ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บ้านพักทหาร"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา สาธิตพร | '''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา สาธิตพร | ||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
| | ||
= <span style="font-size:x-large;">'''บ้านพักทหาร'''</span> = | |||
'''“บ้านพักทหาร”''' ในความหมายทั่วไป เป็นภาษาไม่เป็นทางการสำหรับเรียกอาคารสวัสดิการที่กองทัพจัดไว้เพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัยให้แก่ข้าราชการในสังกัดตามหลักเกณฑ์ที่มีการกำหนดเป็นระเบียบของหน่วยงานนั้น ๆ อาทิ ระเบียบคณะกรรมการอำนาวยการสวัสดิการกองบัญชาการกองทัพไทย ว่าด้วยการพักอาศัยในอาคารสวัสดิการ กองบัญชาการกองทัพไทย ได้ให้คำนิยามคำว่า '''“อาคารสวัสดิการ กองบัญชาการกองทัพไทย”''' ไว้ว่า “''หมายถึง บ้านพัก ห้องพักในอาคารสวัสดิการส่วนกลาง อาคารชุด และสิ่งก่อสร้างอื่นใดที่กองบัญชาการกองทัพไทยจัดหาเพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัยของข้าราชการเป็นส่วนรวม…”'' และได้กำหนดนิยามของผู้พักอาศัย ผู้อาศัย และค่าบริการสวัสดิการไว้ เช่นเดียวกับระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการเข้าพักอาศัยในอาคาร บ้านพัก ของข้าราชการและลูกจ้างประจำในสังกัดกองทัพบก พ.ศ.2553 ได้นิยามคำว่า '''“อาคารที่พักอาศัยของทางราชการ”''' หมายถึง อาคารประเภทแฟลต และบ้านพัก หรือ เรือนแถว ที่กองทัพบกก่อสร้างขึ้นและมอบให้หน่วยต่าง ๆ รับผิดชอบควบคุมดูแล โดยได้กำหนด '''“ผู้ให้พักอาศัย”''' ไว้ว่า ''“หมายถึง หน่วยหรือกรมสวัสดิการทหารบกโดย กองทัพบกได้อนุมัติให้เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมดูแลอาคารที่พักอาศัยของทางราชการ”'' และ '''“ผู้พักอาศัย”''' หมายถึง ข้าราชการประจำการ และลูกจ้างประจำ ที่ได้รับอนุมัติให้เข้าพักอาศัยในอาคารที่พักอาศัยของทางราชการ | '''“บ้านพักทหาร”''' ในความหมายทั่วไป เป็นภาษาไม่เป็นทางการสำหรับเรียกอาคารสวัสดิการที่กองทัพจัดไว้เพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัยให้แก่ข้าราชการในสังกัดตามหลักเกณฑ์ที่มีการกำหนดเป็นระเบียบของหน่วยงานนั้น ๆ อาทิ ระเบียบคณะกรรมการอำนาวยการสวัสดิการกองบัญชาการกองทัพไทย ว่าด้วยการพักอาศัยในอาคารสวัสดิการ กองบัญชาการกองทัพไทย ได้ให้คำนิยามคำว่า '''“อาคารสวัสดิการ กองบัญชาการกองทัพไทย”''' ไว้ว่า “''หมายถึง บ้านพัก ห้องพักในอาคารสวัสดิการส่วนกลาง อาคารชุด และสิ่งก่อสร้างอื่นใดที่กองบัญชาการกองทัพไทยจัดหาเพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัยของข้าราชการเป็นส่วนรวม…”'' และได้กำหนดนิยามของผู้พักอาศัย ผู้อาศัย และค่าบริการสวัสดิการไว้ เช่นเดียวกับระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการเข้าพักอาศัยในอาคาร บ้านพัก ของข้าราชการและลูกจ้างประจำในสังกัดกองทัพบก พ.ศ.2553 ได้นิยามคำว่า '''“อาคารที่พักอาศัยของทางราชการ”''' หมายถึง อาคารประเภทแฟลต และบ้านพัก หรือ เรือนแถว ที่กองทัพบกก่อสร้างขึ้นและมอบให้หน่วยต่าง ๆ รับผิดชอบควบคุมดูแล โดยได้กำหนด '''“ผู้ให้พักอาศัย”''' ไว้ว่า ''“หมายถึง หน่วยหรือกรมสวัสดิการทหารบกโดย กองทัพบกได้อนุมัติให้เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมดูแลอาคารที่พักอาศัยของทางราชการ”'' และ '''“ผู้พักอาศัย”''' หมายถึง ข้าราชการประจำการ และลูกจ้างประจำ ที่ได้รับอนุมัติให้เข้าพักอาศัยในอาคารที่พักอาศัยของทางราชการ | ||
อย่างไรก็ตาม จากคำที่มุ่งสื่อถึงสวัสดิการที่พักอาศัยของผู้ปฏิบัติงานประจำในกองทัพ '''“บ้านพักทหาร”''' ถูกทำให้กลายเป็นคำศัพท์ทางการเมืองจากกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 55 คน เข้าชื่อร้องต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคสาม | อย่างไรก็ตาม จากคำที่มุ่งสื่อถึงสวัสดิการที่พักอาศัยของผู้ปฏิบัติงานประจำในกองทัพ '''“บ้านพักทหาร”''' ถูกทำให้กลายเป็นคำศัพท์ทางการเมืองจากกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 55 คน เข้าชื่อร้องต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคสาม ประกอบ มาตรา 82 วรรคหนึ่ง โดยกล่าวอ้างว่า พล.อ.[[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|ประยุทธ์_จันทร์โอชา]] นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมใช้บ้านพักใน กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็ก ราชวัลลภรักษาพระองค์ ซึ่งเป็นบ้านพักของทางราชการเป็นบ้านพักอาศัยโดยไม่เสียค่าเช่า ค่ากระแสไฟฟ้า และค่าน้ำประปาให้กับทางราชการทหาร ตั้งแต่ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกและตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกจนถึงปัจจุบัน เป็นการอยู่อาศัยโดยไม่มีสิทธิอันชอบด้วยกฎหมาย ถือเป็นการรับประโยชน์ใด ๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐเป็นพิเศษ นอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ ปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานปกติ เป็นการกระทำขัดกันแห่งผลประโยชน์ต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 186 วรรคหนึ่ง ประกอบ มาตรา 184 วรรคหนึ่ง (3) ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีของผู้ถูกร้องสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (5) นอกจากนี้ ยังเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามมาตรฐานทางจริยธรรมของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและหัวหน้าหน่วยงานธุรการของ[[ศาลรัฐธรรมนูญ]] และองค์กรอิสระ พ.ศ. 2561 เป็นเหตุให้ความเป็นรัฐมนตรีของผู้ถูกร้องสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (5)[[#_ftn1|[1]]] | ||
| | ||
== | = <span style="font-size:x-large;">'''ต้นทางแห่งคดี'''</span> = | ||
ก่อนที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 55 คน จะทำการเข้าชื่อร้องต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยกรณีการเข้าพักอาศัยในบ้านพักทหารของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานั้น กรณีดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้ในการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและและรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลอีก 5 คน รวม 6 คน | ก่อนที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 55 คน จะทำการเข้าชื่อร้องต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยกรณีการเข้าพักอาศัยในบ้านพักทหารของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานั้น กรณีดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้ในการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและและรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลอีก 5 คน รวม 6 คน ที่ได้เสนอญัตติไปเมื่อ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2563 ก่อนหน้านั้นแล้ว ทั้งนี้ ในระหว่างการเปิดอภิปรายดังกล่าว (วันที่ 25-27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563) นายประเสริฐ จันทรรวงทอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา พรรคเพื่อไทย ได้กล่าวหา พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ว่าจงใจไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 184 ว่าด้วยการขัดกันของผลประโยชน์ เนื่องจากยังคงพักอาศัยอยู่ใน '''“บ้านพักทหาร”''' โดยไม่จ่ายค่าเช่า ไม่เสียค่าน้ำค่าไฟ ทั้งที่เกษียณอายุราชการจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกไปตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 แล้ว ถือว่ากรณีดังกล่าวเป็นการรับประโยชน์จากหน่วยงานของรัฐ และไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมอันเป็นความผิดร้ายแรง[[#_ftn2|[2]]] | ||
ถึงแม้ว่าในการอภิปรายไม่ไว้วางใจดังกล่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะลงมติไม่ไว้วางใจ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ด้วยคะแนน 272 ต่อ 49 เสียง (งดออกเสียง 2 เสียง) ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 แต่พรรคเพื่อไทย นำโดยนายประเสริฐ จันทรรวงทอง ได้ยื่นเรื่องไปยังประธานสภาผู้แทนราษฎร เพื่อส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยกรณีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี อาศัยอยู่ในบ้านพักทหารทั้งที่เกษียณอายุราชการแล้ว เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับเรื่องและนัดวินิจฉัยในวันที่ 2 ธันวาคม 2563 ทั้งนี้ หากคำวินิจฉัยออกมาในทางลักษณะที่เห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นกรณีที่เข้าข่ายการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ อาจส่งผลให้ พล.อ. | ถึงแม้ว่าในการอภิปรายไม่ไว้วางใจดังกล่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะลงมติไม่ไว้วางใจ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ด้วยคะแนน 272 ต่อ 49 เสียง (งดออกเสียง 2 เสียง) ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 แต่พรรคเพื่อไทย นำโดยนายประเสริฐ จันทรรวงทอง ได้ยื่นเรื่องไปยังประธานสภาผู้แทนราษฎร เพื่อส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยกรณีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี อาศัยอยู่ในบ้านพักทหารทั้งที่เกษียณอายุราชการแล้ว เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับเรื่องและนัดวินิจฉัยในวันที่ 2 ธันวาคม 2563 ทั้งนี้ หากคำวินิจฉัยออกมาในทางลักษณะที่เห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นกรณีที่เข้าข่ายการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ อาจส่งผลให้ พล.อ.ประยุทธ์พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และพล.อ.ประยุทธ์จะถูกเว้นวรรคทางการเมือง 2 ปี แต่ถ้าคำวินิจฉัยออกมาในทางตรงกันข้ามก็จะส่งผลให้พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ขาดคุณสมบัติการเป็นรัฐมนตรี และสามารถดำรงตำแหน่งต่อไป[[#_ftn3|[3]]] | ||
| | ||
== | = <span style="font-size:x-large;">'''นานาทัศนะก่อนถึงวันตัดสิน'''</span> = | ||
ก่อนที่ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยในคดี '''“บ้านพักทหาร”''' ได้มีการแสดงความคิดเห็นต่อกรณีดังกล่าวอย่างหลากหลาย พรรคเพื่อไทยในฐานะผู้ยื่นคำร้องต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร เห็นว่า พล.อ. | ก่อนที่ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยในคดี '''“บ้านพักทหาร”''' ได้มีการแสดงความคิดเห็นต่อกรณีดังกล่าวอย่างหลากหลาย พรรคเพื่อไทยในฐานะผู้ยื่นคำร้องต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร เห็นว่า พล.อ.ประยุทธ์เกษียณราชการและพ้นจากตำแหน่ง '''“ผู้บัญชาการทหารบก”''' ในเดือน ก.ย. ปี 2557 ต่อมามีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560]] ซึ่งมีบทบัญญัติใน มาตรา 184 (3) ห้ามมิให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ''“...รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานปกติ”'' และให้นำบทบัญญัตินี้บังคับใช้แก่รัฐมนตรีด้วย (มาตรา 186) ดังนั้น เมื่อ พล.อ.ประยุทธ์ อาศัยในบ้านพักทหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายถือว่าเป็นการ '''“รับประโยชน์ใด”''' จากหน่วยงานราชการ จึงเข้าหลักเกณฑ์ว่าด้วยการขัดกันแห่งผลประโยชน์ที่รัฐธรรมนูญวางหลักการไว้[[#_ftn4|[4]]] | ||
นอกจากนี้ นายจตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ยังได้แสดงทัศนะต่อเรื่องนี้ในรายการ peace talk ทาง Facebook Live เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563 ว่าอาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ | นอกจากนี้ นายจตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ยังได้แสดงทัศนะต่อเรื่องนี้ในรายการ peace talk ทาง Facebook Live เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563 ว่าอาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ โดยเฉพาะถ้านำคดีบ้านพักทหารนี้ไปเทียบเคียงกับกรณีของ นาย[[สมัคร_สุนทรเวช]] อดีตนายกรัฐมนตรี จัดรายการชิมไปบ่นไป และศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นตำแหน่งเพราะการรับเงินค่ารถเกิน 3,000 บาท กรณีพล.อ.ประยุทธ์ อยู่อาศัยในบ้านพักของทางราชการซึ่งน่าจะมีมูลค่าของผลประโยชน์ที่ได้รับสูงกว่า 3,000 บาท ก็น่าจะมีโอกาสถูกตัดสินให้พ้นจากตำแหน่งได้เช่นเดียวกัน[[#_ftn5|[5]]] | ||
ขณะที่รัฐบาลและกองทัพบกในฐานะหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบกรณีบ้านพักของ | ขณะที่รัฐบาลและกองทัพบกในฐานะหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบกรณีบ้านพักของ พลเอกประยุทธ์มีการชี้แจงไปยังศาลรัฐธรรมนูญหลายครั้ง นับตั้งแต่ภายหลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ตัวแทนของรัฐบาลได้ส่งเรื่องผ่านรัฐสภา ซึ่งมีรายงานว่าได้ส่งเอกสาร จำนวน 3 หน้า เพื่อขอส่งต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญประกอบการวินิจฉัย ประเด็นสำคัญในเอกสารดังกล่าว คือ การชี้แจงว่า พล.อ.ประยุทธ์ยอมรับว่าพักอาศัยอยู่ในบ้านพักทหารจริงและมีข้อยกเว้นตามระเบียบให้เข้าพักอาศัยได้ ส่วนสาเหตุที่ไม่อาศัยอยูที่บ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คือ บ้านพิษณุโลกนั้น เป็นเพราะบ้านพักดังกล่าวอยู่ระหว่างการปรับปรุง นอกจากนี้ยังได้ให้เหตุผลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยว่าการรักษาความปลอดภัยภายในค่ายทหารทำได้ดีกว่าภายนอก ต่อมากองทัพบกมีการส่งเอกสารชี้แจงที่มีเนื้อหาเดียวกัน ลงนามโดย พล.อ.อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้นส่งไปยังศาลรัฐธรรมนูญและภายหลังจากที่พล อ.อภิรัชต์เกษียณอายุราชการ พล.อ.ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้ ผู้บัญชาการทหารบกคนถัดมาได้ส่งเอกสารคำชี้แจง 3 หน้าดังกล่าวไปยังศาลรัฐธรรมนูญอีกครั้ง กล่าวได้ว่า ในทัศนะของรัฐบาลและกองทัพบก การเข้าพักอาศัยในบ้านพักทหารของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ภายหลังเกษียณราชการและพ้นจากตำแหน่งแล้วชอบด้วยระเบียบของกองทัพบกและยังมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย[[#_ftn6|[6]]] | ||
| | ||
== | = <span style="font-size:x-large;">'''ผลการพิจารณา'''</span> = | ||
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า บ้านพักอาศัยของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ถูกร้อง ได้เปลี่ยนสถานะเป็น '''“บ้านพักรับรอง”''' ตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบก พ.ศ.2548 ซึ่งกำหนดให้อดีตผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพบกซึ่งทำคุณประโยชน์ให้กับกองทัพบกและประเทศชาติและเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกมาแล้ว | ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า บ้านพักอาศัยของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ถูกร้อง ได้เปลี่ยนสถานะเป็น '''“บ้านพักรับรอง”''' ตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบก พ.ศ. 2548 ซึ่งกำหนดให้อดีตผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพบกซึ่งทำคุณประโยชน์ให้กับกองทัพบกและประเทศชาติและเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกมาแล้ว มีสิทธิเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบกและกองทัพบกสามารถพิจารณาความเหมาะสมในการสนับสนุนงบประมาณค่ากระแสไฟฟ้าและน้ำประปา ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการพักอาศัยตามความจำเป็นและเหมาะสมในการใช้งาน เมื่อ พล.อ.ประยุทธ์เคยเป็นผู้บัญชาการทหารบกจึงเป็นผู้มีสิทธิเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบกและมีสิทธิได้รับการสนับสนุนค่ากระแสไฟฟ้าและน้ำประปาตามระเบียบดังกล่าวข้างต้น หาใช่อาศัยในบ้านพักรับรองในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียงสถานะเดียว ซึ่งหาก พล.อ.ประยุทธ์ไม่ได้เป็นผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพมาก่อน แม้เป็นนายกรัฐมนตรีที่เป็นพลเรือนย่อมไม่มีสิทธิได้พักอาศัยในบ้านพักรับรองตามระเบียบของกองทัพบกได้ การให้สิทธิดังกล่าวเป็นการให้แก่ผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบนั้นเป็นธุรกิจการงานปกติ โดยถือเป็นสิทธิของบุคคลอันเนื่องมาจากการดำรงตำแหน่งอดีตผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพบก จึงมีมติเอกฉันท์ว่าความเป็นรัฐมนตรีของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ไม่สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (5) และมาตรา 170 วรรคหนึ่ง (5) ประกอบมาตรา 186 วรรคหนึ่ง และมาตรา 184 วรรคหนึ่ง (3) และผู้ถูกร้องไม่มีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแต่อย่างใด[[#_ftn7|[7]]] | ||
| | ||
<div> | <div> | ||
== | = <span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span> = | ||
<div id="ftn1"> | <div id="ftn1"> | ||
[[#_ftnref1|[1]]] คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 29/2563, ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 137 ตอน 104 ก ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563 | [[#_ftnref1|[1]]] คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 29/2563, ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 137 ตอน 104 ก ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563 | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
[[#_ftnref2|[2]]] หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. (30 พฤศจิกายน 2563). “ศาลรัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อกฎหมาย-ข้อวิเคราะห์ ก่อนศาลรัฐธรรมนูญชี้ชะตา พล.อ. ประยุทธ์ คดีพักบ้านหลวง.” บีบีซีไทย, 30 พฤศจิกายน 2020. <https://www.bbc.com/thai/thailand-55126328> | [[#_ftnref2|[2]]] หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. (30 พฤศจิกายน 2563). “ศาลรัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อกฎหมาย-ข้อวิเคราะห์ ก่อนศาลรัฐธรรมนูญชี้ชะตา พล.อ. ประยุทธ์ คดีพักบ้านหลวง.” บีบีซีไทย, 30 พฤศจิกายน 2020. <[https://www.bbc.com/thai/thailand-55126328 https://www.bbc.com/thai/thailand-55126328]> | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] “คดีพักบ้านหลวง: พล.อ.ประยุทธ์อาจพ่าย แต่ระบอบ คสช. ยังไม่แพ้.” iLaw, 30 พฤศจิกายน 2563. <https://ilaw.or.th/node/5789> | [[#_ftnref3|[3]]] “คดีพักบ้านหลวง: พล.อ.ประยุทธ์อาจพ่าย แต่ระบอบ คสช. ยังไม่แพ้.” iLaw, 30 พฤศจิกายน 2563. <[https://ilaw.or.th/node/5789 https://ilaw.or.th/node/5789]> | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] “เทียบระเบียบทหาร! บ้านพัก "ประยุทธ์" ขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่.” Thai PBS, 27 พฤศจิกายน 2563. <https://news.thaipbs.or.th/content/298708> | [[#_ftnref4|[4]]] “เทียบระเบียบทหาร! บ้านพัก "ประยุทธ์" ขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่.” Thai PBS, 27 พฤศจิกายน 2563. <[https://news.thaipbs.or.th/content/298708 https://news.thaipbs.or.th/content/298708]> | ||
</div> <div id="ftn5"> | </div> <div id="ftn5"> | ||
[[#_ftnref5|[5]]] "จตุพร"ชี้คดีบ้านพักหลวงอาจเป็นทางลงสวยงามของ"บิ๊กตู่." โพสต์ทูเดย์, 5 พฤศจิกายน 2563. <https://www.posttoday.com/politic/news/637340> | [[#_ftnref5|[5]]] "จตุพร"ชี้คดีบ้านพักหลวงอาจเป็นทางลงสวยงามของ"บิ๊กตู่." โพสต์ทูเดย์, 5 พฤศจิกายน 2563. <[https://www.posttoday.com/politic/news/637340 https://www.posttoday.com/politic/news/637340]> | ||
</div> <div id="ftn6"> | </div> <div id="ftn6"> | ||
[[#_ftnref6|[6]]] “เทียบระเบียบทหาร! บ้านพัก "ประยุทธ์" ขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่.” Thai PBS, 27 พฤศจิกายน 2563. <https://news.thaipbs.or.th/content/298708> | [[#_ftnref6|[6]]] “เทียบระเบียบทหาร! บ้านพัก "ประยุทธ์" ขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่.” Thai PBS, 27 พฤศจิกายน 2563. <[https://news.thaipbs.or.th/content/298708 https://news.thaipbs.or.th/content/298708]> | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 29/2563, ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 137 ตอน 104 ก ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563 | [[#_ftnref7|[7]]] คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 29/2563, ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 137 ตอน 104 ก ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563 | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]][[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] | | ||
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]][[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]][[Category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:07, 10 สิงหาคม 2565
ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา สาธิตพร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
บ้านพักทหาร
“บ้านพักทหาร” ในความหมายทั่วไป เป็นภาษาไม่เป็นทางการสำหรับเรียกอาคารสวัสดิการที่กองทัพจัดไว้เพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัยให้แก่ข้าราชการในสังกัดตามหลักเกณฑ์ที่มีการกำหนดเป็นระเบียบของหน่วยงานนั้น ๆ อาทิ ระเบียบคณะกรรมการอำนาวยการสวัสดิการกองบัญชาการกองทัพไทย ว่าด้วยการพักอาศัยในอาคารสวัสดิการ กองบัญชาการกองทัพไทย ได้ให้คำนิยามคำว่า “อาคารสวัสดิการ กองบัญชาการกองทัพไทย” ไว้ว่า “หมายถึง บ้านพัก ห้องพักในอาคารสวัสดิการส่วนกลาง อาคารชุด และสิ่งก่อสร้างอื่นใดที่กองบัญชาการกองทัพไทยจัดหาเพื่อเป็นสวัสดิการที่พักอาศัยของข้าราชการเป็นส่วนรวม…” และได้กำหนดนิยามของผู้พักอาศัย ผู้อาศัย และค่าบริการสวัสดิการไว้ เช่นเดียวกับระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการเข้าพักอาศัยในอาคาร บ้านพัก ของข้าราชการและลูกจ้างประจำในสังกัดกองทัพบก พ.ศ.2553 ได้นิยามคำว่า “อาคารที่พักอาศัยของทางราชการ” หมายถึง อาคารประเภทแฟลต และบ้านพัก หรือ เรือนแถว ที่กองทัพบกก่อสร้างขึ้นและมอบให้หน่วยต่าง ๆ รับผิดชอบควบคุมดูแล โดยได้กำหนด “ผู้ให้พักอาศัย” ไว้ว่า “หมายถึง หน่วยหรือกรมสวัสดิการทหารบกโดย กองทัพบกได้อนุมัติให้เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมดูแลอาคารที่พักอาศัยของทางราชการ” และ “ผู้พักอาศัย” หมายถึง ข้าราชการประจำการ และลูกจ้างประจำ ที่ได้รับอนุมัติให้เข้าพักอาศัยในอาคารที่พักอาศัยของทางราชการ
อย่างไรก็ตาม จากคำที่มุ่งสื่อถึงสวัสดิการที่พักอาศัยของผู้ปฏิบัติงานประจำในกองทัพ “บ้านพักทหาร” ถูกทำให้กลายเป็นคำศัพท์ทางการเมืองจากกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 55 คน เข้าชื่อร้องต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคสาม ประกอบ มาตรา 82 วรรคหนึ่ง โดยกล่าวอ้างว่า พล.อ.ประยุทธ์_จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมใช้บ้านพักใน กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็ก ราชวัลลภรักษาพระองค์ ซึ่งเป็นบ้านพักของทางราชการเป็นบ้านพักอาศัยโดยไม่เสียค่าเช่า ค่ากระแสไฟฟ้า และค่าน้ำประปาให้กับทางราชการทหาร ตั้งแต่ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกและตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกจนถึงปัจจุบัน เป็นการอยู่อาศัยโดยไม่มีสิทธิอันชอบด้วยกฎหมาย ถือเป็นการรับประโยชน์ใด ๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐเป็นพิเศษ นอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ ปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานปกติ เป็นการกระทำขัดกันแห่งผลประโยชน์ต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 186 วรรคหนึ่ง ประกอบ มาตรา 184 วรรคหนึ่ง (3) ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีของผู้ถูกร้องสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (5) นอกจากนี้ ยังเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามมาตรฐานทางจริยธรรมของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและหัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระ พ.ศ. 2561 เป็นเหตุให้ความเป็นรัฐมนตรีของผู้ถูกร้องสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (5)[1]
ต้นทางแห่งคดี
ก่อนที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 55 คน จะทำการเข้าชื่อร้องต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยกรณีการเข้าพักอาศัยในบ้านพักทหารของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานั้น กรณีดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้ในการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและและรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลอีก 5 คน รวม 6 คน ที่ได้เสนอญัตติไปเมื่อ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2563 ก่อนหน้านั้นแล้ว ทั้งนี้ ในระหว่างการเปิดอภิปรายดังกล่าว (วันที่ 25-27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563) นายประเสริฐ จันทรรวงทอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา พรรคเพื่อไทย ได้กล่าวหา พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ว่าจงใจไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 184 ว่าด้วยการขัดกันของผลประโยชน์ เนื่องจากยังคงพักอาศัยอยู่ใน “บ้านพักทหาร” โดยไม่จ่ายค่าเช่า ไม่เสียค่าน้ำค่าไฟ ทั้งที่เกษียณอายุราชการจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกไปตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 แล้ว ถือว่ากรณีดังกล่าวเป็นการรับประโยชน์จากหน่วยงานของรัฐ และไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมอันเป็นความผิดร้ายแรง[2]
ถึงแม้ว่าในการอภิปรายไม่ไว้วางใจดังกล่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะลงมติไม่ไว้วางใจ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ด้วยคะแนน 272 ต่อ 49 เสียง (งดออกเสียง 2 เสียง) ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 แต่พรรคเพื่อไทย นำโดยนายประเสริฐ จันทรรวงทอง ได้ยื่นเรื่องไปยังประธานสภาผู้แทนราษฎร เพื่อส่งคำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยกรณีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี อาศัยอยู่ในบ้านพักทหารทั้งที่เกษียณอายุราชการแล้ว เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับเรื่องและนัดวินิจฉัยในวันที่ 2 ธันวาคม 2563 ทั้งนี้ หากคำวินิจฉัยออกมาในทางลักษณะที่เห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นกรณีที่เข้าข่ายการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ อาจส่งผลให้ พล.อ.ประยุทธ์พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และพล.อ.ประยุทธ์จะถูกเว้นวรรคทางการเมือง 2 ปี แต่ถ้าคำวินิจฉัยออกมาในทางตรงกันข้ามก็จะส่งผลให้พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ขาดคุณสมบัติการเป็นรัฐมนตรี และสามารถดำรงตำแหน่งต่อไป[3]
นานาทัศนะก่อนถึงวันตัดสิน
ก่อนที่ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยในคดี “บ้านพักทหาร” ได้มีการแสดงความคิดเห็นต่อกรณีดังกล่าวอย่างหลากหลาย พรรคเพื่อไทยในฐานะผู้ยื่นคำร้องต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร เห็นว่า พล.อ.ประยุทธ์เกษียณราชการและพ้นจากตำแหน่ง “ผู้บัญชาการทหารบก” ในเดือน ก.ย. ปี 2557 ต่อมามีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560 ซึ่งมีบทบัญญัติใน มาตรา 184 (3) ห้ามมิให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา “...รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานปกติ” และให้นำบทบัญญัตินี้บังคับใช้แก่รัฐมนตรีด้วย (มาตรา 186) ดังนั้น เมื่อ พล.อ.ประยุทธ์ อาศัยในบ้านพักทหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายถือว่าเป็นการ “รับประโยชน์ใด” จากหน่วยงานราชการ จึงเข้าหลักเกณฑ์ว่าด้วยการขัดกันแห่งผลประโยชน์ที่รัฐธรรมนูญวางหลักการไว้[4]
นอกจากนี้ นายจตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ยังได้แสดงทัศนะต่อเรื่องนี้ในรายการ peace talk ทาง Facebook Live เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563 ว่าอาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ โดยเฉพาะถ้านำคดีบ้านพักทหารนี้ไปเทียบเคียงกับกรณีของ นายสมัคร_สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี จัดรายการชิมไปบ่นไป และศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นตำแหน่งเพราะการรับเงินค่ารถเกิน 3,000 บาท กรณีพล.อ.ประยุทธ์ อยู่อาศัยในบ้านพักของทางราชการซึ่งน่าจะมีมูลค่าของผลประโยชน์ที่ได้รับสูงกว่า 3,000 บาท ก็น่าจะมีโอกาสถูกตัดสินให้พ้นจากตำแหน่งได้เช่นเดียวกัน[5]
ขณะที่รัฐบาลและกองทัพบกในฐานะหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบกรณีบ้านพักของ พลเอกประยุทธ์มีการชี้แจงไปยังศาลรัฐธรรมนูญหลายครั้ง นับตั้งแต่ภายหลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ตัวแทนของรัฐบาลได้ส่งเรื่องผ่านรัฐสภา ซึ่งมีรายงานว่าได้ส่งเอกสาร จำนวน 3 หน้า เพื่อขอส่งต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญประกอบการวินิจฉัย ประเด็นสำคัญในเอกสารดังกล่าว คือ การชี้แจงว่า พล.อ.ประยุทธ์ยอมรับว่าพักอาศัยอยู่ในบ้านพักทหารจริงและมีข้อยกเว้นตามระเบียบให้เข้าพักอาศัยได้ ส่วนสาเหตุที่ไม่อาศัยอยูที่บ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คือ บ้านพิษณุโลกนั้น เป็นเพราะบ้านพักดังกล่าวอยู่ระหว่างการปรับปรุง นอกจากนี้ยังได้ให้เหตุผลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยว่าการรักษาความปลอดภัยภายในค่ายทหารทำได้ดีกว่าภายนอก ต่อมากองทัพบกมีการส่งเอกสารชี้แจงที่มีเนื้อหาเดียวกัน ลงนามโดย พล.อ.อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้นส่งไปยังศาลรัฐธรรมนูญและภายหลังจากที่พล อ.อภิรัชต์เกษียณอายุราชการ พล.อ.ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้ ผู้บัญชาการทหารบกคนถัดมาได้ส่งเอกสารคำชี้แจง 3 หน้าดังกล่าวไปยังศาลรัฐธรรมนูญอีกครั้ง กล่าวได้ว่า ในทัศนะของรัฐบาลและกองทัพบก การเข้าพักอาศัยในบ้านพักทหารของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ภายหลังเกษียณราชการและพ้นจากตำแหน่งแล้วชอบด้วยระเบียบของกองทัพบกและยังมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย[6]
ผลการพิจารณา
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า บ้านพักอาศัยของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ถูกร้อง ได้เปลี่ยนสถานะเป็น “บ้านพักรับรอง” ตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบก พ.ศ. 2548 ซึ่งกำหนดให้อดีตผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพบกซึ่งทำคุณประโยชน์ให้กับกองทัพบกและประเทศชาติและเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกมาแล้ว มีสิทธิเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบกและกองทัพบกสามารถพิจารณาความเหมาะสมในการสนับสนุนงบประมาณค่ากระแสไฟฟ้าและน้ำประปา ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการพักอาศัยตามความจำเป็นและเหมาะสมในการใช้งาน เมื่อ พล.อ.ประยุทธ์เคยเป็นผู้บัญชาการทหารบกจึงเป็นผู้มีสิทธิเข้าพักอาศัยในบ้านพักรับรองกองทัพบกและมีสิทธิได้รับการสนับสนุนค่ากระแสไฟฟ้าและน้ำประปาตามระเบียบดังกล่าวข้างต้น หาใช่อาศัยในบ้านพักรับรองในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียงสถานะเดียว ซึ่งหาก พล.อ.ประยุทธ์ไม่ได้เป็นผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพมาก่อน แม้เป็นนายกรัฐมนตรีที่เป็นพลเรือนย่อมไม่มีสิทธิได้พักอาศัยในบ้านพักรับรองตามระเบียบของกองทัพบกได้ การให้สิทธิดังกล่าวเป็นการให้แก่ผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบนั้นเป็นธุรกิจการงานปกติ โดยถือเป็นสิทธิของบุคคลอันเนื่องมาจากการดำรงตำแหน่งอดีตผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองทัพบก จึงมีมติเอกฉันท์ว่าความเป็นรัฐมนตรีของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ไม่สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (5) และมาตรา 170 วรรคหนึ่ง (5) ประกอบมาตรา 186 วรรคหนึ่ง และมาตรา 184 วรรคหนึ่ง (3) และผู้ถูกร้องไม่มีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแต่อย่างใด[7]
อ้างอิง
[1] คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 29/2563, ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 137 ตอน 104 ก ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563
[2] หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. (30 พฤศจิกายน 2563). “ศาลรัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อกฎหมาย-ข้อวิเคราะห์ ก่อนศาลรัฐธรรมนูญชี้ชะตา พล.อ. ประยุทธ์ คดีพักบ้านหลวง.” บีบีซีไทย, 30 พฤศจิกายน 2020. <https://www.bbc.com/thai/thailand-55126328>
[3] “คดีพักบ้านหลวง: พล.อ.ประยุทธ์อาจพ่าย แต่ระบอบ คสช. ยังไม่แพ้.” iLaw, 30 พฤศจิกายน 2563. <https://ilaw.or.th/node/5789>
[4] “เทียบระเบียบทหาร! บ้านพัก "ประยุทธ์" ขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่.” Thai PBS, 27 พฤศจิกายน 2563. <https://news.thaipbs.or.th/content/298708>
[5] "จตุพร"ชี้คดีบ้านพักหลวงอาจเป็นทางลงสวยงามของ"บิ๊กตู่." โพสต์ทูเดย์, 5 พฤศจิกายน 2563. <https://www.posttoday.com/politic/news/637340>
[6] “เทียบระเบียบทหาร! บ้านพัก "ประยุทธ์" ขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่.” Thai PBS, 27 พฤศจิกายน 2563. <https://news.thaipbs.or.th/content/298708>
[7] คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 29/2563, ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 137 ตอน 104 ก ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2563