ผลต่างระหว่างรุ่นของ "1 มกราคม พ.ศ. 2501"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
----
----


วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501 นอกจากเป็นวันขึ้นปีใหม่ ประจำปีของไทยแล้ว ในปี พ.ศ. 2501 ประชาชนไทยก็ได้นายกรัฐมนตรีคนใหม่เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศ คือ พลโทถนอม  กิตติขจร นายพลท่านนี้ไม่ได้เป็นทั้งหัวหน้าคณะผู้ยึดอำนาจในช่วงเวลาก่อนการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 และก็ไม่ได้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองสำคัญในขณะนั้น แต่ก็เป็นนายพลที่จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ เลือกและมอบหมายให้เป็นนายกรัฐมนตรี
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501 นอกจากเป็นวันขึ้นปีใหม่ ประจำปีของไทยแล้ว ในปี พ.ศ. 2501 ประชาชนไทยก็ได้[[นายกรัฐมนตรี]]คนใหม่เป็น[[นายกรัฐมนตรีคนที่ 10]] ของประเทศ คือ [[พลโทถนอม  กิตติขจร]] นายพลท่านนี้ไม่ได้เป็นทั้งหัวหน้าคณะผู้ยึดอำนาจในช่วงเวลาก่อน[[การเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500]] และก็ไม่ได้เป็น[[หัวหน้าพรรคการเมือง]]สำคัญในขณะนั้น แต่ก็เป็นนายพลที่[[จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์]] เลือกและมอบหมายให้เป็นนายกรัฐมนตรี
หลังการเลือกตั้งทั่วไป 6 วัน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะทหารที่ยึดอำนาจล้มรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ตั้งพรรคการเมืองของคณะทหารขึ้น ชื่อ พรรคชาติสังคม โดยมีตัวเองเป็นหัวหน้าพรรค และมีพลโทประภาส จารุเสถียร เป็นเลขาธิการพรรค นับว่าเป็นพรรคใหญ่พรรคโตขึ้นมาทันที เพราะได้รวมเอาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1 มาได้ 80 คน และได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 อีกร้อยกว่าคน รวมสมาชิกสภาที่มีอยู่ถึง 202 คน
หลังการเลือกตั้งทั่วไป 6 วัน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะทหารที่ยึดอำนาจล้ม[[รัฐบาล]] [[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ก็ตั้ง[[พรรคการเมือง]]ของคณะทหารขึ้น ชื่อ [[พรรคชาติสังคม]] โดยมีตัวเองเป็น[[หัวหน้าพรรค]] และมี[[พลโทประภาส จารุเสถียร]] เป็น[[เลขาธิการพรรค]] นับว่าเป็นพรรคใหญ่พรรคโตขึ้นมาทันที เพราะได้รวมเอา[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] ประเภทที่ 1 มาได้ 80 คน และได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 อีกร้อยกว่าคน รวมสมาชิกสภาที่มีอยู่ถึง 202 คน
ดังนั้น พรรคชาติสังคม จึงสามารถเป็นผู้เลือกนายกรัฐมนตรีและก็ได้เลือก พลโท ถนอม กิตติขจรผู้เป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาลก่อนมาเป็นนายกรัฐมนตรี แทน นายพจน์ สารสิน ที่จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์ ไม่รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีก็เพราะตัวเองต้องเดินทางไปรักษาตัวที่สหรัฐอเมริกา
ดังนั้น พรรคชาติสังคม จึงสามารถเป็นผู้เลือกนายกรัฐมนตรีและก็ได้เลือก พลโท ถนอม กิตติขจรผู้เป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาลก่อนมาเป็นนายกรัฐมนตรี แทน [[นายพจน์ สารสิน]] ที่จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์ ไม่รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีก็เพราะตัวเองต้องเดินทางไปรักษาตัวที่สหรัฐอเมริกา


รัฐบาลของพลโท ถนอม  กิตติขจร ที่ประกอบด้วยเทคโนแครตที่เป็นอดีตข้าราชการเป็นรัฐมนตรีว่าการ และมีนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการบ้าง รัฐมนตรีลอยบ้าง  รัฐบาลชุดนี้ได้เข้าแถลงนโยบาย ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2501 และได้อยู่บริหารประเทศจนถึงวันที่ 20 ตุลาคม ปีเดียวกันจึงได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในตอนเย็น และในค่ำวันเดียวกันนั้นคณะปฏิวัติที่มีพลโทถนอม  กิตติขจร เข้าร่วมด้วยและมีจอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ เป็นหัวหน้าก็เข้ายึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญ
รัฐบาลของพลโท ถนอม  กิตติขจร ที่ประกอบด้วย[[เทคโนแครต]]ที่เป็นอดีตข้าราชการเป็นรัฐมนตรีว่าการ และมี[[นักการเมือง]]ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการบ้าง รัฐมนตรีลอยบ้าง  รัฐบาลชุดนี้ได้เข้าแถลงนโยบาย ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2501 และได้อยู่บริหารประเทศจนถึงวันที่ 20 ตุลาคม ปีเดียวกันจึงได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในตอนเย็น และในค่ำวันเดียวกันนั้นคณะปฏิวัติที่มีพลโทถนอม  กิตติขจร เข้าร่วมด้วยและมีจอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ เป็นหัวหน้าก็เข้ายึดอำนาจล้ม[[รัฐธรรมนูญ]]


[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:21, 17 กันยายน 2556

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501 นอกจากเป็นวันขึ้นปีใหม่ ประจำปีของไทยแล้ว ในปี พ.ศ. 2501 ประชาชนไทยก็ได้นายกรัฐมนตรีคนใหม่เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศ คือ พลโทถนอม กิตติขจร นายพลท่านนี้ไม่ได้เป็นทั้งหัวหน้าคณะผู้ยึดอำนาจในช่วงเวลาก่อนการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 และก็ไม่ได้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองสำคัญในขณะนั้น แต่ก็เป็นนายพลที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เลือกและมอบหมายให้เป็นนายกรัฐมนตรี

หลังการเลือกตั้งทั่วไป 6 วัน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะทหารที่ยึดอำนาจล้มรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ตั้งพรรคการเมืองของคณะทหารขึ้น ชื่อ พรรคชาติสังคม โดยมีตัวเองเป็นหัวหน้าพรรค และมีพลโทประภาส จารุเสถียร เป็นเลขาธิการพรรค นับว่าเป็นพรรคใหญ่พรรคโตขึ้นมาทันที เพราะได้รวมเอาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1 มาได้ 80 คน และได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 อีกร้อยกว่าคน รวมสมาชิกสภาที่มีอยู่ถึง 202 คน

ดังนั้น พรรคชาติสังคม จึงสามารถเป็นผู้เลือกนายกรัฐมนตรีและก็ได้เลือก พลโท ถนอม กิตติขจรผู้เป็นรัฐมนตรีกลาโหมในรัฐบาลก่อนมาเป็นนายกรัฐมนตรี แทน นายพจน์ สารสิน ที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ไม่รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีก็เพราะตัวเองต้องเดินทางไปรักษาตัวที่สหรัฐอเมริกา

รัฐบาลของพลโท ถนอม กิตติขจร ที่ประกอบด้วยเทคโนแครตที่เป็นอดีตข้าราชการเป็นรัฐมนตรีว่าการ และมีนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการบ้าง รัฐมนตรีลอยบ้าง รัฐบาลชุดนี้ได้เข้าแถลงนโยบาย ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2501 และได้อยู่บริหารประเทศจนถึงวันที่ 20 ตุลาคม ปีเดียวกันจึงได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในตอนเย็น และในค่ำวันเดียวกันนั้นคณะปฏิวัติที่มีพลโทถนอม กิตติขจร เข้าร่วมด้วยและมีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นหัวหน้าก็เข้ายึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญ