ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเคลื่อนไหวของสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' วีระศักดิ์ กีรติวรนันท์ ---- '''ผู้ท...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
== การเคลื่อนไหวของสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) ==
== การเคลื่อนไหวของสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) ==


ภายหลังเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519 ได้ยุติการเคลื่อนไหวทางการเมืองของของขบวนการนักศึกษาไทยลงอย่างสิ้นเชิง ยกเว้นการเคลื่อนไหวใต้ดิน ต่อมาในช่วงต้นปี พ.ศ.2521 รัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ได้ดำเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเมือง มีประกาศให้กลับมามีกิจกรรมระดับคณะกับชมรมและมีองค์การนักศึกษาได้ ในวันที่ 18 กันยายน 2521 สโมสรนักศึกษาธรรมศาสตร์ ร่วมกับสโมสรนักศึกษาอีก 8 แห่ง จัดงานรับขวัญผู้บริสุทธิ์ 6 ตุลาคม 2519 จำนวน 19 คน ที่ได้รับการปล่อยตัวเนื่องจากรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ได้ออก พ.ร.บ.นิรโทษกรรมคดี 6 ตุลาคม 2519 เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2521
ภายหลัง[[เหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519]] ได้ยุติ[[การเคลื่อนไหวทางการเมือง]]ของของ[[ขบวนการนักศึกษาไทย]]ลงอย่างสิ้นเชิง ยกเว้นการเคลื่อนไหวใต้ดิน ต่อมาในช่วงต้นปี พ.ศ.2521 [[รัฐบาล]][[เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์|พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์]] ได้ดำเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเมือง มีประกาศให้กลับมามีกิจกรรมระดับคณะกับชมรมและมีองค์การนักศึกษาได้ ในวันที่ 18 กันยายน 2521 สโมสรนักศึกษาธรรมศาสตร์ ร่วมกับสโมสรนักศึกษาอีก 8 แห่ง จัดงานรับขวัญผู้บริสุทธิ์ 6 ตุลาคม 2519 จำนวน 19 คน ที่ได้รับการปล่อยตัวเนื่องจากรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ได้ออก พ.ร.บ.นิรโทษกรรมคดี 6 ตุลาคม 2519 เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2521


หลังจากนั้นกลุ่มตัวแทนนักศึกษาเพิ่มจำนวนเป็น 12-18 สถาบัน ได้เคลื่อนไหวในกรณีช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม (2521), จัดโครงการให้กำลังใจผู้สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้ (2522),  กรณีญวนอพยพ (2522), กรณีประท้วงการขึ้นราคาน้ำมัน (2522-23), กรณีการขึ้นราคาน้ำตาลทราย (2523), กรณีคัดค้านการขึ้นค่าโดยสารรถเมล์ (2525), คัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ (2526), รณรงค์ให้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง (2526), ติดตามการประท้วงของหาบเร่ แผงลอย (2526), จึงได้ร่วมกันก่อตั้ง สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) ขึ้นใน พ.ศ.2527
หลังจากนั้นกลุ่มตัวแทนนักศึกษาเพิ่มจำนวนเป็น 12-18 สถาบัน ได้เคลื่อนไหวในกรณีช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม (2521), จัดโครงการให้กำลังใจผู้สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้ (2522),  กรณีญวนอพยพ (2522), กรณีประท้วงการขึ้นราคาน้ำมัน (2522-23), กรณีการขึ้นราคาน้ำตาลทราย (2523), กรณีคัดค้านการขึ้นค่าโดยสารรถเมล์ (2525), คัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ (2526), รณรงค์ให้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง (2526), ติดตามการประท้วงของหาบเร่ แผงลอย (2526), จึงได้ร่วมกันก่อตั้ง สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) ขึ้นใน พ.ศ.2527


บทบาททางการเมืองของ สนนท. ในช่วงปลายทศวรรษ 2520 –ต้นทศวรรษ 2530 คือการรณรงค์ให้ระบอบประชิปไตยครึ่งใบมีความเป็นประชาธิปไตยเต็มใบคือ การลดบทบาทของผู้นำทหารออกจากการเมืองพลเรือน ทั้งนี้โดยผ่านการรณรงค์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ “นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง”, “ประธานรัฐสภา ต้องเป็นประธาน ส.ส.” ในช่วงที่ประเทศไทยยังมีนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่ได้รับการสนับสนุนทั้งจากกองทัพกับรัฐสภา, มีประธานรัฐสภามาจากประธานวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งของนายกรัฐมนตรี (ที่ไม่ได้มาจาการเลือกตั้ง), และมีรัฐสภาอันมีที่มาจากการเลือกตั้งคือสภาผู้แทนราษฎร และมีที่มาจาการแต่งตั้ง (ของนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจาการเลือกตั้ง) คือวุฒิสภา ซึ่งกล่าวโดยสรุปได้ว่า สนนท. ได้ร่วมรณรงค์อย่างสันติให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยจากยุคปลายรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (2523-2531) เข้าสู่ยุครัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (2531-2534) โดยลดบทบาททางการเมืองของผู้นำทหารออกจากคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา        
บทบาททางการเมืองของ สนนท. ในช่วงปลายทศวรรษ 2520 –ต้นทศวรรษ 2530 คือการรณรงค์ให้ระบอบ[[ประธิปไตยครึ่งใบ]]มีความเป็น[[ประชาธิปไตยเต็มใบ]]คือ การลดบทบาทของผู้นำทหารออกจากการเมืองพลเรือน ทั้งนี้โดยผ่านการรณรงค์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ “นายกฯ ต้องมาจาก[[การเลือกตั้ง]]”, “[[ประธานรัฐสภา]] ต้องเป็นประธาน ส.ส.” ในช่วงที่ประเทศไทยยังมี[[นายกรัฐมนตรี]]ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่ได้รับการสนับสนุนทั้งจากกองทัพกับ[[รัฐสภา]], มี[[ประธานรัฐสภา]]มาจาก[[ประธานวุฒิสภา]]ที่มาจากการแต่งตั้งของนายกรัฐมนตรี (ที่ไม่ได้มาจาการเลือกตั้ง), และมีรัฐสภาอันมีที่มาจากการเลือกตั้งคือ[[สภาผู้แทนราษฎร]] และมีที่มาจาการแต่งตั้ง (ของนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจาการเลือกตั้ง) คือ[[วุฒิสภา]] ซึ่งกล่าวโดยสรุปได้ว่า สนนท. ได้ร่วมรณรงค์อย่างสันติให้เกิด[[การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง]]ของไทยจากยุคปลายรัฐบาล[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] (2523-2531) เข้าสู่ยุครัฐบาล[[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ]] (2531-2534) โดยลดบทบาททางการเมืองของผู้นำทหารออกจาก[[คณะรัฐมนตรี]]และรัฐสภา        


ในช่วงต้นทศวรรษ 2530 เป็นยุคที่การเมืองไทยเป็นของพลเรือนมากยิ่งขึ้น ได้เกิดปัญหาทางการเมืองขึ้น 2 ประการคือ ประการแรกคือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ได้ทำให้ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติคือ ที่ดิน แหล่งน้ำ จากชาวบ้านไปสู่เอกชนรุนแรงยิ่งขึ้น และทำให้บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านพัฒนาชนบทมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับประเด็นปัญหาในสังคมอื่นๆ เช่น การเจรจาปัญหาแรงงาน ปัญหาของชุมชนเมือง การรักษาสิ่งแวดล้อม ความเสมอภาคทางเพศ ฯลฯ ซึ่งก่อรูปการเมืองภาคประชาชนในประเด็นปัญหาใหม่ๆ ขึ้นมา
ในช่วงต้นทศวรรษ 2530 เป็นยุคที่การเมืองไทยเป็นของพลเรือนมากยิ่งขึ้น ได้เกิดปัญหาทางการเมืองขึ้น 2 ประการคือ ประการแรกคือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ได้ทำให้ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติคือ ที่ดิน แหล่งน้ำ จากชาวบ้านไปสู่เอกชนรุนแรงยิ่งขึ้น และทำให้บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านพัฒนาชนบทมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับประเด็นปัญหาในสังคมอื่นๆ เช่น การเจรจาปัญหาแรงงาน ปัญหาของชุมชนเมือง การรักษาสิ่งแวดล้อม ความเสมอภาคทางเพศ ฯลฯ ซึ่งก่อรูป[[การเมืองภาคประชาชน]]ในประเด็นปัญหาใหม่ๆ ขึ้นมา


ประการที่สอง ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลคือ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ กับผู้นำกองทัพคือ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และต่อมาคือพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งในที่สุดนำไปสู่การรัฐประหาร พ.ศ.2534 โดยคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ส่งผลให้ สนนท. ในสมัยที่มี นายปริญญา เทวานฤมิตรกุล เป็นเลขาธิการ ได้เคลื่อนไหวต่อต้านคณะ รสช. ร่วมกับคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) และต่อมาได้ร่วมกับสมาพันธ์ประชาธิปไตย ที่พลตรีจำลอง ศรีเมือง ตั้งขึ้นมา จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535  
ประการที่สอง ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลคือ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ กับผู้นำกองทัพคือ [[ชวลิต ยงใจยุทธ|พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ]] และต่อมาคือ[[สุจินดา คราประยูร|พลเอกสุจินดา คราประยูร]] ซึ่งในที่สุดนำไปสู่การรัฐประหาร พ.ศ.2534 โดย[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) ส่งผลให้ สนนท. ในสมัยที่มี นายปริญญา เทวานฤมิตรกุล เป็นเลขาธิการ ได้เคลื่อนไหวต่อต้านคณะ รสช. ร่วมกับ[[คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย]] (ครป.) และต่อมาได้ร่วมกับ[[สมาพันธ์ประชาธิปไตย]] ที่[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรีจำลอง ศรีเมือง]] ตั้งขึ้นมา จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535  


บทบาททางการเมืองของ สนนท. ภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ในช่วงปลายทศวรรษ 2530 – ต้นทศวรรษ 2540 คือ การสนับสนุนการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิในประเด็นปัญหาต่างๆ ของขบวนการประชาชนชาวบ้านที่เข้ามาเรียกร้องต่อรัฐบาลอย่างต่อเนื่องเช่น สมัชชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน สมัชชาคนจน ฯลฯ หรือ สนนท. ยังคงแสดงบทบาทการเมืองระดับชาติอยู่ต่อไป แต่ให้ความสำคัญกับประเด็นปัญหาของการเมืองภาคประชาชนรากหญ้า
บทบาททางการเมืองของ สนนท. ภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ในช่วงปลายทศวรรษ 2530 – ต้นทศวรรษ 2540 คือ การสนับสนุนการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิในประเด็นปัญหาต่างๆ ของขบวนการประชาชนชาวบ้านที่เข้ามาเรียกร้องต่อรัฐบาลอย่างต่อเนื่องเช่น สมัชชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน [[สมัชชาคนจน]] ฯลฯ หรือ สนนท. ยังคงแสดงบทบาทการเมืองระดับชาติอยู่ต่อไป แต่ให้ความสำคัญกับประเด็นปัญหาของการเมืองภาคประชาชนรากหญ้า


อย่างไรก็ตาม บทบาทด้านการเมืองระดับชาติในประเด็นปัญหาประชาธิปไตยของ สนนท. ได้กลับมาอีกครั้งในช่วงปลายทศวรรษ 2540 - ต้นทศวรรษ 2550 โดยใน พ.ศ.2549 นางสาวกชวรรณ ชัยบุตร เลขาธิการ สนนท. ได้เข้าร่วมเคลื่อนไหวเพื่อขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (2544-2549) กับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งที่ร่วมเรียกร้องให้ล้มรัฐบาลทักษิณด้วยการถวายคืนพระราชอำนาจ ตามมาตรา 7 ซึ่งเป็นกรณีที่นายพงษ์สุวรรณ สิทธิเสนา เลขาธิการ สนนท. 2550 ปฏิเสธไม่เห็นด้วย         
อย่างไรก็ตาม บทบาทด้านการเมืองระดับชาติในประเด็นปัญหาประชาธิปไตยของ สนนท. ได้กลับมาอีกครั้งในช่วงปลายทศวรรษ 2540 - ต้นทศวรรษ 2550 โดยใน พ.ศ.2549 นางสาวกชวรรณ ชัยบุตร เลขาธิการ สนนท. ได้เข้าร่วมเคลื่อนไหวเพื่อขับไล่ [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] นายกรัฐมนตรี (2544-2549) กับกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] (พธม.) ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งที่ร่วมเรียกร้องให้ล้มรัฐบาลทักษิณด้วยการ[[ถวายคืนพระราชอำนาจ]] ตามมาตรา 7 ซึ่งเป็นกรณีที่นายพงษ์สุวรรณ สิทธิเสนา เลขาธิการ สนนท. 2550 ปฏิเสธไม่เห็นด้วย         


==ที่มา==
==ที่มา==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:29, 3 มิถุนายน 2554

ผู้เรียบเรียง วีระศักดิ์ กีรติวรนันท์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


การเคลื่อนไหวของสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.)

ภายหลังเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519 ได้ยุติการเคลื่อนไหวทางการเมืองของของขบวนการนักศึกษาไทยลงอย่างสิ้นเชิง ยกเว้นการเคลื่อนไหวใต้ดิน ต่อมาในช่วงต้นปี พ.ศ.2521 รัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ได้ดำเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเมือง มีประกาศให้กลับมามีกิจกรรมระดับคณะกับชมรมและมีองค์การนักศึกษาได้ ในวันที่ 18 กันยายน 2521 สโมสรนักศึกษาธรรมศาสตร์ ร่วมกับสโมสรนักศึกษาอีก 8 แห่ง จัดงานรับขวัญผู้บริสุทธิ์ 6 ตุลาคม 2519 จำนวน 19 คน ที่ได้รับการปล่อยตัวเนื่องจากรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ได้ออก พ.ร.บ.นิรโทษกรรมคดี 6 ตุลาคม 2519 เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2521

หลังจากนั้นกลุ่มตัวแทนนักศึกษาเพิ่มจำนวนเป็น 12-18 สถาบัน ได้เคลื่อนไหวในกรณีช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม (2521), จัดโครงการให้กำลังใจผู้สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้ (2522), กรณีญวนอพยพ (2522), กรณีประท้วงการขึ้นราคาน้ำมัน (2522-23), กรณีการขึ้นราคาน้ำตาลทราย (2523), กรณีคัดค้านการขึ้นค่าโดยสารรถเมล์ (2525), คัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ (2526), รณรงค์ให้ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง (2526), ติดตามการประท้วงของหาบเร่ แผงลอย (2526), จึงได้ร่วมกันก่อตั้ง สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) ขึ้นใน พ.ศ.2527

บทบาททางการเมืองของ สนนท. ในช่วงปลายทศวรรษ 2520 –ต้นทศวรรษ 2530 คือการรณรงค์ให้ระบอบประธิปไตยครึ่งใบมีความเป็นประชาธิปไตยเต็มใบคือ การลดบทบาทของผู้นำทหารออกจากการเมืองพลเรือน ทั้งนี้โดยผ่านการรณรงค์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ “นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง”, “ประธานรัฐสภา ต้องเป็นประธาน ส.ส.” ในช่วงที่ประเทศไทยยังมีนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่ได้รับการสนับสนุนทั้งจากกองทัพกับรัฐสภา, มีประธานรัฐสภามาจากประธานวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งของนายกรัฐมนตรี (ที่ไม่ได้มาจาการเลือกตั้ง), และมีรัฐสภาอันมีที่มาจากการเลือกตั้งคือสภาผู้แทนราษฎร และมีที่มาจาการแต่งตั้ง (ของนายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มาจาการเลือกตั้ง) คือวุฒิสภา ซึ่งกล่าวโดยสรุปได้ว่า สนนท. ได้ร่วมรณรงค์อย่างสันติให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยจากยุคปลายรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (2523-2531) เข้าสู่ยุครัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (2531-2534) โดยลดบทบาททางการเมืองของผู้นำทหารออกจากคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา

ในช่วงต้นทศวรรษ 2530 เป็นยุคที่การเมืองไทยเป็นของพลเรือนมากยิ่งขึ้น ได้เกิดปัญหาทางการเมืองขึ้น 2 ประการคือ ประการแรกคือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ได้ทำให้ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติคือ ที่ดิน แหล่งน้ำ จากชาวบ้านไปสู่เอกชนรุนแรงยิ่งขึ้น และทำให้บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านพัฒนาชนบทมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับประเด็นปัญหาในสังคมอื่นๆ เช่น การเจรจาปัญหาแรงงาน ปัญหาของชุมชนเมือง การรักษาสิ่งแวดล้อม ความเสมอภาคทางเพศ ฯลฯ ซึ่งก่อรูปการเมืองภาคประชาชนในประเด็นปัญหาใหม่ๆ ขึ้นมา

ประการที่สอง ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลคือ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ กับผู้นำกองทัพคือ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และต่อมาคือพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งในที่สุดนำไปสู่การรัฐประหาร พ.ศ.2534 โดยคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ส่งผลให้ สนนท. ในสมัยที่มี นายปริญญา เทวานฤมิตรกุล เป็นเลขาธิการ ได้เคลื่อนไหวต่อต้านคณะ รสช. ร่วมกับคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) และต่อมาได้ร่วมกับสมาพันธ์ประชาธิปไตย ที่พลตรีจำลอง ศรีเมือง ตั้งขึ้นมา จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535

บทบาททางการเมืองของ สนนท. ภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ในช่วงปลายทศวรรษ 2530 – ต้นทศวรรษ 2540 คือ การสนับสนุนการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิในประเด็นปัญหาต่างๆ ของขบวนการประชาชนชาวบ้านที่เข้ามาเรียกร้องต่อรัฐบาลอย่างต่อเนื่องเช่น สมัชชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน สมัชชาคนจน ฯลฯ หรือ สนนท. ยังคงแสดงบทบาทการเมืองระดับชาติอยู่ต่อไป แต่ให้ความสำคัญกับประเด็นปัญหาของการเมืองภาคประชาชนรากหญ้า

อย่างไรก็ตาม บทบาทด้านการเมืองระดับชาติในประเด็นปัญหาประชาธิปไตยของ สนนท. ได้กลับมาอีกครั้งในช่วงปลายทศวรรษ 2540 - ต้นทศวรรษ 2550 โดยใน พ.ศ.2549 นางสาวกชวรรณ ชัยบุตร เลขาธิการ สนนท. ได้เข้าร่วมเคลื่อนไหวเพื่อขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (2544-2549) กับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งที่ร่วมเรียกร้องให้ล้มรัฐบาลทักษิณด้วยการถวายคืนพระราชอำนาจ ตามมาตรา 7 ซึ่งเป็นกรณีที่นายพงษ์สุวรรณ สิทธิเสนา เลขาธิการ สนนท. 2550 ปฏิเสธไม่เห็นด้วย

ที่มา

ธำรง ปัทมภาส. ขบวนการนักศึกษาฯ กทม. ต่างคนต่างไปในยุคสมัยปัจจุบัน. ปาจารยสาร ปีที่ 12 ฉบับที่ 5 (กันยายน-ตุลาคม 2528). หน้า 28-34.

สัมภาษณ์บุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์: เลขาธิการ สนนท.ปาจารยสาร ปีที่ 12 ฉบับที่ 5 (กันยายน-ตุลาคม 2528). หน้า 78-85.

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=105637 (สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2552)