ผลต่างระหว่างรุ่นของ "9 ธันวาคม พ.ศ. 2476"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุต...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:


----
----
วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 เป็นวันที่มี[[พระราชกฤษฎีกาตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] ประเภทที่ 2 ขึ้นเป็นครั้งแรกจำนวน 78 คนเท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ที่มีการเลือกตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกโดยวิธีเลือกตั้งทางอ้อม ใน[[วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476]] ทั้งนี้เป็นไปตามบทเฉพาะกาลของ[[รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475]] มาตรา 65 ที่บัญญัติว่า
วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 เป็นวันที่ได้มีการแต่งตั้งสมาชิกสภาประเภทที่ 2 ตาม[[รัฐธรรมนูญ ฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475]] ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย มีจำนวน 78 คน จำนวนนี้เท่ากับสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ที่ได้มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกของประเทศอีกเช่นกัน คือ[[การเลือกตั้ง]]ในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ขณะนั้นประเทศไทยมี[[นายพันเอก พระยาพหลพยุหเสนา]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]


“เมื่อราษฎรผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ตามบทบัญญัติแห่ง[[รัฐธรรมนูญ]]นี้ ยังมีการศึกษาไม่จบประถมศึกษาสามัญมากกว่ากึ่งจำนวนทั้งหมดและอย่างช้าต้องไม่เกินกว่าสิบปี นับแต่วันใช้[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475]] สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภทมีจำนวนเท่ากัน
เมื่อดูจากรายชื่อของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจะปรากฏว่า มีนายทหารอยู่เป็นจำนวนมากกว่า 50 นาย นำโดยนายทหารคนสำคัญ 3 คนที่มีบทบาทในการยึดอำนาจในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คือนายพันเอกพระยาพหลพยุหเสนา [[นายพันโทหลวงพิบูลสงคราม]] และนาย[[นาวาโทหลวงศุภชลาศัย]] แต่นายทหารที่มีบทบาทนำในการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน พ.ศ. 2475]] ที่เรียกกันว่า “[[สี่ทหารเสือ]]” นั้นเหลือเพียง นายพันเอกพระยาพหลฯ เท่านั้น ที่หายไปคือ [[นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช]] [[นายพันเอกพระยาฤทธิ์อัคเนย์]] และ[[นายพันโทพระประศาสน์พิทยายุทธ]] แต่บรรดาผู้ที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ ครั้งนั้นทั้งทหารและพลเรือนก็ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทน]]มากขึ้น


(1) สมาชิกประเภทที่ 1 ได้แก่ผู้ที่ราษฎรเลือกตั้งขึ้นตามเงื่อนไขในบทมาตรา 16, 17
จำนวนบุคคลที่ไม่ได้อยู่ใน[[คณะราษฎร]]เดิมที่เป็นผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นก็ลดจำนวนลงในสัดส่วนดูจะมีจำนวนน้อยกว่าฝ่ายผู้ก่อการ  อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นขุนนางคนสำคัญที่มีความรู้ความสามารถทำงานสำคัญในสมัยก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้รับการแต่งตั้งมาร่วมเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯ ชุดนี้อยู่ประมาณ 20 คน มีทั้งสมาชิกสภาฯ ในชุดแรกที่มีบทบาทสำคัญอย่าง[[พระยามานนาราชเสวี]] [[พระยานิติศาสตร์ไพศาล]] [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]] [[นายนาวาเอกพระเรี่ยมวิรัชชพากย์]] เป็นต้น ส่วนคนหน้าใหม่ที่เข้ามาอย่างเช่น [[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ]] [[พระยาอภิบาลราชไมตรี]] [[นายพันเอกพระเวชยันตรังสฤษดิ์]] และ[[หลวงวิจิตรวาทการ]]
ในจำนวนนี้ นอกจากพระยาพหลพลพยุหเสนาที่เป็นนายกรัฐมนตรีอยู่แล้ว  ยังมีผู้ก่อการฯ ที่ต่อมาได้เป็นหัวหน้า[[รัฐบาล]]หรือนายกรัฐมนตรีอยู่ถึง 5 คน คือ [[หลวงพิบูลสงคราม]] [[หลวงโกวิทอภัยวงศ์]] ([[ควง อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]]) [[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] ([[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]])  และ[[ทวี  บุณยเกตุ|นายทวี  บุณยเกตุ]] และ[[หลวงธำรงค์ นาวาสวัสดิ์]]


(2) สมาชิกประเภทที่ 2 ได้แก่ผู้ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างเวลาที่ใช้บัญญัติเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามพุทธศักราช 2475”
ที่น่าสังเกตก็คือ พลเรือนที่เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนรุ่นแรก คือ [[นายมังกร สามเสน]] และ[[นายมานิต วสุวัต]] ซึ่งถือว่าทำงานด้านหนังสือพิมพ์ก็ไม่ได้รับแต่งตั้ง และที่สำคัญยังไม่มีสตรีได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลย
 
ถ้าดูจากรายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 จำนวน 78 คนนี้เทียบกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกที่เป็นชุดชั่วคราวจะเห็นว่าคนเก่าจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามได้รับการแต่งตั้งกลับเข้ามา และที่น่าสังเกตก็คือคนสำคัญที่มีบทบาทในการยึดอำนาจเมื่อ[[วันเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475]] ไม่ได้รับแต่งตั้งเข้ามา 4 คน โดย 3 คนแรกที่เป็นผู้นำทางทหารในกลุ่ม “[[สี่ทหารเสือ]]” ซึ่งหายไปคือ [[นายพันเอกพระยาทรงสุรเดช]] [[นายพันเอกพระยาฤทธิ์อัคเนย์]] และ[[นายพันโทพระประศาสน์พิทยายุทธ]] ส่วนสายพลเรือนแต่เคยมียศทางทหาร คือ [[นายประยูร ภมรมนตรี]] ซึ่งบุคคลที่หายไปเหล่านี้เป็นกลุ่มที่อยู่ตรงข้ามกับ[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] และ[[หลวงพิบูลสงคราม]]
 
แต่หลวงพิบูลสงคราม [[หลวงประดิษฐมนูธรรม]] และ[[หลวงโกวิทอภัยวงศ์]] ทั้ง 3 คุณหลวงกับสมาชิก[[คณะราษฎร]]หรือกลุ่มผู้ก่อการทั้งทหารและพลเรือนได้รับแต่งตั้งหลายคน อันจะเป็นกำลังที่คอยช่วย[[รัฐบาล]]ของคณะราษฎรต่อไปในช่วงระยะเวลาแรก




[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:14, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 เป็นวันที่ได้มีการแต่งตั้งสมาชิกสภาประเภทที่ 2 ตามรัฐธรรมนูญ ฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย มีจำนวน 78 คน จำนวนนี้เท่ากับสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ที่ได้มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกของประเทศอีกเช่นกัน คือการเลือกตั้งในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ขณะนั้นประเทศไทยมีนายพันเอก พระยาพหลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี

เมื่อดูจากรายชื่อของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจะปรากฏว่า มีนายทหารอยู่เป็นจำนวนมากกว่า 50 นาย นำโดยนายทหารคนสำคัญ 3 คนที่มีบทบาทในการยึดอำนาจในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คือนายพันเอกพระยาพหลพยุหเสนา นายพันโทหลวงพิบูลสงคราม และนายนาวาโทหลวงศุภชลาศัย แต่นายทหารที่มีบทบาทนำในการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ที่เรียกกันว่า “สี่ทหารเสือ” นั้นเหลือเพียง นายพันเอกพระยาพหลฯ เท่านั้น ที่หายไปคือ นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช นายพันเอกพระยาฤทธิ์อัคเนย์ และนายพันโทพระประศาสน์พิทยายุทธ แต่บรรดาผู้ที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ ครั้งนั้นทั้งทหารและพลเรือนก็ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นสมาชิกสภาผู้แทนมากขึ้น

จำนวนบุคคลที่ไม่ได้อยู่ในคณะราษฎรเดิมที่เป็นผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นก็ลดจำนวนลงในสัดส่วนดูจะมีจำนวนน้อยกว่าฝ่ายผู้ก่อการ อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นขุนนางคนสำคัญที่มีความรู้ความสามารถทำงานสำคัญในสมัยก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้รับการแต่งตั้งมาร่วมเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯ ชุดนี้อยู่ประมาณ 20 คน มีทั้งสมาชิกสภาฯ ในชุดแรกที่มีบทบาทสำคัญอย่างพระยามานนาราชเสวี พระยานิติศาสตร์ไพศาล เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี นายนาวาเอกพระเรี่ยมวิรัชชพากย์ เป็นต้น ส่วนคนหน้าใหม่ที่เข้ามาอย่างเช่น เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาอภิบาลราชไมตรี นายพันเอกพระเวชยันตรังสฤษดิ์ และหลวงวิจิตรวาทการ

ในจำนวนนี้ นอกจากพระยาพหลพลพยุหเสนาที่เป็นนายกรัฐมนตรีอยู่แล้ว ยังมีผู้ก่อการฯ ที่ต่อมาได้เป็นหัวหน้ารัฐบาลหรือนายกรัฐมนตรีอยู่ถึง 5 คน คือ หลวงพิบูลสงคราม หลวงโกวิทอภัยวงศ์ (นายควง อภัยวงศ์) หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) และนายทวี บุณยเกตุ และหลวงธำรงค์ นาวาสวัสดิ์

ที่น่าสังเกตก็คือ พลเรือนที่เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนรุ่นแรก คือ นายมังกร สามเสน และนายมานิต วสุวัต ซึ่งถือว่าทำงานด้านหนังสือพิมพ์ก็ไม่ได้รับแต่งตั้ง และที่สำคัญยังไม่มีสตรีได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลย