ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุติธรรมเหลื่อมล้ำ"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' ฐิติกร สังข์แก้ว และดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว | '''ผู้เรียบเรียง''' ฐิติกร สังข์แก้ว และดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว | ||
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 10: | ||
== ความหมาย == | == ความหมาย == | ||
พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา [[รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงยุติธรรมมีแนวนโยบายที่จะให้กระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักของภาครัฐในการร่วมขับเคลื่อนการแก้ปัญหา[[ความเหลื่อมล้ำ]]ในสังคมตามแนวทางของ[[รัฐบาล]] พล.อ.[[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] โดยในการประชุมเพื่อมอบนโยบายให้กับหัวหน้าส่วนราชการกระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2557 พล.อ.ไพบูลย์ในฐานะประธานที่ประชุมได้มอบหมายให้กระทรวงยุติธรรมโดยกรมคุ้มครอง[[สิทธิและเสรีภาพ]] ทำงานประสานบูรณาการกับสำนักนายกรัฐมนตรี [[สำนักงานอัยการสูงสุด]]และกระทรวงมหาดไทย โดยมีแนวทางที่จะปรับเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนยุติธรรมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมรวมถึงการช่วยเหลือเงินในขั้นตอนการต่อสู้คดีซึ่งหากประชาชนมีโอกาสเข้าถึงกองทุนยุติธรรมมากขึ้นจะเป็นส่วนช่วยในการอำนวยความเป็นธรรมแก่ประชาชนและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อีกทางหนึ่ง | พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา [[รัฐมนตรี|รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงยุติธรรมมีแนวนโยบายที่จะให้กระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักของภาครัฐในการร่วมขับเคลื่อนการแก้ปัญหา[[ความเหลื่อมล้ำ|ความเหลื่อมล้ำ]]ในสังคมตามแนวทางของ[[รัฐบาล|รัฐบาล]] พล.อ.[[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] โดยในการประชุมเพื่อมอบนโยบายให้กับหัวหน้าส่วนราชการกระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2557 พล.อ.ไพบูลย์ในฐานะประธานที่ประชุมได้มอบหมายให้กระทรวงยุติธรรมโดยกรมคุ้มครอง[[สิทธิและเสรีภาพ|สิทธิและเสรีภาพ]] ทำงานประสานบูรณาการกับสำนักนายกรัฐมนตรี [[สำนักงานอัยการสูงสุด|สำนักงานอัยการสูงสุด]]และกระทรวงมหาดไทย โดยมีแนวทางที่จะปรับเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนยุติธรรมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมรวมถึงการช่วยเหลือเงินในขั้นตอนการต่อสู้คดีซึ่งหากประชาชนมีโอกาสเข้าถึงกองทุนยุติธรรมมากขึ้นจะเป็นส่วนช่วยในการอำนวยความเป็นธรรมแก่ประชาชนและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อีกทางหนึ่ง | ||
== หลักการและสาระสำคัญ == | == หลักการและสาระสำคัญ == | ||
ด้วยนโยบายของรัฐบาลที่จะให้มีการปรับปรุง[[กฎหมาย|กฎหมาย]]และกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมได้ง่าย รวดเร็ว รวมถึงคุ้มครองช่วยเหลือผู้ยากจนและผู้ด้อยโอกาส คุ้มครองผู้ถูกล่วงละเมิดสิทธิและเสรีภาพ และเยียวยาผู้บริสุทธิ์หรือได้รับผลกระทบจากความไม่เป็นธรรม จึงได้มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวยความยุติธรรมเพื่อ[[ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม|ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม]] ระหว่าง 4 หน่วยงาน ได้แก่ [[สำนักนายกรัฐมนตรี|สำนักนายกรัฐมนตรี]] [[สำนักงานอัยการสูงสุด|สำนักงานอัยการสูงสุด]] [[กระทรวงมหาดไทย|กระทรวงมหาดไทย]] และ[[กระทรวงยุติธรรม|กระทรวงยุติธรรม]]<ref>“บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวย[[ความยุติธรรม]]เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม,”ระหว่างสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม, ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2557. เข้าถึงจาก <http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/MOU/MOU_Justice_2.pdf>. เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2558.</ref> เพื่อให้หน่วยงานเหล่านี้ทำงานร่วมกันอย่าง[[บูรณาการ|บูรณาการ]] โดยอาศัยกลไกขับเคลื่อนที่แต่ละหน่วยงานมีอยู่ ทำงานประสานกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการอำนวยความสะดวกและ[[ความเป็นธรรม|ความเป็นธรรม]]แก่ประชาชน | |||
เดิมทีนั้นกระทรวงยุติธรรมมี “[[กองทุนยุติธรรม|กองทุนยุติธรรม]]” เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้ที่มีคดีความ ทั้งในเรื่องค่าทนายความ ค่าประกันตัว ค่าธรรมเนียมศาล และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่งกองทุนฯ จัดตั้งขึ้นตั้งปี พ.ศ.2549 โดยอยู่ในความรับผิดชอบของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทว่าที่ผ่านมานั้นต้องประสบปัญหากับข้อจำกัดเรื่องเงินกองทุนที่จะนำมาช่วยเหลือและประชาชนยังเข้าไม่ถึง ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากอัตรากำลังคนของกรมคุ้มครองสิทธิฯ เองที่มีเจ้าหน้าที่อยู่เพียง 200 กว่าคน ทำให้หน่วยงานยุติธรรมจังหวัดเข้าไม่ถึงประชาชนในแต่ละอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน <ref>“จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ,” คมชัดลึก, (28 ธันวาคม 2557), 10.</ref> เป็นผลให้กองทุนยุติธรรมประสบกับปัญหาในเรื่องของการให้บริการช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ทันท่วงทีและติดขัดในด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอ | |||
: | แนวทางการบูรณาการที่ทาง พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้มอบนโยบายไว้โดยให้ทางกระทรวงยุติธรรมซึ่งมีกองทุนยุติธรรมอยู่แล้ว แต่ยังขาดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน จึงให้ทาง[[สำนักงานยุติธรรม|สำนักงานยุติธรรม]]จังหวัดประสานการปฏิบัติงานร่วมกับกระทรวงมหาดไทยที่มี “[[ศูนย์ดำรงธรรม|ศูนย์ดำรงธรรม]]” อยู่ทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ เป็นช่องทางในการรับเรื่องหรือคำร้องของประชาชน<ref>“กระทรวงยุติธรรม ผนึกกำลัง กระทรวงมหาดไทย มุ่งขับเคลื่อนงานกองทุนยุติธรรมสู่ระดับจังหวัด เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม,” (7 พฤษภาคม 2558). เข้าถึงจาก <http://www.moj.go.th/th/2013-03-07-04-34-36/2013-03-07-06-48-34/2013-03-07-06-56-55?view=item&id=34859>. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558.</ref> อีกทั้งยังสามารถกระจายการรับรู้ไปสู่ประชาชนได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น ซึ่งที่ผ่านมาประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่รู้ว่าตนเองมีสิทธิ์ที่สามารถขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรมได้ ทำให้การช่วยเหลือยังคงกระจุกตัวอยู่ในส่วนกลาง <ref>“จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ,” คมชัดลึก, (28 ธันวาคม 2557), 10.</ref> | ||
ในส่วนของงบประมาณของกองทุนยุติธรรมทาง พล.อ.ไพบูลย์มีแนวทางที่จะให้เพิ่มในส่วนเงินงบประมาณของกองทุนฯ ให้ดำเนินไปพร้อมกับการขยายความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ครอบคลุมทั่วถึงมากยิ่งขึ้น โดยยึดถือในเรื่องของการอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนเป็นสำคัญ ดังที่ พล.อ.ไพบูลย์ได้ให้สัมภาษณ์พิเศษกับผู้สื่อข่าวเครือเนชั่นถึงเรื่องนี้ไว้ว่า | |||
ดังนั้นแล้ว หากการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐตามที่กล่าวข้างต้นสามารถปรับเพิ่มประสิทธิภาพในการอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนได้ตามแนวทางของ[[รัฐบาล]]และที่[[รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงยุติธรรมได้มอบนโยบายไว้ ก็จะเป็นส่วนช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมในเชิงโครงสร้าง อันเป็นไปตามแนวคิดในเรื่อง[[หลักนิติธรรม]] (Rule of Law) และแนวคิดในเรื่องความเท่าเทียมของโอกาส (Equality of Opportunity)<ref>สำนึกนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม, “กระทรวงยุติธรรมกับการลดความเหลื่อมล้ำ,” วารสารยุติธรรม, ปีที่ 13, ฉบับที่ 4 (2556), 49-51.</ref> ซึ่งจะทำให้ประชาชนโดยเฉพาะผู้ยากจนและผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมได้มากขึ้น และยังมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมในมิติต่างๆกล่าวคือ ความเหลื่อมล้ำในด้านความมั่นคงและรายได้ (Wealth & Income Inequality) ซึ่งเกิดจากการพัฒนาที่ไม่สมดุลทั้งในเชิงพื้นที่และกลุ่มบุคคล ความเหลื่อมล้ำในด้านการกระจายโอกาส (Opportunity Inequality) ทั้งในการเข้าถึงบริการสาธารณะและโอกาสทางสังคม และในแง่ความเหลื่อมล้ำด้านอำนาจ (Power Inequality) ทั้งเชิงสิทธิทางการเมือง การเข้าถึงทรัพยากร การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะทั้งในระดับชาติหรือท้องถิ่น รวมไปถึงการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีอำนาจน้อยในสังคม | | ||
: | |||
:: | |||
::: | |||
::::''ยอมรับว่ารัฐอาจมีรายจ่ายเพิ่มขึ้น แต่เป็นรายจ่ายที่รัฐจำเป็นต้องเข้าไปช่วยเหลือ ผมมองว่าเงิน 500-600 ล้านบาท หรืออาจต้องเพิ่มเป็น 1,000 ล้าน สำหรับประชาชนไม่เยอะ เมื่อเทียบกับการที่ประชาชนมีโอกาสที่จะเข้าไปต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรม เราไม่ได้มองว่าเขาถูกหรือผิด แต่เป็นการช่วยให้เขาเข้าถึงโอกาส ไม่ใช่ต้องเข้าไปติดคุกเพราะไม่มีโอกาสได้ต่อสู้หรือเพราะเขากลัวความล่าช้า หรือไม่มีเงิน หรืออยู่ห่างไกลจากศูนย์ความช่วยเหลือในส่วนกลาง ความเหลื่อมล้ำเหล่านี้ควรหมดไป ไม่ต้องห่วงเรื่องงบประมาณ ผมห่วงอย่างเดียวว่าประชาชนรู้หรือไม่ว่ามีความช่วยเหลือจากรัฐในเรื่องนี้'' <ref>“จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ,” คมชัดลึก, (28 ธันวาคม 2557), 10.</ref> | |||
ดังนั้นแล้ว หากการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐตามที่กล่าวข้างต้นสามารถปรับเพิ่มประสิทธิภาพในการอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนได้ตามแนวทางของ[[รัฐบาล|รัฐบาล]]และที่[[รัฐมนตรี|รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงยุติธรรมได้มอบนโยบายไว้ ก็จะเป็นส่วนช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมในเชิงโครงสร้าง อันเป็นไปตามแนวคิดในเรื่อง[[หลักนิติธรรม|หลักนิติธรรม]] (Rule of Law) และแนวคิดในเรื่องความเท่าเทียมของโอกาส (Equality of Opportunity)<ref>สำนึกนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม, “กระทรวงยุติธรรมกับการลดความเหลื่อมล้ำ,” วารสารยุติธรรม, ปีที่ 13, ฉบับที่ 4 (2556), 49-51.</ref> ซึ่งจะทำให้ประชาชนโดยเฉพาะผู้ยากจนและผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมได้มากขึ้น และยังมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมในมิติต่างๆกล่าวคือ ความเหลื่อมล้ำในด้านความมั่นคงและรายได้ (Wealth & Income Inequality) ซึ่งเกิดจากการพัฒนาที่ไม่สมดุลทั้งในเชิงพื้นที่และกลุ่มบุคคล ความเหลื่อมล้ำในด้านการกระจายโอกาส (Opportunity Inequality) ทั้งในการเข้าถึงบริการสาธารณะและโอกาสทางสังคม และในแง่ความเหลื่อมล้ำด้านอำนาจ (Power Inequality) ทั้งเชิงสิทธิทางการเมือง การเข้าถึงทรัพยากร การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะทั้งในระดับชาติหรือท้องถิ่น รวมไปถึงการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีอำนาจน้อยในสังคม | |||
== นัยยะสำคัญต่อสังคมไทย == | == นัยยะสำคัญต่อสังคมไทย == | ||
ดังจะเห็นว่าแนวทางยุติธรรมเหลื่อมล้ำโดยความพยายามฟื้นฟูกองทุนยุติธรรมขึ้นมาอีกคราวนั้นได้สะท้อนสภาพปัญหาประการสำคัญประการหนึ่งคือสังคมไทยยังมีความเหลื่อมล้ำอยู่ในระดับสูง ในทิศทางตรงกันข้าม นั่นหมายความว่าหากระดับของความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยลดลงหรือมีช่องว่างในการจัดเก็บภาษีที่ดินในอัตราก้าวหน้าและ[[ภาษีมรดก]] ฯลฯ ระดับต่ำความจำเป็นของกองทุนยุติธรรมก็อาจจะมีความจำเป็นลดน้อยลง | ดังจะเห็นว่าแนวทางยุติธรรมเหลื่อมล้ำโดยความพยายามฟื้นฟูกองทุนยุติธรรมขึ้นมาอีกคราวนั้นได้สะท้อนสภาพปัญหาประการสำคัญประการหนึ่งคือสังคมไทยยังมีความเหลื่อมล้ำอยู่ในระดับสูง ในทิศทางตรงกันข้าม นั่นหมายความว่าหากระดับของความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยลดลงหรือมีช่องว่างในการจัดเก็บภาษีที่ดินในอัตราก้าวหน้าและ[[ภาษีมรดก|ภาษีมรดก]] ฯลฯ ระดับต่ำความจำเป็นของกองทุนยุติธรรมก็อาจจะมีความจำเป็นลดน้อยลง | ||
จากแนวทางการสร้างกระบวนการสำหรับการกระจายความเป็นธรรมและการลดการเหลื่อมล้ำของรัฐบาลโดยมีกระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าภาพใหญ่ในการบูรณาการหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหา นัยยะที่สำคัญประการสำคัญประการหนึ่งคือความพยายามในการปฏิรูปสังคมทั้งระบบเพื่อขจัดปัญหาโครงสร้างความเหลื่อมล้ำในทุกมิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเศรษฐกิจซึ่งถือว่าเป็นรากฐานสำคัญของปัญหาการเมืองไทยและเป็นชนวนเหตุที่นำไปสู่ความเหลื่อมล้ำในมิติอื่นๆ | จากแนวทางการสร้างกระบวนการสำหรับการกระจายความเป็นธรรมและการลดการเหลื่อมล้ำของรัฐบาลโดยมีกระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าภาพใหญ่ในการบูรณาการหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหา นัยยะที่สำคัญประการสำคัญประการหนึ่งคือความพยายามในการปฏิรูปสังคมทั้งระบบเพื่อขจัดปัญหาโครงสร้างความเหลื่อมล้ำในทุกมิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเศรษฐกิจซึ่งถือว่าเป็นรากฐานสำคัญของปัญหาการเมืองไทยและเป็นชนวนเหตุที่นำไปสู่ความเหลื่อมล้ำในมิติอื่นๆ | ||
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงประเด็นความเหลื่อมล้ำในเชิงโครงสร้างที่ว่านั้นแล้วพบว่าปัญหาพื้นฐานของสังคมไทยปัญหาด้านการกระจุกตัวของการถือครองที่ดิน กล่าวคือ มีการศึกษาข้อเท็จจริงของสถานการณ์การถือครองที่ดินในปัจจุบัน (ทศวรรษ 2550) พบว่า ประเทศไทยในปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 320.70 ล้านไร่ โดยสามารถจำแนกออกเป็นที่ดินในความดูแลของกรมที่ดิน จำนวน 130.74 ล้านไร่ [[สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม]] (ส.ป.ก.) จำนวน 34.76 ล้านไร่ ป่าสงวนแห่งชาติโดยกรมป่าไม้ จำนวน 144.54 ล้านไร่ และที่ดินราชพัสดุโดยกรมธนารักษ์ จำนวน 9.78 ล้านไร่ โดยพบว่าในปี พ.ศ.2555 พบว่าผู้ถือครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินทั้งหมด 15,900,047 ราย โดยแบ่งเป็นประเภทบุคคล จำนวน 15,678,551 ราย และประเภทนิติบุคคลธรรมดา จำนวน 212,496 ราย (คิดเป็นที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินทั้งหมดประมาณ 95 ล้านไร่) <ref>ดวงมณี เสาวกุล, “การกระจุกตัวของความมั่งคั่งในสังคมไทย,” ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร, (บรรณาธิการ), สู่สังคมไทยเสมอหน้า (กรุงเทพฯ: มติชน, 2557), หน้า 37-59.</ref> | อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงประเด็นความเหลื่อมล้ำในเชิงโครงสร้างที่ว่านั้นแล้วพบว่าปัญหาพื้นฐานของสังคมไทยปัญหาด้านการกระจุกตัวของการถือครองที่ดิน กล่าวคือ มีการศึกษาข้อเท็จจริงของสถานการณ์การถือครองที่ดินในปัจจุบัน (ทศวรรษ 2550) พบว่า ประเทศไทยในปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 320.70 ล้านไร่ โดยสามารถจำแนกออกเป็นที่ดินในความดูแลของกรมที่ดิน จำนวน 130.74 ล้านไร่ [[สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม|สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม]] (ส.ป.ก.) จำนวน 34.76 ล้านไร่ ป่าสงวนแห่งชาติโดยกรมป่าไม้ จำนวน 144.54 ล้านไร่ และที่ดินราชพัสดุโดยกรมธนารักษ์ จำนวน 9.78 ล้านไร่ โดยพบว่าในปี พ.ศ.2555 พบว่าผู้ถือครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินทั้งหมด 15,900,047 ราย โดยแบ่งเป็นประเภทบุคคล จำนวน 15,678,551 ราย และประเภทนิติบุคคลธรรมดา จำนวน 212,496 ราย (คิดเป็นที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินทั้งหมดประมาณ 95 ล้านไร่) <ref>ดวงมณี เสาวกุล, “การกระจุกตัวของความมั่งคั่งในสังคมไทย,” ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร, (บรรณาธิการ), สู่สังคมไทยเสมอหน้า (กรุงเทพฯ: มติชน, 2557), หน้า 37-59.</ref> | ||
ดังนั้น จะเห็นว่าจากข้อมูลข้างต้น ได้สะท้อนให้เห็นถึงความไม่เสมอภาคในการถือครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนด กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มีการกระจุกตัวของการถือครองที่ดินในประเทศไทยสูงมากซึ่งการถือครองที่ดินอยู่ในกลุ่มคนจำนวนน้อย เมื่อพิจารณาแยกภูมิภาค พบว่า ภาคกลางเป็นภาคที่มีความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดินมากที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคที่มีความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดินน้อยที่สุด อย่างไรก็ดี ตัวบ่งชี้สำคัญถึงสภาพปัญหาดังกล่าวดังจะเห็นได้จากการไร้ที่ทำกินและที่อยู่อาศัยของคนเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน | ดังนั้น จะเห็นว่าจากข้อมูลข้างต้น ได้สะท้อนให้เห็นถึงความไม่เสมอภาคในการถือครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนด กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มีการกระจุกตัวของการถือครองที่ดินในประเทศไทยสูงมากซึ่งการถือครองที่ดินอยู่ในกลุ่มคนจำนวนน้อย เมื่อพิจารณาแยกภูมิภาค พบว่า ภาคกลางเป็นภาคที่มีความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดินมากที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคที่มีความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดินน้อยที่สุด อย่างไรก็ดี ตัวบ่งชี้สำคัญถึงสภาพปัญหาดังกล่าวดังจะเห็นได้จากการไร้ที่ทำกินและที่อยู่อาศัยของคนเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน | ||
อย่างไรก็ตาม เมื่อทบทวนแนวทางสำหรับการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำข้างต้นพบว่ามีข้อเสนอแนะของ[[สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย]] <ref> โปรดดูรายละเอียดใน นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ, รายงานวิจัยโครงการ “ปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม” (กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI), 2557).</ref> ดังนี้ | อย่างไรก็ตาม เมื่อทบทวนแนวทางสำหรับการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำข้างต้นพบว่ามีข้อเสนอแนะของ[[สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย|สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย]] <ref> โปรดดูรายละเอียดใน นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ, รายงานวิจัยโครงการ “ปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม” (กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI), 2557).</ref> ดังนี้ | ||
(1) การกำหนดนโยบายจัดที่ดินทำกินให้แก่ผู้ด้อยโอกาสจะต้องพิจารณาร่วมไปกับยุทธศาสตร์ที่ดินด้านอื่นๆ ด้วย รวม 4 ยุทธศาสตร์ คือ | (1) การกำหนดนโยบายจัดที่ดินทำกินให้แก่ผู้ด้อยโอกาสจะต้องพิจารณาร่วมไปกับยุทธศาสตร์ที่ดินด้านอื่นๆ ด้วย รวม 4 ยุทธศาสตร์ คือ | ||
: | |||
:: | |||
::: | |||
::::1). ด้านการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน | ::::1). ด้านการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน | ||
::::2). ด้านการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นธรรม | ::::2). ด้านการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นธรรม | ||
::::3). ด้านการจัดที่ดินให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส และ | ::::3). ด้านการจัดที่ดินให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส และ | ||
::::4). ด้านการบริหารจัดการที่ดิน | ::::4). ด้านการบริหารจัดการที่ดิน | ||
(2) พื้นที่สงวนหวงห้ามอื่นๆ รัฐควรเก็บรักษาดังเช่นกรณีของพื้นที่ป่าที่ไม่ควรจัดให้กับประชาชน สำหรับแนวทางสำหรับช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสคือการจัดตั้งธนาคารที่ดินขึ้นเพื่อทำหน้าที่จัดหาที่ดินที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกร | (2) พื้นที่สงวนหวงห้ามอื่นๆ รัฐควรเก็บรักษาดังเช่นกรณีของพื้นที่ป่าที่ไม่ควรจัดให้กับประชาชน สำหรับแนวทางสำหรับช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสคือการจัดตั้งธนาคารที่ดินขึ้นเพื่อทำหน้าที่จัดหาที่ดินที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกร | ||
(3) เร่งรัดการสิ้นสภาพนิคมสร้างตนเองและสหกรณ์นิคมที่กำหนดไว้ในแผนแม่บท | (3) เร่งรัดการสิ้นสภาพนิคมสร้างตนเองและสหกรณ์นิคมที่กำหนดไว้ในแผนแม่บท | ||
(4) ควรจัดทำระบบข้อมูลผู้ที่เคยได้รับการจัดสรรที่ดินของรัฐจากทุกหน่วยงาน และออกระเบียบว่าหากเคยได้รับการจัดสรรที่ดินจากรัฐไปแล้ว เมื่อขายไป จะไม่มีการจัดสรรให้อีกไม่ว่าจะบุกรุกเข้าทำกินในพื้นที่ของรัฐประเภทใดๆ ก็ตาม | (4) ควรจัดทำระบบข้อมูลผู้ที่เคยได้รับการจัดสรรที่ดินของรัฐจากทุกหน่วยงาน และออกระเบียบว่าหากเคยได้รับการจัดสรรที่ดินจากรัฐไปแล้ว เมื่อขายไป จะไม่มีการจัดสรรให้อีกไม่ว่าจะบุกรุกเข้าทำกินในพื้นที่ของรัฐประเภทใดๆ ก็ตาม | ||
(5) รัฐต้องติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเคร่งครัด หากไม่มีการทำประโยชน์ให้ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อให้ผู้อื่นแทน | (5) รัฐต้องติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเคร่งครัด หากไม่มีการทำประโยชน์ให้ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อให้ผู้อื่นแทน | ||
บรรทัดที่ 57: | บรรทัดที่ 65: | ||
(7) ก่อนมีการจัดตั้งธนาคารที่ดิน รัฐควรกำหนดแนวทางซื้อที่ดินในโครงการที่จัดให้ประชาชน ถ้าหากผู้ครอบครองรายเดิมต้องการขายแล้วนำมาแบ่งเป็นแปลง ให้เล็กลงจัดให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าทำกิน | (7) ก่อนมีการจัดตั้งธนาคารที่ดิน รัฐควรกำหนดแนวทางซื้อที่ดินในโครงการที่จัดให้ประชาชน ถ้าหากผู้ครอบครองรายเดิมต้องการขายแล้วนำมาแบ่งเป็นแปลง ให้เล็กลงจัดให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าทำกิน | ||
(8) หากกรณีที่ไม่สามารถเลี่ยงการนำที่ดินของรัฐมาจัดให้กับราษฎร ควรมีการออกเอกสารสิทธิ์ในรูปแบบโฉนดชุมชนเพื่อป้องกันการขายที่ดินของรัฐ | (8) หากกรณีที่ไม่สามารถเลี่ยงการนำที่ดินของรัฐมาจัดให้กับราษฎร ควรมีการออกเอกสารสิทธิ์ในรูปแบบโฉนดชุมชนเพื่อป้องกันการขายที่ดินของรัฐ | ||
ดังนั้น จะเห็นได้ว่า แนวทางสำหรับการขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำข้างต้นถือเป็นแนวทางในลำดับต้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานของการดำรงชีวิตของประชาชน | |||
อย่างไรก็ตาม ด้วยความปรารถนาของรัฐบาลในการกำจัดความเหลื่อมล้ำให้หมดไปจากสังคมไทยนั้นดังจะเห็นได้จากกระแส[[การปฏิรูปการเมือง]]ของ[[สภาปฏิรูปแห่งชาติ|สภาปฏิรูปแห่งชาติ]]ที่มุ่งแก้ไขสภาพปัญหาของสังคมในทุกมิติและการฟื้นฟูทุนกองยุติธรรมขึ้นมาเพื่ออำนวยความเป็นธรรมให้กับประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน | |||
อย่างไรก็ตาม | |||
== บรรณานุกรม == | == บรรณานุกรม == | ||
“กระทรวงยุติธรรม ผนึกกำลัง กระทรวงมหาดไทย มุ่งขับเคลื่อนงานกองทุนยุติธรรมสู่ระดับจังหวัด เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม.” (7 พฤษภาคม 2558). เข้าถึงจาก<http://www.moj.go.th/th/2013-03-07-04-34-36/2013-03-07-06-48-34/2013-03-07-06-56-55?view=item&id=34859>. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558. | “กระทรวงยุติธรรม ผนึกกำลัง กระทรวงมหาดไทย มุ่งขับเคลื่อนงานกองทุนยุติธรรมสู่ระดับจังหวัด เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม.” (7 พฤษภาคม 2558). เข้าถึงจาก<[http://www.moj.go.th/th/2013-03-07-04-34-36/2013-03-07-06-48-34/2013-03-07-06-56-55?view=item&id=34859 http://www.moj.go.th/th/2013-03-07-04-34-36/2013-03-07-06-48-34/2013-03-07-06-56-55?view=item&id=34859]>. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558. | ||
“จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ.” คมชัดลึก. (28 ธันวาคม 2557), 10. | “จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ.” คมชัดลึก. (28 ธันวาคม 2557), 10. | ||
บรรทัดที่ 74: | บรรทัดที่ 81: | ||
นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ. (2557). รายงานวิจัยโครงการ “ปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม”. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). | นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ. (2557). รายงานวิจัยโครงการ “ปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม”. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). | ||
“บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวยความยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม.” ระหว่างสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม. ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2557. เข้าถึงจาก <http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/MOU/MOU_Justice_2.pdf>. เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2558. | “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวยความยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม.” ระหว่างสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม. ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2557. เข้าถึงจาก <[http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/MOU/MOU_Justice_2.pdf http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/MOU/MOU_Justice_2.pdf]>. เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2558. | ||
สำนึกนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. (2556). “กระทรวงยุติธรรมกับการลดความเหลื่อมล้ำ.” วารสารยุติธรรม. ปีที่ 13, ฉบับที่ 4, 49-51. | สำนึกนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. (2556). “กระทรวงยุติธรรมกับการลดความเหลื่อมล้ำ.” วารสารยุติธรรม. ปีที่ 13, ฉบับที่ 4, 49-51. | ||
[[ | == อ้างอิง == | ||
<references /> | |||
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:01, 12 ธันวาคม 2562
ผู้เรียบเรียง ฐิติกร สังข์แก้ว และดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศาสตราจารย์ นรนิติ เศรษฐบุตร
ความหมาย
พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีแนวนโยบายที่จะให้กระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักของภาครัฐในการร่วมขับเคลื่อนการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมตามแนวทางของรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยในการประชุมเพื่อมอบนโยบายให้กับหัวหน้าส่วนราชการกระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2557 พล.อ.ไพบูลย์ในฐานะประธานที่ประชุมได้มอบหมายให้กระทรวงยุติธรรมโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทำงานประสานบูรณาการกับสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุดและกระทรวงมหาดไทย โดยมีแนวทางที่จะปรับเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนยุติธรรมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมรวมถึงการช่วยเหลือเงินในขั้นตอนการต่อสู้คดีซึ่งหากประชาชนมีโอกาสเข้าถึงกองทุนยุติธรรมมากขึ้นจะเป็นส่วนช่วยในการอำนวยความเป็นธรรมแก่ประชาชนและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อีกทางหนึ่ง
หลักการและสาระสำคัญ
ด้วยนโยบายของรัฐบาลที่จะให้มีการปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมได้ง่าย รวดเร็ว รวมถึงคุ้มครองช่วยเหลือผู้ยากจนและผู้ด้อยโอกาส คุ้มครองผู้ถูกล่วงละเมิดสิทธิและเสรีภาพ และเยียวยาผู้บริสุทธิ์หรือได้รับผลกระทบจากความไม่เป็นธรรม จึงได้มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวยความยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ระหว่าง 4 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม[1] เพื่อให้หน่วยงานเหล่านี้ทำงานร่วมกันอย่างบูรณาการ โดยอาศัยกลไกขับเคลื่อนที่แต่ละหน่วยงานมีอยู่ ทำงานประสานกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการอำนวยความสะดวกและความเป็นธรรมแก่ประชาชน
เดิมทีนั้นกระทรวงยุติธรรมมี “กองทุนยุติธรรม” เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้ที่มีคดีความ ทั้งในเรื่องค่าทนายความ ค่าประกันตัว ค่าธรรมเนียมศาล และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่งกองทุนฯ จัดตั้งขึ้นตั้งปี พ.ศ.2549 โดยอยู่ในความรับผิดชอบของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ทว่าที่ผ่านมานั้นต้องประสบปัญหากับข้อจำกัดเรื่องเงินกองทุนที่จะนำมาช่วยเหลือและประชาชนยังเข้าไม่ถึง ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากอัตรากำลังคนของกรมคุ้มครองสิทธิฯ เองที่มีเจ้าหน้าที่อยู่เพียง 200 กว่าคน ทำให้หน่วยงานยุติธรรมจังหวัดเข้าไม่ถึงประชาชนในแต่ละอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน [2] เป็นผลให้กองทุนยุติธรรมประสบกับปัญหาในเรื่องของการให้บริการช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ทันท่วงทีและติดขัดในด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอ
แนวทางการบูรณาการที่ทาง พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้มอบนโยบายไว้โดยให้ทางกระทรวงยุติธรรมซึ่งมีกองทุนยุติธรรมอยู่แล้ว แต่ยังขาดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน จึงให้ทางสำนักงานยุติธรรมจังหวัดประสานการปฏิบัติงานร่วมกับกระทรวงมหาดไทยที่มี “ศูนย์ดำรงธรรม” อยู่ทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ เป็นช่องทางในการรับเรื่องหรือคำร้องของประชาชน[3] อีกทั้งยังสามารถกระจายการรับรู้ไปสู่ประชาชนได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น ซึ่งที่ผ่านมาประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่รู้ว่าตนเองมีสิทธิ์ที่สามารถขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรมได้ ทำให้การช่วยเหลือยังคงกระจุกตัวอยู่ในส่วนกลาง [4]
ในส่วนของงบประมาณของกองทุนยุติธรรมทาง พล.อ.ไพบูลย์มีแนวทางที่จะให้เพิ่มในส่วนเงินงบประมาณของกองทุนฯ ให้ดำเนินไปพร้อมกับการขยายความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ครอบคลุมทั่วถึงมากยิ่งขึ้น โดยยึดถือในเรื่องของการอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนเป็นสำคัญ ดังที่ พล.อ.ไพบูลย์ได้ให้สัมภาษณ์พิเศษกับผู้สื่อข่าวเครือเนชั่นถึงเรื่องนี้ไว้ว่า
-
-
-
- ยอมรับว่ารัฐอาจมีรายจ่ายเพิ่มขึ้น แต่เป็นรายจ่ายที่รัฐจำเป็นต้องเข้าไปช่วยเหลือ ผมมองว่าเงิน 500-600 ล้านบาท หรืออาจต้องเพิ่มเป็น 1,000 ล้าน สำหรับประชาชนไม่เยอะ เมื่อเทียบกับการที่ประชาชนมีโอกาสที่จะเข้าไปต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรม เราไม่ได้มองว่าเขาถูกหรือผิด แต่เป็นการช่วยให้เขาเข้าถึงโอกาส ไม่ใช่ต้องเข้าไปติดคุกเพราะไม่มีโอกาสได้ต่อสู้หรือเพราะเขากลัวความล่าช้า หรือไม่มีเงิน หรืออยู่ห่างไกลจากศูนย์ความช่วยเหลือในส่วนกลาง ความเหลื่อมล้ำเหล่านี้ควรหมดไป ไม่ต้องห่วงเรื่องงบประมาณ ผมห่วงอย่างเดียวว่าประชาชนรู้หรือไม่ว่ามีความช่วยเหลือจากรัฐในเรื่องนี้ [5]
-
-
ดังนั้นแล้ว หากการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐตามที่กล่าวข้างต้นสามารถปรับเพิ่มประสิทธิภาพในการอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนได้ตามแนวทางของรัฐบาลและที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้มอบนโยบายไว้ ก็จะเป็นส่วนช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมในเชิงโครงสร้าง อันเป็นไปตามแนวคิดในเรื่องหลักนิติธรรม (Rule of Law) และแนวคิดในเรื่องความเท่าเทียมของโอกาส (Equality of Opportunity)[6] ซึ่งจะทำให้ประชาชนโดยเฉพาะผู้ยากจนและผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมได้มากขึ้น และยังมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมในมิติต่างๆกล่าวคือ ความเหลื่อมล้ำในด้านความมั่นคงและรายได้ (Wealth & Income Inequality) ซึ่งเกิดจากการพัฒนาที่ไม่สมดุลทั้งในเชิงพื้นที่และกลุ่มบุคคล ความเหลื่อมล้ำในด้านการกระจายโอกาส (Opportunity Inequality) ทั้งในการเข้าถึงบริการสาธารณะและโอกาสทางสังคม และในแง่ความเหลื่อมล้ำด้านอำนาจ (Power Inequality) ทั้งเชิงสิทธิทางการเมือง การเข้าถึงทรัพยากร การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะทั้งในระดับชาติหรือท้องถิ่น รวมไปถึงการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีอำนาจน้อยในสังคม
นัยยะสำคัญต่อสังคมไทย
ดังจะเห็นว่าแนวทางยุติธรรมเหลื่อมล้ำโดยความพยายามฟื้นฟูกองทุนยุติธรรมขึ้นมาอีกคราวนั้นได้สะท้อนสภาพปัญหาประการสำคัญประการหนึ่งคือสังคมไทยยังมีความเหลื่อมล้ำอยู่ในระดับสูง ในทิศทางตรงกันข้าม นั่นหมายความว่าหากระดับของความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยลดลงหรือมีช่องว่างในการจัดเก็บภาษีที่ดินในอัตราก้าวหน้าและภาษีมรดก ฯลฯ ระดับต่ำความจำเป็นของกองทุนยุติธรรมก็อาจจะมีความจำเป็นลดน้อยลง
จากแนวทางการสร้างกระบวนการสำหรับการกระจายความเป็นธรรมและการลดการเหลื่อมล้ำของรัฐบาลโดยมีกระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าภาพใหญ่ในการบูรณาการหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหา นัยยะที่สำคัญประการสำคัญประการหนึ่งคือความพยายามในการปฏิรูปสังคมทั้งระบบเพื่อขจัดปัญหาโครงสร้างความเหลื่อมล้ำในทุกมิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเศรษฐกิจซึ่งถือว่าเป็นรากฐานสำคัญของปัญหาการเมืองไทยและเป็นชนวนเหตุที่นำไปสู่ความเหลื่อมล้ำในมิติอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงประเด็นความเหลื่อมล้ำในเชิงโครงสร้างที่ว่านั้นแล้วพบว่าปัญหาพื้นฐานของสังคมไทยปัญหาด้านการกระจุกตัวของการถือครองที่ดิน กล่าวคือ มีการศึกษาข้อเท็จจริงของสถานการณ์การถือครองที่ดินในปัจจุบัน (ทศวรรษ 2550) พบว่า ประเทศไทยในปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 320.70 ล้านไร่ โดยสามารถจำแนกออกเป็นที่ดินในความดูแลของกรมที่ดิน จำนวน 130.74 ล้านไร่ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จำนวน 34.76 ล้านไร่ ป่าสงวนแห่งชาติโดยกรมป่าไม้ จำนวน 144.54 ล้านไร่ และที่ดินราชพัสดุโดยกรมธนารักษ์ จำนวน 9.78 ล้านไร่ โดยพบว่าในปี พ.ศ.2555 พบว่าผู้ถือครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินทั้งหมด 15,900,047 ราย โดยแบ่งเป็นประเภทบุคคล จำนวน 15,678,551 ราย และประเภทนิติบุคคลธรรมดา จำนวน 212,496 ราย (คิดเป็นที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินทั้งหมดประมาณ 95 ล้านไร่) [7]
ดังนั้น จะเห็นว่าจากข้อมูลข้างต้น ได้สะท้อนให้เห็นถึงความไม่เสมอภาคในการถือครองที่ดินที่มีเอกสารสิทธิประเภทโฉนด กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มีการกระจุกตัวของการถือครองที่ดินในประเทศไทยสูงมากซึ่งการถือครองที่ดินอยู่ในกลุ่มคนจำนวนน้อย เมื่อพิจารณาแยกภูมิภาค พบว่า ภาคกลางเป็นภาคที่มีความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดินมากที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคที่มีความไม่เท่าเทียมกันในการถือครองที่ดินน้อยที่สุด อย่างไรก็ดี ตัวบ่งชี้สำคัญถึงสภาพปัญหาดังกล่าวดังจะเห็นได้จากการไร้ที่ทำกินและที่อยู่อาศัยของคนเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม เมื่อทบทวนแนวทางสำหรับการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำข้างต้นพบว่ามีข้อเสนอแนะของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย [8] ดังนี้
(1) การกำหนดนโยบายจัดที่ดินทำกินให้แก่ผู้ด้อยโอกาสจะต้องพิจารณาร่วมไปกับยุทธศาสตร์ที่ดินด้านอื่นๆ ด้วย รวม 4 ยุทธศาสตร์ คือ
-
-
-
- 1). ด้านการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน
- 2). ด้านการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นธรรม
- 3). ด้านการจัดที่ดินให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส และ
- 4). ด้านการบริหารจัดการที่ดิน
-
-
(2) พื้นที่สงวนหวงห้ามอื่นๆ รัฐควรเก็บรักษาดังเช่นกรณีของพื้นที่ป่าที่ไม่ควรจัดให้กับประชาชน สำหรับแนวทางสำหรับช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสคือการจัดตั้งธนาคารที่ดินขึ้นเพื่อทำหน้าที่จัดหาที่ดินที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกร
(3) เร่งรัดการสิ้นสภาพนิคมสร้างตนเองและสหกรณ์นิคมที่กำหนดไว้ในแผนแม่บท
(4) ควรจัดทำระบบข้อมูลผู้ที่เคยได้รับการจัดสรรที่ดินของรัฐจากทุกหน่วยงาน และออกระเบียบว่าหากเคยได้รับการจัดสรรที่ดินจากรัฐไปแล้ว เมื่อขายไป จะไม่มีการจัดสรรให้อีกไม่ว่าจะบุกรุกเข้าทำกินในพื้นที่ของรัฐประเภทใดๆ ก็ตาม
(5) รัฐต้องติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเคร่งครัด หากไม่มีการทำประโยชน์ให้ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อให้ผู้อื่นแทน
(6) ควรมีการศึกษาการเก็บภาษีการซื้อขายที่ดินของรัฐที่จัดให้กับประชาชนในอัตราที่สูงกว่าปกติ ถ้ามีการขายออกไป
(7) ก่อนมีการจัดตั้งธนาคารที่ดิน รัฐควรกำหนดแนวทางซื้อที่ดินในโครงการที่จัดให้ประชาชน ถ้าหากผู้ครอบครองรายเดิมต้องการขายแล้วนำมาแบ่งเป็นแปลง ให้เล็กลงจัดให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าทำกิน
(8) หากกรณีที่ไม่สามารถเลี่ยงการนำที่ดินของรัฐมาจัดให้กับราษฎร ควรมีการออกเอกสารสิทธิ์ในรูปแบบโฉนดชุมชนเพื่อป้องกันการขายที่ดินของรัฐ
ดังนั้น จะเห็นได้ว่า แนวทางสำหรับการขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำข้างต้นถือเป็นแนวทางในลำดับต้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานของการดำรงชีวิตของประชาชน
อย่างไรก็ตาม ด้วยความปรารถนาของรัฐบาลในการกำจัดความเหลื่อมล้ำให้หมดไปจากสังคมไทยนั้นดังจะเห็นได้จากกระแสการปฏิรูปการเมืองของสภาปฏิรูปแห่งชาติที่มุ่งแก้ไขสภาพปัญหาของสังคมในทุกมิติและการฟื้นฟูทุนกองยุติธรรมขึ้นมาเพื่ออำนวยความเป็นธรรมให้กับประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน
บรรณานุกรม
“กระทรวงยุติธรรม ผนึกกำลัง กระทรวงมหาดไทย มุ่งขับเคลื่อนงานกองทุนยุติธรรมสู่ระดับจังหวัด เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม.” (7 พฤษภาคม 2558). เข้าถึงจาก<http://www.moj.go.th/th/2013-03-07-04-34-36/2013-03-07-06-48-34/2013-03-07-06-56-55?view=item&id=34859>. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558.
“จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ.” คมชัดลึก. (28 ธันวาคม 2557), 10.
ดวงมณี เสาวกุล. (2557). “การกระจุกตัวของความมั่งคั่งในสังคมไทย.” ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (บรรณาธิการ). สู่สังคมไทยเสมอหน้า. กรุงเทพฯ: มติชน, หน้า 37-59.
นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ. (2557). รายงานวิจัยโครงการ “ปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม”. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI).
“บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวยความยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม.” ระหว่างสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม. ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2557. เข้าถึงจาก <http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/MOU/MOU_Justice_2.pdf>. เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2558.
สำนึกนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. (2556). “กระทรวงยุติธรรมกับการลดความเหลื่อมล้ำ.” วารสารยุติธรรม. ปีที่ 13, ฉบับที่ 4, 49-51.
อ้างอิง
- ↑ “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยการอำนวยความยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม,”ระหว่างสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม, ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2557. เข้าถึงจาก <http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/MOU/MOU_Justice_2.pdf>. เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2558.
- ↑ “จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ,” คมชัดลึก, (28 ธันวาคม 2557), 10.
- ↑ “กระทรวงยุติธรรม ผนึกกำลัง กระทรวงมหาดไทย มุ่งขับเคลื่อนงานกองทุนยุติธรรมสู่ระดับจังหวัด เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม,” (7 พฤษภาคม 2558). เข้าถึงจาก <http://www.moj.go.th/th/2013-03-07-04-34-36/2013-03-07-06-48-34/2013-03-07-06-56-55?view=item&id=34859>. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558.
- ↑ “จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ,” คมชัดลึก, (28 ธันวาคม 2557), 10.
- ↑ “จัดกระบวนความคิด พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา ปัดฝุ่นกองทุนยุติธรรม แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ,” คมชัดลึก, (28 ธันวาคม 2557), 10.
- ↑ สำนึกนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม, “กระทรวงยุติธรรมกับการลดความเหลื่อมล้ำ,” วารสารยุติธรรม, ปีที่ 13, ฉบับที่ 4 (2556), 49-51.
- ↑ ดวงมณี เสาวกุล, “การกระจุกตัวของความมั่งคั่งในสังคมไทย,” ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร, (บรรณาธิการ), สู่สังคมไทยเสมอหน้า (กรุงเทพฯ: มติชน, 2557), หน้า 37-59.
- ↑ โปรดดูรายละเอียดใน นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ, รายงานวิจัยโครงการ “ปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม” (กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI), 2557).