะบุคคลหรือองค์กรที่กระทำขึ้นภายหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 รวมทั้งองค์กรหรือหน่วยงานที่ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวสืบเนื่องต่อมาที่เกิดขึ้นระหว่าง พ.ศ.2547 ถึงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2554[[#_ftn16|[16]]] โดยประธานสภาผู้แทนราษฎรได้บรรจุเข้าพิจารณาวาระ 2 และ 3 ในวันที่ 31 ตุลาคม- 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 แต่ก่อนหน้าถึงวันพิจารณา 1 วัน คือวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2556 ที่ลานพระราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์กว่า 50 คนนำโดยนายสุเทพ เทือกสุบรรณเปิดแถลงข่างคัดค้านร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และจัดการชุมนุมที่สถานีรถไฟสามเสนในเย็นวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 [[#_ftn17|[17]]]
          รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์เผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างรุนแรงจากการเสนอ ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่งกระทำความผิดเนื่องจาก[[การชุมนุมทางการเมือง]]การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน พ.ศ..... ต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรร่วมกันเข้าชื่อจำนวน 21 คน เนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้มุ่งนิรโทษกรรมผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้กระทำผิดโดยคณะบุคคลหรือองค์กรที่กระทำขึ้นภายหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 รวมทั้งองค์กรหรือหน่วยงานที่ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวสืบเนื่องต่อมาที่เกิดขึ้นระหว่าง พ.ศ.2547 ถึงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2554[[#_ftn16|[16]]] โดย[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]ได้บรรจุเข้าพิจารณาวาระ 2 และ 3 ในวันที่ 31 ตุลาคม- 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 แต่ก่อนหน้าถึงวันพิจารณา 1 วัน คือวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2556 ที่ลาน[[พระราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ]]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์กว่า 50 คนนำโดยนาย[[สุเทพ_เทือกสุบรรณ]]เปิดแถลงข่างคัดค้านร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และจัดการชุมนุมที่สถานีรถไฟสามเสนในเย็นวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 [[#_ftn17|[17]]]


          วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 สภาผู้แทนราษฎรมีมติผ่านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในวาระที่ 3 ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมได้ถูกส่งไปพิจารณาในที่ประชุมวุฒิสภา ความเคลื่อนไหวการชุมนุมต่อต้านได้เกิดขึ้นทั่วประเทศกลายเป็นการชุมนุมใหญ่ทางการเมือง ทำให้ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 นายอำนวย คลังผา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) แถลงผลการประชุมวิปรัฐบาลว่า มติวิปรัฐบาลเห็นด้วยกับการให้ถอนร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความปรองดองแห่งชาติทั้ง 5 ฉบับ รวมทั้งร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ออกจากระเบียบวาระการประชุม ตามที่พรรคฝ่ายค้านได้มีการนำเสนอต่อที่ประชุม  และวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 [https://th.wikipedia.org/wiki/วุฒิสภา วุฒิสภา]ลงมติเป็นเอกฉันท์ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมไว้เป็นเวลา 180 วัน ก่อนจะส่งคืนให้[https://th.wikipedia.org/wiki/สภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎร][[#_ftn18|[18]]]
          วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 สภาผู้แทนราษฎรมีมติผ่านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในวาระที่ 3 ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมได้ถูกส่งไปพิจารณาในที่[[การประชุมวุฒิสภา|ประชุมวุฒิสภา]] ความเคลื่อนไหว[[การชุมนุม]]ต่อต้านได้เกิดขึ้นทั่วประเทศกลายเป็นการชุมนุมใหญ่ทางการเมือง ทำให้ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 นายอำนวย คลังผา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธาน[[คณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล]] ([[วิปรัฐบาล]]) แถลงผลการประชุมวิปรัฐบาลว่า มติวิปรัฐบาลเห็นด้วยกับการให้ถอนร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยแห่งชาติทั้ง 5 ฉบับ รวมทั้งร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ออกจากระเบียบวาระการประชุม ตามที่พรรคฝ่ายค้านได้มีการนำเสนอต่อที่ประชุม  และวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 [https://th.wikipedia.org/wiki/วุฒิสภา วุฒิสภา]ลงมติเป็นเอกฉันท์ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมไว้เป็นเวลา 180 วัน ก่อนจะส่งคืนให้[https://th.wikipedia.org/wiki/สภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎร][[#_ftn18|[18]]]


          แม้พระราชบัญญัติฉบับนี้จะถูกยกเลิกไปแล้ว แต่การชุมนุมต่อต้านไม่ได้ยุติลง แต่กลับเพิ่มระดับขึ้น โดยมีการเรียกร้องให้ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนทำให้วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม่ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[[#_ftn19|[19]]]
          แม้พระราชบัญญัติฉบับนี้จะถูกยกเลิกไปแล้ว แต่การชุมนุมต่อต้านไม่ได้ยุติลง แต่กลับเพิ่มระดับขึ้น โดยมีการเรียกร้องให้ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนทำให้วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรประกาศ[[ยุบสภา]]ผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม่ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[[#_ftn19|[19]]]


          วิกฤติการณ์ทางการเมืองรุนแรงขึ้นเมื่อคณะกรรมการประชาชนเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (กปปส.) ยังคงชุมนุมต่อต้านการเลือกตั้งทั่วไปเนื่องจากเห็นว่าต้องการปฏิรูปการเมืองก่อนมีการเลือกตั้ง วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2557 ผู้ชุมนุม กปปส.เดินหน้าแผนปิดกรุงเทพเพื่อเรียกร้องให้นางสาวยิ่งลักษณ์ลาออกจากการรักษาการตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยผู้ชุมนุมได้ปิดล้อมหน่วยราชการหลายแห่งเพื่อไม่ให้สามารถบริหารตามปกติได้ รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ.2557[[#_ftn20|[20]]]
          วิกฤติการณ์ทางการเมืองรุนแรงขึ้นเมื่อ[[คณะกรรมการประชาชนเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข]] ([[กปปส.]]) ยังคงชุมนุมต่อต้าน[[การเลือกตั้งทั่วไป]]เนื่องจากเห็นว่าต้องการปฏิรูปการเมืองก่อนมีการเลือกตั้ง วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2557 ผู้ชุมนุม กปปส.เดินหน้าแผนปิดกรุงเทพเพื่อเรียกร้องให้นางสาวยิ่งลักษณ์ลาออกจากการรักษาการตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยผู้ชุมนุมได้ปิดล้อมหน่วยราชการหลายแห่งเพื่อไม่ให้สามารถบริหารตามปกติได้ รัฐบาลได้ประกาศใช้[[พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน]]ในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ.2557[[#_ftn20|[20]]]


          วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2557 สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ยื่นสอบสวนข้อเท็จจริงนางสาวยิ่งลักษณ์ คดีรับจำนำข้าว ในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ฐานละเลยไม่ดำเนินการระงับยับยั้งจนเกิดความเสียหาย[[#_ftn21|[21]]]
          วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2557 [[สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]ได้ยื่นสอบสวนข้อเท็จจริงนางสาวยิ่งลักษณ์ คดีรับจำนำข้าว ในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ฐานละเลยไม่ดำเนินการระงับยับยั้งจนเกิดความเสียหาย[[#_ftn21|[21]]]


          การเลือกตั้งที่จัดให้มีในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ไม่สามารถดำเนินการอย่างราบรื่น ตั้งแต่การรับสมัครระหว่างวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2556-3 มกราคม 2557  ผลปรากฎว่าจากเขตเลือกตั้ง 77 จังหวัด 375 เขต มีผ้ามัครได้เพียง 347 เขต โดยมีจังหวัดที่เปิดรับสมัครไม่ได้จำนวน 28 เขตเลือกตั้ง และการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 หลายเขตเลือกตั้งไม่สามารถจัดการการเลือกตั้งได้[[#_ftn22|[22]]]  จนถึงวันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงหกต่อสามว่า เมื่อพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่ การเลือกตั้งที่ไม่สามารถจัดแล้วเสร็จทั่วประเทศภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ได้ พระราชกฤษฎีกาจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสองที่กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย[[#_ftn23|[23]]]
          การเลือกตั้งที่จัดให้มีในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ไม่สามารถดำเนินการอย่างราบรื่น ตั้งแต่การรับสมัครระหว่างวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2556-3 มกราคม 2557  ผลปรากฎว่าจากเขตเลือกตั้ง 77 จังหวัด 375 เขต มีผ้ามัครได้เพียง 347 เขต โดยมีจังหวัดที่เปิดรับสมัครไม่ได้จำนวน 28 เขตเลือกตั้ง และการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 หลายเขตเลือกตั้งไม่สามารถจัดการการเลือกตั้งได้[[#_ftn22|[22]]]  จนถึงวันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงหกต่อสามว่า เมื่อพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่ การเลือกตั้งที่ไม่สามารถจัดแล้วเสร็จทั่วประเทศภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ได้ พระราชกฤษฎีกาจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสองที่กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย[[#_ftn23|[23]]]
บรรทัดที่ 88: บรรทัดที่ 88:
          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ้นจากการรักษาการนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2557 เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ถอดถอนนายกรัฐมนตรีจากตำแหน่ง จากกรณีมีส่วนใช้อำนาจแทรกแซงการโยกย้าย[https://th.wikipedia.org/wiki/ถวิล_เปลี่ยนศรี ถวิล เปลี่ยนศรี] จากตำแหน่งเลขาธิการ[https://th.wikipedia.org/wiki/สภาความมั่นคงแห่งชาติ สภาความมั่นคงแห่งชาติ] เพื่อเอื้อประโยชน์ให้ พล.ต.อ.เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ขึ้นเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[[#_ftn24|[24]]]                                                  
          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ้นจากการรักษาการนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2557 เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ถอดถอนนายกรัฐมนตรีจากตำแหน่ง จากกรณีมีส่วนใช้อำนาจแทรกแซงการโยกย้าย[https://th.wikipedia.org/wiki/ถวิล_เปลี่ยนศรี ถวิล เปลี่ยนศรี] จากตำแหน่งเลขาธิการ[https://th.wikipedia.org/wiki/สภาความมั่นคงแห่งชาติ สภาความมั่นคงแห่งชาติ] เพื่อเอื้อประโยชน์ให้ พล.ต.อ.เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ขึ้นเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[[#_ftn24|[24]]]                                                  


          วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2558 สภานิติบัญญัติแห่งชาติลงมติถอดถอนนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ออกจากตำแหน่งฐานละเลยต่อหน้าที่ต่อโครงการรับจำนำข้าว กรณีไม่ระงับยับยั้งความเสียหายโครงการจำนำข้าว ด้วยคะแนนเสียง 190-18 งดออกเสียง 8 คะแนน บัตรเสีย 3 เป็นผลให้ถูกเพิดถอนสิทธิทางการเมืองห้าปี นอกจากนี้ ยังถูกแจ้งข้อกล่าวหาทางอาญาต่อโครงการรับจำนำข้าว ซึ่งปัจจุบันคดียังไม่ถึงที่สุด[[#_ftn25|[25]]]
          วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2558 [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ลงมติถอดถอนนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ออกจากตำแหน่งฐานละเลยต่อหน้าที่ต่อ[[โครงการรับจำนำข้าว]] กรณีไม่ระงับยับยั้งความเสียหายโครงการจำนำข้าว ด้วยคะแนนเสียง 190-18 งดออกเสียง 8 คะแนน บัตรเสีย 3 เป็นผลให้ถูกเพิดถอน[[สิทธิทางการเมือง]]ห้าปี นอกจากนี้ ยังถูกแจ้งข้อกล่าวหาทางอาญาต่อโครงการรับจำนำข้าว ซึ่งปัจจุบันคดียังไม่ถึงที่สุด[[#_ftn25|[25]]]


 
 
บรรทัดที่ 104: บรรทัดที่ 104:
'''หนังสือแนะนำ'''
'''หนังสือแนะนำ'''


กองบรรณาธิการข่าวสด. (2554). '''49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย''' . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
กองบรรณาธิการข่าวสด. (2554). '''49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย''' . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.


 
 
บรรทัดที่ 112: บรรทัดที่ 112:
กนกพร เขมเตชิษฐ์, '''บทบาทของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย (''''''2554-2556)''', ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557).
กนกพร เขมเตชิษฐ์, '''บทบาทของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย (''''''2554-2556)''', ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557).


กองบรรณาธิการข่าวสด, '''49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย''' , (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2554).
กองบรรณาธิการข่าวสด, '''49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย''' , (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2554).


ศูนย์ข้อมูลมติชน,'''บันทึกประเทศไทยปี 2556''', (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2557).
ศูนย์ข้อมูลมติชน,'''บันทึกประเทศไทยปี 2556''', (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2557).


ศูนย์ข้อมูลมติชน, '''บันทึกประเทศไทยปี 2557,''' (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2558).
ศูนย์ข้อมูลมติชน, '''บันทึกประเทศไทยปี 2557,''' (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2558).


ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. (2554, สิงหาคม 8). '''ราชกิจจานุเบกษา '''เล่ม 128 ตอนพิเศษ 87 ง: 1. เข้าถึงจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559
ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. (2554, สิงหาคม 8). '''ราชกิจจานุเบกษา '''เล่ม 128 ตอนพิเศษ 87 ง: 1. เข้าถึงจาก [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF] เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559


มติชนออนไลน์,'''มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ''',เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081%20เมื่อ http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081 เมื่อ]วันที่ 30 มิถุนายน 2559
มติชนออนไลน์,'''มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ''',เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081%20เมื่อ http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081 เมื่อ]วันที่ 30 มิถุนายน 2559


วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี, '''อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554''',เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554, เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559
วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี, '''อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554''',เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554 https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554], เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559


สำนักข่าวอิศรา,  '''ร่างสุดท้าย ! พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ฉบับเหมาเข่ง-สุดซอย, '''เข้าถึงจาก  http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559
สำนักข่าวอิศรา,  '''ร่างสุดท้าย ! พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ฉบับเหมาเข่ง-สุดซอย, '''เข้าถึงจาก  [http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html] เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559


'''ยิ่งลักษณ์ พ้นเก้าอี้รักษาการนายกฯ หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีย้าย ถวิล เปลี่ยนศร''''''ี''', 7 พฤษภาคม 2557, เข้าถึงจาก [http://hilight.kapook.com/view/101714%20เมื่อวันที่%2030%20มิถุนายน%202559 http://hilight.kapook.com/view/101714 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559]
'''ยิ่งลักษณ์ พ้นเก้าอี้รักษาการนายกฯ หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีย้าย ถวิล เปลี่ยนศร''''''ี''', 7 พฤษภาคม 2557, เข้าถึงจาก [http://hilight.kapook.com/view/101714%20เมื่อวันที่%2030%20มิถุนายน%202559 http://hilight.kapook.com/view/101714 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559]
บรรทัดที่ 134: บรรทัดที่ 134:
[[#_ftnref1|[1]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, '''บทบาทของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย (''''''2554-2556)''', ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557), หน้า 66-67.
[[#_ftnref1|[1]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, '''บทบาทของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย (''''''2554-2556)''', ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557), หน้า 66-67.
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] กองบรรณาธิการข่าวสด, '''49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย''' , (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2554) หน้า 13.
[[#_ftnref2|[2]]] กองบรรณาธิการข่าวสด, '''49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย''' , (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน, 2554) หน้า 13.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] กองบรรณาธิการข่าวสด, หน้า 14
[[#_ftnref3|[3]]] กองบรรณาธิการข่าวสด, หน้า 14
บรรทัดที่ 154: บรรทัดที่ 154:
[[#_ftnref11|[11]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 97
[[#_ftnref11|[11]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 97
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. (2554, สิงหาคม 8). '''ราชกิจจานุเบกษา '''เล่ม 128 ตอนพิเศษ 87 ง: 1. เข้าถึงจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF เมื่อวันที่ 30&nbsp; มิถุนายน 2559
[[#_ftnref12|[12]]] ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. (2554, สิงหาคม 8). '''ราชกิจจานุเบกษา '''เล่ม 128 ตอนพิเศษ 87 ง: 1. เข้าถึงจาก [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF] เมื่อวันที่ 30&nbsp; มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 94-95
[[#_ftnref13|[13]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 94-95
บรรทัดที่ 160: บรรทัดที่ 160:
[[#_ftnref14|[14]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 97-102.
[[#_ftnref14|[14]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 97-102.
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี, '''อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554''',เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554, เมื่อวันที่ 30&nbsp; มิถุนายน 2559
[[#_ftnref15|[15]]] วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี, '''อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554''',เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554 https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554], เมื่อวันที่ 30&nbsp; มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn16">
</div> <div id="ftn16">
[[#_ftnref16|[16]]] สำนักข่าวอิศรา, &nbsp;'''ร่างสุดท้าย ! พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ฉบับเหมาเข่ง-สุดซอย, '''เข้าถึงจาก &nbsp;http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html เมื่อวันที่ 30&nbsp; มิถุนายน 2559
[[#_ftnref16|[16]]] สำนักข่าวอิศรา, &nbsp;'''ร่างสุดท้าย&nbsp;! พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ฉบับเหมาเข่ง-สุดซอย, '''เข้าถึงจาก &nbsp;[http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html] เมื่อวันที่ 30&nbsp; มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn17">
</div> <div id="ftn17">
[[#_ftnref17|[17]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน,'''บันทึกประเทศไทยปี 2556''', (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2557) หน้า 408
[[#_ftnref17|[17]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน,'''บันทึกประเทศไทยปี 2556''', (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน,2557) หน้า 408
</div> <div id="ftn18">
</div> <div id="ftn18">
[[#_ftnref18|[18]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน, หน้า 424-425.
[[#_ftnref18|[18]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน, หน้า 424-425.
บรรทัดที่ 170: บรรทัดที่ 170:
[[#_ftnref19|[19]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 114.
[[#_ftnref19|[19]]] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 114.
</div> <div id="ftn20">
</div> <div id="ftn20">
[[#_ftnref20|[20]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน, '''บันทึกประเทศไทยปี 2557,''' (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2558) หน้า 24-29.
[[#_ftnref20|[20]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน, '''บันทึกประเทศไทยปี 2557,''' (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักพิมพ์มติชน,2558) หน้า 24-29.
</div> <div id="ftn21">
</div> <div id="ftn21">
[[#_ftnref21|[21]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน,หน้า 35.
[[#_ftnref21|[21]]] ศูนย์ข้อมูลมติชน,หน้า 35.
บรรทัดที่ 178: บรรทัดที่ 178:
[[#_ftnref23|[23]]] มติชนออนไลน์,'''มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ''',เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081%20เมื่อ http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081 เมื่อ]วันที่ 30 มิถุนายน 2559
[[#_ftnref23|[23]]] มติชนออนไลน์,'''มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ''',เข้าถึงจาก [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081%20เมื่อ http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081 เมื่อ]วันที่ 30 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn24">
</div> <div id="ftn24">
[[#_ftnref24|[24]]] '''ยิ่งลักษณ์ พ้นเก้าอี้รักษาการนายกฯ หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีย้าย ถวิล เปลี่ยนศร''''''ี''', 7 พฤษภาคม 2557, เข้าถึงจาก http://hilight.kapook.com/view/101714 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559
[[#_ftnref24|[24]]] '''ยิ่งลักษณ์ พ้นเก้าอี้รักษาการนายกฯ หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีย้าย ถวิล เปลี่ยนศร''''''ี''', 7 พฤษภาคม 2557, เข้าถึงจาก [http://hilight.kapook.com/view/101714 http://hilight.kapook.com/view/101714] เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559
</div> <div id="ftn25">
</div> <div id="ftn25">
[[#_ftnref25|[25]]] ไทยรัฐออนไลน์,'''มติสนช.190-18 ถอดถอนยิ่งลักษณ์ คดีจำนำข้าว นิคม-สมศักดิ์ รอด''',เข้าถึงจาก &nbsp;[http://www.thairath.co.th/content/476615 http://www.thairath.co.th/content/476615] เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559
[[#_ftnref25|[25]]] ไทยรัฐออนไลน์,'''มติสนช.190-18 ถอดถอนยิ่งลักษณ์ คดีจำนำข้าว นิคม-สมศักดิ์ รอด''',เข้าถึงจาก &nbsp;[http://www.thairath.co.th/content/476615 http://www.thairath.co.th/content/476615] เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:24, 2 สิงหาคม 2561

ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :  ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


 

          ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนที่ 28 และนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรรมการและเลขานุการมูลนิธิไทยคม 

 

ประวัติ

          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2510 เป็นธิดาคนสุดท้องของนายเลิศ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ กับนางยินดี ชินวัตร โดยนางยินดี เป็นธิดาในเจ้าจันทร์ทิพย์ (ณ เชียงใหม่) ระมิงวงศ์ ซึ่งสืบเชื้อสายจากพระเจ้าธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และอาณาจักรล้านนาพระองค์ที่ 2 แห่ง "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" ระหว่าง พ.ศ. 2358-2364[1]    

          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นธิดาคนสุดท้องในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยมีพี่ชายและพี่สาว ดังนี้

          1. นางเยาวลักษณ์_ชินวัตร (สมรสกับ พ.อ. ศุกภฤษ์ คล่องคำนวณการ)

          2. พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ_ชินวัตร (สมรสกับคุณหญิงพจมาน_ณ_ป้อมเพชร)

          3. นางเยาวเรศ ชินวัตร (สมรสกับนายวีระชัย วงศ์นภาจันทร์)

          4. นางปิยนุช ชินวัตร (สมรสกับนายสง่า ลิ่มพัฒนาชาติ)

          5. นายอุดร ชินวัตร (ถึงแก่กรรมแล้ว)

          6. นางเยาวภา_ชินวัตร (สมรสกับนายสมชาย_วงศ์สวัสดิ์)

          7. นายพายัพ_ชินวัตร (สมรสกับนางพอฤทัย จันทรพันธ์)

          8. นางมณฑาทิพย์ ชินวัตร (สมรสกับนายแพทย์สมชัย โกวิทย์เจริญกุญ)

          9. นางทัศนีย์ ชินวัตร (ถึงแก่กรรมแล้ว)

          10. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (สมรสกับนายอนุสรณ์_อมรฉัตร)[2]

          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เข้าศึกษาระดับมัธยมต้นที่โรงเรียนเรยีนา เชลี วิทยาลัย ศึกษาในระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จากนั้นเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในปี พ.ศ. 2531 จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตที่ Kentucky State University (KUS) เมือง Frankfort รัฐ Kentucky ประเทศสหรัฐอเมริกา และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2533[3]

          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เข้าอบรมหลักสูตรต่างๆ อีกหลายหลักสูตรด้านการบริหาร การเงิน และการจัดการองค์กรระดับสูง ที่สำคัญดังนี้

          ปี พ.ศ. 2538 Financial Management Program: Mini MBA หลักสูตรการจัดการทางการเงินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Financial Management Program: Mini MBA)

          ปี พ.ศ. 2545 หลักสูตรสำหรับการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด  สหรัฐอเมริกา (Program for Management Development Harvard Business School (USA)

          ปี พ.ศ. 2554 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12 [4]

          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมรสกับนายอนุสรณ์ อมรฉัตร ผู้บริหารของบริษัทในเครือซีพี และดำรงตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการ บริษัท เอ็ม ลิงก์ เอเชีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด ในปี พ.ศ. 2539 มีบุตรด้วยกัน 1 คน คือ ดช.ศุภเสกข์ อมรฉัตร[5]   

 

ผลงานที่สำคัญ

          หลังจากสำเร็จการศึกษาปริญญาโทจากประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2533 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรได้เริ่มเข้าทำงานที่ บริษัท ชินวัตร ไดเร็กทอรีส์ จำกัดในปี พ.ศ. 2534 ในตำแหน่งพนักงานฝึกหัดและการขาย จากนั้นได้รับการเลื่อนตำแหน่งเป็นผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการฝ่ายผลิตในเวลาต่อมา ต่อจากนั้นในปี พ.ศ. 2537 ได้ย้ายไปรับตำแหน่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของบริษัท เรนโบว์ มีเดีย ซึ่งเป็นแผนกงานหนึ่งของบริษัท ไอบีซี อินเตอร์เนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง (ทรูวิชั่นในปัจจุบัน) แล้วขึ้นเป็นรองกรรมการผู้อำนวยการ จากนั้นจึงย้ายกลับมาบริษัท ชินวัตร ไดเร็กทอรีส์ จำกัด ในตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการ ปี พ.ศ. 2542 ได้ย้ายไปบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)ในเครือบริษัทชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นธุรกิจเครือข่ายโทรคมนาคมและการสื่อสารโดยดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายเซอร์วิส โอเปอเรชั่น เลื่อนเป็นรองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายวางแผนธุรกิจไร้สาย จนดำรงตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการบริษัทในพ.ศ. 2545 และเมื่อครอบครัวชินวัตรขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปให้กับ เทมาเส็ก โฮลดิ้งส์ นางสาวยิ่งลักษณ์จึงย้ายมาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท เอสซี แอสเซท จำกัด[6]

 

บทบาททางการเมือง

          หลังจากที่นายอภิสิทธิ์_เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีประกาศพระราชกฤษฎีกา ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3_กรกฎาคม_พ.ศ._2554[7]นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้รับร้องขอจาก ดร.ทักษิณ ชินวัตรให้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย ท่ามกลางกระแสข่าวว่าเป็นตัวแทนของดร.ทักษิณ โดย ดร.ทักษิณให้เหตุผลว่า “ยิ่งลักษณ์ไม่ใช่ “นอมินี” แต่เป็น “โคลนนิ่ง”  เพราะเคยทำงานร่วมกันมา เติบโตมาด้วยฐานคิดเดียวกัน” [8] นางสาวยิ่งลักษณ์จึงได้เข้าสู่วงการการเมืองโดยสมัครเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทยในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 และในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรค ที่มีนายยงยุทธ_วิชัยดิษฐ์ หัวหน้าพรรคเพื่อไทยเป็นประธานที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 1[9]

          นโยบายสำคัญที่ใช้ในการหาเสียงคือ นโยบายจบปริญญาตรีทำงานมีเงินเดือนเริ่มต้น 15,000 บาท, ลดภาษีนิติบุคคล จาก 30% เหลือ 23% โครงการรถยนต์คันแรก คืนภาษีและเพิ่มค่าลดหย่อนภาษีให้กับผู้ที่ซื้อบ้านหลังแรก เครดิตการ์ดสำหรับเกษตรกร เด็กนักเรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ หรือ One Tablet PC Per Child นโยบายกองทุนหมู่บ้าน นโยบายพักชำระหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้ไม่เกินห้าแสนบาท ไม่น้อยกว่า 3 ปี โครงการรับจำนำข้าวทุกเมล็ด เป็นต้น[10]

          ผลการเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ปรากฏว่า พรรคเพื่อไทยได้คะแนนมาเป็นอันดับที่ 1 โดยได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 265 เสียง พรรคที่ได้คะแนนอันดับ 2 คือ พรรคประชาธิปัตย์ ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 159 เสียง วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเลือก นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง 296 คะแนน ไม่เห็นชอบ 3 เสียง และงดออกเสียง 197 เสียง จากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาลงชื่อใช้สิทธิออกเสียง 458 คน จากทั้งหมด 500 คน[11]

          วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 28[12] ด้วยวัยเพียง 44 ปี เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกและนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ของไทย โดยจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคชาติไทยพัฒนา (19 เสียง) พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (7 เสียง) พรรคพลังชล (7 เสียง) พรรคมหาชน (1 เสียง) รวมเป็น 299 เสียง[13]

          วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐบาลได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา โดยมีเนื้อหาโดยสรุป 3 ประการ ประกอบด้วย (1) นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น (2) นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ และ (3) นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 อย่างสมบูรณ์

           นโยบายและแนวปฏิบัติที่ดำเนินงานในปีแรกประกอบด้วย นโยบายเร่งด่วนจำนวน 16 ข้อ คือนโยบายเร่งด่วยที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก จำนวน 16 ข้อ คือ (1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์(2) การป้องกันยาเสพติด (3) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น (4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ (5) แก้ปัญหาความสงบชายแดนภาคใต้  (6) สร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ (7) แก้ไขปัญหาราคาน้ำมัน (8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน (9) ปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล (10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน (11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรเข้าถึงแหล่งเงินทุน (12) ส่งเสริมรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ (13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) (14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาให้แก่โรงเรียน  (16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.)[14]

           เพียงช่วงแรกรัฐบาลของนาวสาวยิ่งลักษณ์ต้องเผชิญกับปัญหาอุทกภัยที่รุนแรงเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคมพ.ศ. 2554และสิ้นสุดในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 ซึ่งมีราษฎรได้รับผลกระทบจำนวนกว่า 12.8 ล้านคน ธนาคารโลกประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท[15]

          รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์เผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างรุนแรงจากการเสนอ ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่งกระทำความผิดเนื่องจากการชุมนุมทางการเมืองการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน พ.ศ..... ต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรร่วมกันเข้าชื่อจำนวน 21 คน เนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้มุ่งนิรโทษกรรมผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้กระทำผิดโดยคณะบุคคลหรือองค์กรที่กระทำขึ้นภายหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 รวมทั้งองค์กรหรือหน่วยงานที่ดำเนินการในเรื่องดังกล่าวสืบเนื่องต่อมาที่เกิดขึ้นระหว่าง พ.ศ.2547 ถึงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2554[16] โดยประธานสภาผู้แทนราษฎรได้บรรจุเข้าพิจารณาวาระ 2 และ 3 ในวันที่ 31 ตุลาคม- 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 แต่ก่อนหน้าถึงวันพิจารณา 1 วัน คือวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2556 ที่ลานพระราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์กว่า 50 คนนำโดยนายสุเทพ_เทือกสุบรรณเปิดแถลงข่างคัดค้านร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และจัดการชุมนุมที่สถานีรถไฟสามเสนในเย็นวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 [17]

          วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 สภาผู้แทนราษฎรมีมติผ่านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ในวาระที่ 3 ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมได้ถูกส่งไปพิจารณาในที่ประชุมวุฒิสภา ความเคลื่อนไหวการชุมนุมต่อต้านได้เกิดขึ้นทั่วประเทศกลายเป็นการชุมนุมใหญ่ทางการเมือง ทำให้ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 นายอำนวย คลังผา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) แถลงผลการประชุมวิปรัฐบาลว่า มติวิปรัฐบาลเห็นด้วยกับการให้ถอนร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยแห่งชาติทั้ง 5 ฉบับ รวมทั้งร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ออกจากระเบียบวาระการประชุม ตามที่พรรคฝ่ายค้านได้มีการนำเสนอต่อที่ประชุม  และวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 วุฒิสภาลงมติเป็นเอกฉันท์ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมไว้เป็นเวลา 180 วัน ก่อนจะส่งคืนให้สภาผู้แทนราษฎร[18]

          แม้พระราชบัญญัติฉบับนี้จะถูกยกเลิกไปแล้ว แต่การชุมนุมต่อต้านไม่ได้ยุติลง แต่กลับเพิ่มระดับขึ้น โดยมีการเรียกร้องให้ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนทำให้วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม่ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[19]

          วิกฤติการณ์ทางการเมืองรุนแรงขึ้นเมื่อ[[คณะกรรมการประชาชนเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข]] (กปปส.) ยังคงชุมนุมต่อต้านการเลือกตั้งทั่วไปเนื่องจากเห็นว่าต้องการปฏิรูปการเมืองก่อนมีการเลือกตั้ง วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2557 ผู้ชุมนุม กปปส.เดินหน้าแผนปิดกรุงเทพเพื่อเรียกร้องให้นางสาวยิ่งลักษณ์ลาออกจากการรักษาการตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยผู้ชุมนุมได้ปิดล้อมหน่วยราชการหลายแห่งเพื่อไม่ให้สามารถบริหารตามปกติได้ รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ.2557[20]

          วันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2557 สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ยื่นสอบสวนข้อเท็จจริงนางสาวยิ่งลักษณ์ คดีรับจำนำข้าว ในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ฐานละเลยไม่ดำเนินการระงับยับยั้งจนเกิดความเสียหาย[21]

          การเลือกตั้งที่จัดให้มีในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ไม่สามารถดำเนินการอย่างราบรื่น ตั้งแต่การรับสมัครระหว่างวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2556-3 มกราคม 2557  ผลปรากฎว่าจากเขตเลือกตั้ง 77 จังหวัด 375 เขต มีผ้ามัครได้เพียง 347 เขต โดยมีจังหวัดที่เปิดรับสมัครไม่ได้จำนวน 28 เขตเลือกตั้ง และการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 หลายเขตเลือกตั้งไม่สามารถจัดการการเลือกตั้งได้[22]  จนถึงวันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงหกต่อสามว่า เมื่อพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่ การเลือกตั้งที่ไม่สามารถจัดแล้วเสร็จทั่วประเทศภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ได้ พระราชกฤษฎีกาจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสองที่กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย[23]

          นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ้นจากการรักษาการนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2557 เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ถอดถอนนายกรัฐมนตรีจากตำแหน่ง จากกรณีมีส่วนใช้อำนาจแทรกแซงการโยกย้ายถวิล เปลี่ยนศรี จากตำแหน่งเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้ พล.ต.อ.เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ขึ้นเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[24]                                                  

          วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2558 สภานิติบัญญัติแห่งชาติลงมติถอดถอนนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ออกจากตำแหน่งฐานละเลยต่อหน้าที่ต่อโครงการรับจำนำข้าว กรณีไม่ระงับยับยั้งความเสียหายโครงการจำนำข้าว ด้วยคะแนนเสียง 190-18 งดออกเสียง 8 คะแนน บัตรเสีย 3 เป็นผลให้ถูกเพิดถอนสิทธิทางการเมืองห้าปี นอกจากนี้ ยังถูกแจ้งข้อกล่าวหาทางอาญาต่อโครงการรับจำนำข้าว ซึ่งปัจจุบันคดียังไม่ถึงที่สุด[25]

 

ผลงานอื่นๆ

          นางสาวยิ่งลักษณ์ได้รับรางวัลและการยกย่อง จากองค์กรต่างๆดังนี้ ในปีพ.ศ. 2554 ได้รับการจัดอันดับให้เป็นสตรีผู้ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก ลำดับที่ 59 จาก นิตยสารฟอร์บส์ และเป็น 12 สตรีผู้นำโลก จาก นิตยสารไทม์

          ในปีพ.ศ. 2555 ได้รับการจัดอันดับให้เป็นสตรีผู้ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก ลำดับที่ 30 จาก นิตยสารฟอร์บส์ 150 สตรีผู้สะเทือนโลก จากนิตยสารนิวส์วีค และสตรีตัวอย่างในด้านการจัดการภัยพิบัติ และผู้สนับสนุนบทบาทสตรีในการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน จากองค์การสหประชาชาติ

          ในปีพ.ศ. 2556 ได้รับการจัดอันดับให้เป็นสตรีผู้ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก ลำดับที่ 31 จาก นิตยสารฟอร์บส์

          ในปีพ.ศ. 2556 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (The Honorary Award Ceremony) จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งออกแลนด์ (Auckland University of Technology - AUT) เมืองออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ ในฐานะที่มีบทบาทโดดเด่น เป็นที่ยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทยที่ได้รับเลือกตั้งมาตามระบอบประชาธิปไตย

หนังสือแนะนำ

กองบรรณาธิการข่าวสด. (2554). 49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.

 

บรรณานุกรม

กนกพร เขมเตชิษฐ์, บทบาทของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย ('2554-2556)', ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557).

กองบรรณาธิการข่าวสด, 49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย , (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2554).

ศูนย์ข้อมูลมติชน,บันทึกประเทศไทยปี 2556, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2557).

ศูนย์ข้อมูลมติชน, บันทึกประเทศไทยปี 2557, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2558).

ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. (2554, สิงหาคม 8). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนพิเศษ 87 ง: 1. เข้าถึงจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559

มติชนออนไลน์,มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ,เข้าถึงจาก http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559

วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี, อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554,เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554, เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559

สำนักข่าวอิศรา,  ร่างสุดท้าย ! พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ฉบับเหมาเข่ง-สุดซอย, เข้าถึงจาก  http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559

'ยิ่งลักษณ์ พ้นเก้าอี้รักษาการนายกฯ หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีย้าย ถวิล เปลี่ยนศร', 7 พฤษภาคม 2557, เข้าถึงจาก http://hilight.kapook.com/view/101714 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559

ไทยรัฐออนไลน์,มติสนช.190-18 ถอดถอนยิ่งลักษณ์ คดีจำนำข้าว นิคม-สมศักดิ์ รอด,เข้าถึงจาก  http://www.thairath.co.th/content/476615 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559

อ้างอิง

[1] กนกพร เขมเตชิษฐ์, บทบาทของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย ('2554-2556)', ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557), หน้า 66-67.

[2] กองบรรณาธิการข่าวสด, 49 วัน ยิ่งลักษณ์ สู่นายกฯหญิง คนแรกของประเทศไทย , (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2554) หน้า 13.

[3] กองบรรณาธิการข่าวสด, หน้า 14

[4] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 71

[5] กองบรรณาธิการข่าวสด, หน้า 13-14

[6] กองบรรณาธิการข่าวสด, หน้า 15-16

[7] ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128/ตอนที่ 33 ก/หน้า 19/10 พฤษภาคม 2554

[8] กองบรรณาธิการข่าวสด, หน้า 10

[9] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 81-82

[10] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 89-91

[11] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 97

[12] ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. (2554, สิงหาคม 8). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนพิเศษ 87 ง: 1. เข้าถึงจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/087/1.PDF เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559

[13] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 94-95

[14] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 97-102.

[15] วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี, อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554,เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/อุทกภัยในประเทศไทย_พ.ศ._2554, เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559

[16] สำนักข่าวอิศรา,  ร่างสุดท้าย ! พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ฉบับเหมาเข่ง-สุดซอย, เข้าถึงจาก  http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/24634-amnesty_24634.html เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน 2559

[17] ศูนย์ข้อมูลมติชน,บันทึกประเทศไทยปี 2556, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2557) หน้า 408

[18] ศูนย์ข้อมูลมติชน, หน้า 424-425.

[19] กนกพร เขมเตชิษฐ์, หน้า 114.

[20] ศูนย์ข้อมูลมติชน, บันทึกประเทศไทยปี 2557, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน,2558) หน้า 24-29.

[21] ศูนย์ข้อมูลมติชน,หน้า 35.

[22] ศูนย์ข้อมูลมติชน,หน้า 9,62-67

[23] มติชนออนไลน์,มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ,เข้าถึงจาก http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000032081 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559

[24] ยิ่งลักษณ์ พ้นเก้าอี้รักษาการนายกฯ หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีย้าย ถวิล เปลี่ยนศร'ี', 7 พฤษภาคม 2557, เข้าถึงจาก http://hilight.kapook.com/view/101714 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559

[25] ไทยรัฐออนไลน์,มติสนช.190-18 ถอดถอนยิ่งลักษณ์ คดีจำนำข้าว นิคม-สมศักดิ์ รอด,เข้าถึงจาก  http://www.thairath.co.th/content/476615 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559