ผลต่างระหว่างรุ่นของ "IMF กับการเมืองไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' อดิศร หมวกพิมาย ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' อดิศร หมวกพิมาย
 
'''ผู้เรียบเรียง''' อดิศร หมวกพิมาย


----
----
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 8:
----
----


==กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) กับการเมืองไทย==
== กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) กับการเมืองไทย ==
 
           กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund:IMF) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2487 จากการประชุม United Nations Monetary and Financial Conference ณ เมือง เบรตตันวูดส์ มลรัฐนิวแฮมเชียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อจัดระเบียบการเงินระหว่างประเทศหลัง[[สงครามโลกครั้งที่_2|สงครามโลกครั้งที่ 2]] โดยที่ประชุมได้พิจารณาข้อเสนอของนักเศรษฐศาสตร์สำคัญ 2 คน คือ ข้อเสนอของ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์(John Maynard Keynes) ผู้แทนของอังกฤษ และข้อเสนอของ แฮรี่ ไวท์(Harry D. White) ผู้แทนของสหรัฐอเมริกา ในที่ประชุมได้ลงมติให้ดำเนินการตามข้อของไวท์ คือ การจัดตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และจัดตั้งธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ(International Bank for Reconstruction and Development) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ธนาคารโลก([[World_Bank_กับการเมืองไทย|World Bank]])โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และและมีฐานะเป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ
 
           การจัดระเบียบการเงินที่เกิดขึ้นภายใต้ข้อตกลงข้างต้นคือ การเลือกใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตายตัว(Fixed Exchange Rate System) เป็นกรอบการดำเนินงานในช่วงปี 2492-2514 ประเทศสมาชิกของกองทุนการเงินฯ ได้เพิ่มจาก 29 ประเทศเมื่อปี 2488 เป็น 185 ประเทศในปัจจุบัน โดยประเทศสมาชิกล่าสุดคือ ประเทศมอนตินิโกร (Montenegro) ซึ่งเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ เมื่อเดือนมกราคม 2550 ทั้งนี้ ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติก่อน
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ ประเทศสมาชิกจะได้รับจัดสรรจำนวนโควตาในสกุลสิทธิพิเศษถอนเงิน<ref> สิทธิพิเศษถอนเงิน (SDR) เป็น สินทรัพย์สำรองระหว่างประเทศที่สร้างขึ้นโดยกองทุนการเงินฯ เมื่อปี 2512 สำหรับเสริมเงินสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่ในขณะนั้น เพื่อรองรับการขยายตัวทางการค้าและการเงินโลก นอกจากนี้ SDR ยัง ทำหน้าที่เป็นหน่วยบัญชีสำหรับกองทุนการเงินฯ โดยกำหนดมูลค่าเทียบกับกลุ่มเงินตราสกุลหลัก 4 สกุล คือ ดอลลาร์ สรอ. ยูโร เยนญี่ปุ่น และปอนด์สเตอร์ลิง. </ref> (SDR) ตามขนาดของเศรษฐกิจและความสำคัญของประเทศสมาชิกนั้นๆ เทียบกับเศรษฐกิจโลก กองทุนการเงินฯ จะทำการทบทวนโควตาทุก 5 ปี เพื่อปรับปรุงโควตาของแต่ละประเทศให้เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยน แปลงไป รวมทั้งเพื่อเพิ่มทุนดำเนินการของกองทุนการเงินฯ ให้พอเพียงกับความจำเป็น โควตา มีบทบาทสำคัญในการกำหนดสิทธิ และวงเงินกู้ของประเทศสมาชิก กล่าวคือ ประเทศสมาชิกจะได้รับคะแนนเสียงพื้นฐานเท่ากันจำนวน 250 คะแนน และเพิ่มอีกหนึ่งคะแนนเสียงต่อโควตา 100,000 SDR นอก จากนี้ ประเทศสมาชิกสามารถกู้เงินจากกองทุนการเงินฯ ได้ไม่เกินร้อยละ 100 ของจำนวนโควตาต่อปี และรวมกันไม่เกินร้อยละ 300 ของจำนวนโควตา
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 44 ของกองทุนการเงินฯ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2492 โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นตัวแทนของประเทศไทยในกองทุนการเงินฯ ตามพระราชบัญญัติให้อำนาจปฏิบัติการเกี่ยวกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ พ.ศ. 2494 รวมทั้ง ผู้ว่าการและรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่เป็นผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรองใน กองทุนการเงินฯ ตามลำดับ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีโควตาเท่ากับ 1,081.9 ล้าน SDR หรือร้อยละ 0.50 ของจำนวนโควตาทั้งหมด เทียบเท่ากับ 11,069 คะแนนเสียง
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ประเทศไทยสมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และธนาคารโลกในปี 2492 มีผลทำให้องค์กรทั้งสองทำหน้าที่ดูแลให้ประเทศทยปฏิบัติตามข้อกำหนดขององค์กรระหว่างประเทศทั้ง 2 ในกรณีของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รัฐบาลไทยได้ดำเนินการตามพันธะสัญญาของสมาชิก ดังนี้
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.ประกาศปรับค่าเสมอภาคของเงินบาท (par value) เทียบกับเงินสุกลดอลลาร์สหรัฐ ในเวลานั้น เงินดอลลาร์สหรัฐฯกำหนดค่าเสมอภาคเทียบกับทองคำในอัตรา 35 เหรียญต่อทองคำบริสุทธิ์น้ำหนัก 1 ออนซ์ ซึ่งเป็นค่าตายตัว (จนกระทั่งในปี 2514 IMF ประกาศเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนจากระบบค่าเสมอภาค มาเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว(Flexible Exchange RateSystem) ประเทศไทยก็เปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนตามไปด้วยแต่ล่าช้าไปถึงปี 2521)
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;2.ธนาคารแห่งประเทศไทยดำเนินการซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อมิให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวขึ้นลงเกินกว่า 1&nbsp;% ของค่าเสมอภาค
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ซึ่งเท่ากับว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีพันธะในการเข้าไปซื้อขายเงินตราเพื่อรักษษเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยน ภาระดังกล่าวตกเป็นของประเทศสมาชิกซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย อย่างไรก็ตามยังมีการกำหนดหน้าที่ให้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ดังนี้
 
:
::
:::1.กำหนดให้กองทุนการเงินฯ ทำหน้าที่สนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ   
 
:
::
:::2.สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุล   
 
:
::
:::3.เสริมสร้างเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ   
 
:
::
:::4.สนับสนุนการจัดตั้งระบบการชำระเงินระหว่างประเทศ   
 
:
::
:::5.ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงิน   
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;กองทุนการเงินฯ มีบทบาทหลักในการสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน และความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิก เพื่อให้ระบบการเงินระหว่างประเทศมีเสถียรภาพ ซึ่งภาระหน้าที่หลักสำคัญมี 3 ประการ ได้แก่
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.การสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ: กองทุนการเงินฯ ติดตามภาวะเศรษฐกิจการเงินของประเทศสมาชิกอย่างใกล้ชิด และมีการประชุมหารือกับประเทศสมาชิกเป็นประจำ (หรือ Article IV Consultation) ซึ่งโดยทั่วไปจะกำหนดจัดประชุมทุกปี โดยเจ้าหน้าที่กองทุนการเงินฯ จะไปเยือนประเทศสมาชิกเพื่อประเมินภาวะและเสถียรภาพเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก รวมทั้งให้คำแนะนำนโยบาย กองทุนการเงินฯ จะรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อนำมาประเมินภาวะเศรษฐกิจ ระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยจะเผยแพร่ผลการประเมินทุกครึ่งปีในรายงานแนวโน้มเศรษฐกิจโลก (World Economic Outlook) และรายงานเสถียรภาพการเงินโลก (Global Financial Stability Report)
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;2.ความช่วยเหลือทางการเงิน: กองทุนการเงินฯ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงิน เพื่อช่วยฟื้นฟูเสถียรภาพและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจผ่านโครงการเงินกู้ (facilities) ประเภท ต่างๆ ซึ่งประเทศที่ขอความช่วยเหลือจะต้องดำเนินนโยบายหรือมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงินตามที่กำหนดในจดหมายแสดงเจตจำนง (Letter of Intent) เงินทุนของโครงการเงินกู้ของกองทุนการเงินฯ ได้มาจากการชำระเงินค่าโควตาของประเทศสมาชิกเป็นสำคัญ ดังนั้น ความสามารถในการให้กู้ของกองทุนการเงินฯ จึงกำหนดโดยโควตารวมของประเทศสมาชิกเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม กองทุนการเงินฯ สามารถกู้ยืมจากประเทศที่มีฐานะทางการเงินแข็งแกร่งจำนวนหนึ่งภายใต้ความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ (General Arrangements to Borrow - GAB) และความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB)
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;3.ความช่วยเหลือทางวิชาการ: กอง ทุนการเงินฯ ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประเทศ สมาชิกในการกำหนดและ
 
ดำเนินนโยบาย 4ด้านหลัก คือ
 
:
::
:::1) นโยบายการเงินและนโยบายสถาบันการเงิน   
 
:
::
:::2) นโยบายการคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ   
 
:
::
:::3) สถิติข้อมูล   


กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund:IMF) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2487 จากการประชุม United Nations Monetary and Financial Conference  ณ เมือง เบรตตันวูดส์ มลรัฐนิวแฮมเชียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อจัดระเบียบการเงินระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยที่ประชุมได้พิจารณาข้อเสนอของนักเศรษฐศาสตร์สำคัญ 2 คน คือ ข้อเสนอของ จอห์น  เมย์นาร์ด เคนส์(John Maynard Keynes) ผู้แทนของอังกฤษ และข้อเสนอของ แฮรี่ ไวท์(Harry D. White) ผู้แทนของสหรัฐอเมริกา  ในที่ประชุมได้ลงมติให้ดำเนินการตามข้อของไวท์ คือ การจัดตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และจัดตั้งธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ(International Bank for Reconstruction and Development) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ธนาคารโลก(World Bank)โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และและมีฐานะเป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ
:
::
การจัดระเบียบการเงินที่เกิดขึ้นภายใต้ข้อตกลงข้างต้นคือ การเลือกใช้ระบบอัตราแลดกเปลี่ยนแบบตายตัว(Fixed Exchange Rate System) เป็นกรอบการดำเนินงานในช่วงปี 2492-2514ประเทศสมาชิกของกองทุนการเงินฯ ได้เพิ่มจาก 29 ประเทศเมื่อปี 2488 เป็น 185 ประเทศในปัจจุบัน โดยประเทศสมาชิกล่าสุดคือ ประเทศมอนตินิโกร (Montenegro) ซึ่งเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ เมื่อเดือนมกราคม 2550  ทั้งนี้ ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติก่อน
:::4) กฎหมายเศรษฐกิจการเงิน   


เมื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ ประเทศสมาชิกจะได้รับจัดสรรจำนวนโควตาในสกุลสิทธิพิเศษถอนเงิน<ref> สิทธิพิเศษถอนเงิน (SDR) เป็น สินทรัพย์สำรองระหว่างประเทศที่สร้างขึ้นโดยกองทุนการเงินฯ เมื่อปี 2512 สำหรับเสริมเงินสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่ในขณะนั้น เพื่อรองรับการขยายตัวทางการค้าและการเงินโลก นอกจากนี้ SDR ยัง ทำหน้าที่เป็นหน่วยบัญชีสำหรับกองทุนการเงินฯ โดยกำหนดมูลค่าเทียบกับกลุ่มเงินตราสกุลหลัก 4 สกุล คือ ดอลลาร์ สรอ. ยูโร เยนญี่ปุ่น และปอนด์สเตอร์ลิง. </ref> (SDR) ตามขนาดของเศรษฐกิจและความสำคัญของประเทศสมาชิกนั้นๆ เทียบกับเศรษฐกิจโลก  กองทุนการเงินฯ จะทำการทบทวนโควตาทุก 5 ปี เพื่อปรับปรุงโควตาของแต่ละประเทศให้เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยน แปลงไป รวมทั้งเพื่อเพิ่มทุนดำเนินการของกองทุนการเงินฯ ให้พอเพียงกับความจำเป็น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;นอกจากนี้ กองทุนการเงินฯ ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมและสัมมนาสำหรับประเทศสมาชิกที่สถาบันฝึกอบรมของกองทุนการเงินฯ ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี และสถาบันฝึกอบรมในภูมิภาคต่างๆ (ออสเตรเลีย บราซิล สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สิงคโปร์ ตูนิเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรต)
โควตา มีบทบาทสำคัญในการกำหนดสิทธิ และวงเงินกู้ของประเทศสมาชิก กล่าวคือ ประเทศสมาชิกจะได้รับคะแนนเสียงพื้นฐานเท่ากันจำนวน 250 คะแนน และเพิ่มอีกหนึ่งคะแนนเสียงต่อโควตา 100,000 SDR  นอก จากนี้ ประเทศสมาชิกสามารถกู้เงินจากกองทุนการเงินฯ ได้ไม่เกินร้อยละ 100 ของจำนวนโควตาต่อปี และรวมกันไม่เกินร้อยละ 300 ของจำนวนโควตา
ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 44 ของกองทุนการเงินฯ  เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2492  โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นตัวแทนของประเทศไทยในกองทุนการเงินฯ ตามพระราชบัญญัติให้อำนาจปฏิบัติการเกี่ยวกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ พ.ศ. 2494 รวมทั้ง
ผู้ว่าการและรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่เป็นผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรองใน
กองทุนการเงินฯ ตามลำดับ  ปัจจุบัน ประเทศไทยมีโควตาเท่ากับ 1,081.9 ล้าน SDR หรือร้อยละ 0.50 ของจำนวนโควตาทั้งหมด  เทียบเท่ากับ 11,069 คะแนนเสียง
 
ประเทศไทยสมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และธนาคารโลกในปี 2492 มีผลทำให้องค์กรทั้งสองทำหน้าที่ดูแลให้ประเทศทยปฏิบัติตามข้อกำหนดขององค์กรระหว่างประเทศทั้ง 2 ในกรณีของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รัฐบาลไทยได้ดำเนินการตามพันธะสัญญาของสมาชิก ดังนี้


1.ประกาศปรับค่าเสมอภาคของเงินบาท(par value)เทียบกับเงินสุกลดอลลาร์สหรัฐ ในเวลานั้น เงินดอลลาร์สหรัฐฯกำหนดค่าเสมอภาคเทียบกับทองคำในอัตรา 35 เหรียญต่อทองคำบริสุทธิ์น้ำหนัก 1 ออนซ์ ซึ่งเป็นค่าตายตัว (จนกระทั่งในปี 2514 IMF ประกาศเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนจากระบบค่าเสมอภาค มาเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว(Flexible Exchange RateSystem) ประเทศไทยก็เปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนตามไปด้วยแต่ล่าช้าไปถึงปี 2521)
== โครงสร้างองค์กรของกองทุนการเงินระหว่างประเทศประกอบด้วย ==


2.ธนาคารแห่งประเทศไทยดำเนินการซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อมิให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวขึ้นลงเกินกว่า 1 % ของค่าเสมอภาค
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.สภาผู้ว่าการกองทุนการเงินฯ ประกอบด้วยผู้ว่าการจากแต่ละประเทศสมาชิก จะประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้งระหว่างการประชุมประจำปีกองทุนการเงินฯ และธนาคารโลกเพื่อหารือและตัดสินใจนโยบายสำคัญของกองทุนการเงินฯ
ซึ่งเท่ากับว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีพันธะในการเข้าไปวื้อขายเงินตราเพื่อรักษษเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยน ภาระดังกล่าวตกเป็นของประเทศสมาชิกซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย อย่างไรก็ตามยังมีการกำหนดหน้าที่ให้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ดังนี้


:::1.กำหนดให้กองทุนการเงินฯ ทำหน้าที่สนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;2.กรรมการจัดการกองทุนการเงินฯ (International Monetary and Financial Committee&nbsp;:IMFC) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 24 ท่านตามองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ โดย IMFC ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสภาผู้ว่าการ ซึ่งจะพิจารณาและจัดทำข้อเสนอสำหรับประเด็นนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกำกับดูแลระบบการเงินโลก กรรมการจัดการกองทุนการเงินฯ จะทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการบริหาร และผู้บริหารสูงสุดของเจ้าหน้าที่กองทุนการเงินฯ


:::2.สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุล
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;กองทุนการเงินฯ จะประเมินภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยเป็นประจำทุกปีภายใต้พันธะข้อ 4 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ นอกจากนี้ ประเทศไทยได้ดำเนินการตามพันธะข้อ 8 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ โดยยกเลิกการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมการค้า แล้วตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคม 2533 ล่าสุด ประเทศไทยได้เข้าร่วมรับการประเมินเสถียรภาพภาคการเงินภายใต้กรอบ Financial Sector Assessment Program<ref>โครงการ Financial Sector Assessment Program (FSAP) เป็น โครงการร่วมระหว่างกองทุนการเงินฯ และธนาคารโลก เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงินในประเทศสมาชิก การประเมินภายใต้โครงการ FSAP จะเน้นการระบุจุดแข็งและจุดอ่อนในระบบการเงินของประเทศสมาชิกที่เข้าร่วม เพื่อช่วยจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการ ปฏิรูป</ref> (FSAP) เมื่อปี 2550


:::3.เสริมสร้างเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ประเทศไทยเคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนการเงินฯ ภายใต้โครงการเงินกู้ Stand-by<ref>Stand-by เป็นโครงการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงินระยะสั้น  และเป็นโครงการเงินกู้ที่ประเทศสมาชิกเข้าร่วมมากที่สุด โดยมีระยะเวลาการกู้ยืม 12 – 24 เดือน และระยะเวลาชำระคืน 2¼-4  ปี และมีอัตราดอกเบี้ยเพิ่มเติมสำหรับวงเงินกู้ที่สูง</ref>รวม 5 ครั้งในวงเงินรวมทั้งสิ้น 4,431 ล้าน SDR โดยครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2521 จำนวนเงิน 45.25 ล้าน SDR ครั้งที่สองเมื่อเดือนมิถุนายน 2524 จำนวน 814.5 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 345 ล้าน SDR) ครั้งที่สามเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2525 จำนวน 271.5 ล้าน SDR ครั้งที่สี่เมื่อเดือนมิถุนายน 2528 จำนวน 400 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 260 ล้าน SDR) และครั้งล่าสุดเมื่อเดือนสิงหาคม 2540 จำนวน 2,900 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 2,500 ล้าน SDR) ประเทศ ไทยได้ชำระคืนเงินกู้จากกองทุนการเงินฯ เสร็จสิ้นแล้วเมื่อเดือนกรกฎาคม 2546 ซึ่งเป็นการชำระคืนก่อนกำหนดเดิม 2 ปีทำให้ปัจจุบันประเทศไทยไม่มีภาระคงค้างกับกองทุนการเงินฯ ปัจจุบัน ประเทศไทยยังได้ร่วมเป็นภาคีความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB) โดยอาจให้กองทุนการเงินฯ กู้ยืมเงินไม่เกิน 340 ล้าน SDR ในกรณีที่กองทุนการเงินฯ ขาดสภาพคล่อง


:::4.สนับสนุนการจัดตั้งระบบการชำระเงินระหว่างประเทศ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การกู้เงินฉุกเฉินอันเนื่องมากจาก[[การเมืองเรื่องลดค่าเงินบาทสมัยพลเอกเปรม_ติณสูลานนท์|การประกาศลดค่าเงินบาท]]ในช่วงรัฐบาล[[เปรม_ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] และในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ มีผลต่อการเมืองไทยที่แตกต่างกันมาก การลดค่าเงินในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรมเป็นผลมาจากกาปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนแบบค่าเสมอภาคมาเป็นอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวในปี 2521 ตามประกาศของกองทุนการเงินฯในปี 2514 ที่เกี่ยวพันไปถึงปัญหาความตกต่ำของเศรษฐกิจโลกและของสหรัฐอเมริกา แต่ในกรณีการปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวในปี 2540 ของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ส่งผลต่อเสถียรภาพทางการเมืองของ[[รัฐบาล|รัฐบาล]]มากกว่า อันเนื่องการประกาศปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวก่อให้เกิดวิกฤติการณ์เศรษฐกิจไทยครั้งใหญ่ทำให้[[พลเอก_ชวลิต_ยงใจยุทธ|พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ]] ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วน[[ชวน_หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] ในฐานะที่ได้รับการสนับสนุนจาก[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร]] จึงได้รับการเสนอชื่อให้เป็น[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]แทน โดยได้มี[[พระบรมราชโองการ|พระบรมราชโองการ]]โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติเพิ่มเติมเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ 11 ฉบับ ดังนี้


:::5.ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงิน
1. [[พระราชบัญญัติเช่าอสังหาริมทรัพย์การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติเช่าอสังหาริมทรัพย์การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542]]
กองทุนการเงินฯ มีบทบาทหลักในการสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน  และความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิก เพื่อให้ระบบการเงินระหว่างประเทศมีเสถียรภาพ ซึ่งภาระหน้าที่หลักสำคัญมี 3 ประการ ได้แก่
1.การสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ: กองทุนการเงินฯ ติดตามภาวะเศรษฐกิจการเงินของประเทศสมาชิกอย่างใกล้ชิด และมีการประชุมหารือกับประเทศสมาชิกเป็นประจำ (หรือ Article IV Consultation) ซึ่งโดยทั่วไปจะกำหนดจัดประชุมทุกปี  โดยเจ้าหน้าที่กองทุนการเงินฯ จะไปเยือนประเทศสมาชิกเพื่อประเมินภาวะและเสถียรภาพเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก รวมทั้งให้คำแนะนำนโยบาย  กองทุนการเงินฯ จะรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อนำมาประเมินภาวะเศรษฐกิจ ระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยจะเผยแพร่ผลการประเมินทุกครึ่งปีในรายงานแนวโน้มเศรษฐกิจโลก (World Economic Outlook) และรายงานเสถียรภาพการเงินโลก (Global Financial Stability Report)


2.ความช่วยเหลือทางการเงิน: กองทุนการเงินฯ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงิน เพื่อช่วยฟื้นฟูเสถียรภาพและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจผ่านโครงการเงินกู้ (facilities) ประเภท ต่างๆ ซึ่งประเทศที่ขอความช่วยเหลือจะต้องดำเนินนโยบายหรือมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงินตามที่กำหนดในจดหมายแสดงเจตจำนง (Letter of Intent) เงินทุนของโครงการเงินกู้ของกองทุนการเงินฯ ได้มาจากการชำระเงินค่าโควตาของประเทศสมาชิกเป็นสำคัญ ดังนั้น ความสามารถในการให้กู้ของกองทุนการเงินฯ จึงกำหนดโดยโควตารวมของประเทศสมาชิกเป็นหลัก  อย่างไรก็ตาม กองทุนการเงินฯ สามารถกู้ยืมจากประเทศที่มีฐานะทางการเงินแข็งแกร่งจำนวนหนึ่งภายใต้ความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ (General Arrangements to Borrow - GAB) และความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB)
2. [[พระราชบัญญัติอาคารชุด_(ฉบับที่_3)_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542]]
3.ความช่วยเหลือทางวิชาการ: กอง ทุนการเงินฯ ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประเทศ สมาชิกในการกำหนดและ


ดำเนินนโยบาย 4ด้านหลัก คือ
3. [[พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2542]]


:::1) นโยบายการเงินและนโยบายสถาบันการเงิน
4. [[พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542]]


:::2) นโยบายการคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ
5. [[พระราชบัญญัติล้มละลาย_(ฉบับที่_5)_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2542]]


:::3) สถิติข้อมูล
6. [[พระราชบัญญัติการประกอบกิจการธุรกิจของคนต่างด้าว_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติการประกอบกิจการธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542]]


:::4) กฎหมายเศรษฐกิจการเงิน 
7. [[พระราชบัญญัติประกันสังคม_(ฉบับที่_3)_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542]]


นอกจากนี้ กองทุนการเงินฯ ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมและสัมมนาสำหรับประเทศสมาชิกที่สถาบันฝึกอบรมของกองทุนการเงินฯ ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี และสถาบันฝึกอบรมในภูมิภาคต่างๆ (ออสเตรเลีย บราซิล สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สิงคโปร์ ตูนิเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรต)
8. [[พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง_(ฉบับที่_17)_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2542]]


==โครงสร้างองค์กรของกองทุนการเงินระหว่างประเทศประกอบด้วย==
9. [[พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง_(ฉบับที่_18)_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2542]]


1.สภาผู้ว่าการกองทุนการเงินฯ  ประกอบด้วยผู้ว่าการจากแต่ละประเทศสมาชิก จะประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้งระหว่างการประชุมประจำปีกองทุนการเงินฯ และธนาคารโลกเพื่อหารือและตัดสินใจนโยบายสำคัญของกองทุนการเงินฯ
10. [[พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง_(ฉบับที่_19)_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2542]]


2.กรรมการจัดการกองทุนการเงินฯ (International Monetary and Financial Committee :IMFC) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 24 ท่านตามองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ  โดย IMFC ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสภาผู้ว่าการ  ซึ่งจะพิจารณาและจัดทำข้อเสนอสำหรับประเด็นนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกำกับดูแลระบบการเงินโลก กรรมการจัดการกองทุนการเงินฯ จะทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการบริหาร และผู้บริหารสูงสุดของเจ้าหน้าที่กองทุนการเงินฯ 
11. [[พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ_พ.ศ._2542|พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542]]


กองทุนการเงินฯ จะประเมินภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยเป็นประจำทุกปีภายใต้พันธะข้อ 4 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ  นอกจากนี้ ประเทศไทยได้ดำเนินการตามพันธะข้อ 8 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ โดยยกเลิกการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมการค้า แล้วตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคม 2533  ล่าสุด ประเทศไทยได้เข้าร่วมรับการประเมินเสถียรภาพภาคการเงินภายใต้กรอบ Financial Sector Assessment Program<ref>โครงการ Financial Sector Assessment Program (FSAP) เป็น โครงการร่วมระหว่างกองทุนการเงินฯ และธนาคารโลก เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงินในประเทศสมาชิก การประเมินภายใต้โครงการ FSAP จะเน้นการระบุจุดแข็งและจุดอ่อนในระบบการเงินของประเทศสมาชิกที่เข้าร่วม เพื่อช่วยจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการ ปฏิรูป</ref> (FSAP) เมื่อปี 2550
พระราชบัญญัติทั้ง 11 ฉบับกลายเป็นประเด็นทางการเมืองเมื่อมีการโจมตีว่าพระราชบัญญัติทั้ง 11 ฉบับ เป็นพระราชบัญญัติขายชาติในทัศนะของ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย|กลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย]] หรือแม้กระทั้งพรรคคการเมืองเช่น[[พรรคไทยรักไทย|พรรคไทยรักไทย]]


ประเทศไทยเคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนการเงินฯ ภายใต้โครงการเงินกู้ Stand-by<ref>Stand-by เป็นโครงการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงินระยะสั้น  และเป็นโครงการเงินกู้ที่ประเทศสมาชิกเข้าร่วมมากที่สุด โดยมีระยะเวลาการกู้ยืม 12 – 24 เดือน และระยะเวลาชำระคืน 2¼-4  ปี และมีอัตราดอกเบี้ยเพิ่มเติมสำหรับวงเงินกู้ที่สูง</ref>รวม 5 ครั้งในวงเงินรวมทั้งสิ้น 4,431 ล้าน SDR โดยครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2521 จำนวนเงิน 45.25 ล้าน SDR  ครั้งที่สองเมื่อเดือนมิถุนายน 2524 จำนวน 814.5 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 345 ล้าน SDR) ครั้งที่สามเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2525 จำนวน 271.5 ล้าน SDR  ครั้งที่สี่เมื่อเดือนมิถุนายน 2528 จำนวน 400 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 260 ล้าน SDR)  และครั้งล่าสุดเมื่อเดือนสิงหาคม 2540 จำนวน 2,900 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 2,500 ล้าน SDR)  ประเทศ ไทยได้ชำระคืนเงินกู้จากกองทุนการเงินฯ เสร็จสิ้นแล้วเมื่อเดือนกรกฎาคม 2546 ซึ่งเป็นการชำระคืนก่อนกำหนดเดิม 2 ปีทำให้ปัจจุบันประเทศไทยไม่มีภาระคงค้างกับกองทุนการเงินฯ  ปัจจุบัน ประเทศไทยยังได้ร่วมเป็นภาคีความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB) โดยอาจให้กองทุนการเงินฯ กู้ยืมเงินไม่เกิน 340 ล้าน SDR ในกรณีที่กองทุนการเงินฯ ขาดสภาพคล่อง
== ที่มา ==


การกู้เงินฉุกเฉินอันเนื่องมากจากการประกาศลดค่าเงินบาทในช่วงรัฐฐาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และในรัฐบาลพลเอกชวลิต  ยงใจยุทธ มีผลต่อการเมืองไทยที่แตกต่างกันมาก  การลดค่าเงินในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรมเป็นผลมาจากกาปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนแบบค่าเสมอภาคมาเป็นอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวในปี 2521  ตามประกาศของกองทุนการเงินฯในปี 2514 ที่เกี่ยวพันไปถึงปัญหาความตกต่ำของเศรษฐกิจโลกและของสหรัฐอเมริกา แต่ในกรณีการปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวในปี 2540 ของรัฐบาลพลเอกชวลิต  ยงใจยุทธ ส่งผลต่อเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลมากกว่า อันเนื่องการประกาศปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวก่อให้เกิดวิกฤติการณ์เศรษฐกิจไทยครั้งใหญ่ทำให้พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี  ส่วนนายชวน  หลีกภัย ในฐานะที่ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร จึงได้รับการเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรีแทน  โดยได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540  รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติเพิ่มเติมเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ 11 ฉบับ ดังนี้
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย&nbsp;: บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเมือง พ.ศ. 2475-2530. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2531.


1. พระราชบัญญัติเช่าอสังหาริมทรัพย์การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542
ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์. เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: Silkworm Books, 2542. เสรี ทรัพย์เจริญ. "การลดค่าเงินบาทครั้งนี้ เป็นการยอมรับความจริงของรัฐบาลว่าได้ดำเนินงานผิดพลาดมาตลอด" นิตยสารผู้จัดการ ( พฤศจิกายน 2527).
     
2. พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
     
3. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2542
     
4. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542
5. พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2542
6. พระราชบัญญัติการประกอบกิจการธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542
7. พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
8. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2542
9. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2542
10. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2542
11. พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติทั้ง 11 ฉบับกลายเป็นประเด็นทางการเมืองเมื่อมีการโจมตีว่าพระราชบัญญัติทั้ง  11 ฉบับ เป็นพระราชบัญญัติขายชาติในทัศนะของกลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย หรือแม้กระทั้งพรรคคการเมืองเช่นพรรคไทยรักไทย


==ทีมา ==
[http://www.bot.or.th http://www.bot.or.th]
รังสรรค์  ธนะพรพันธุ์. กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย : บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเมือง พ.. 2475-2530. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2531.


ผาสุก  พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์. เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ.  พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ:  Silkworm Books, 2542.
== อ้างอิง ==
เสรี ทรัพย์เจริญ. "การลดค่าเงินบาทครั้งนี้ เป็นการยอมรับความจริงของรัฐบาลว่าได้ดำเนินงานผิดพลาดมาตลอด" นิตยสารผู้จัดการ ( พฤศจิกายน 2527).


http://www.bot.or.th
<references />


==อ้างอิง==
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] [[Category:อดิศร หมวกพิมาย]]
<references/>
[[หมวดหมู่: เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:36, 28 พฤศจิกายน 2562

ผู้เรียบเรียง อดิศร หมวกพิมาย


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) กับการเมืองไทย

           กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund:IMF) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2487 จากการประชุม United Nations Monetary and Financial Conference ณ เมือง เบรตตันวูดส์ มลรัฐนิวแฮมเชียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อจัดระเบียบการเงินระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยที่ประชุมได้พิจารณาข้อเสนอของนักเศรษฐศาสตร์สำคัญ 2 คน คือ ข้อเสนอของ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์(John Maynard Keynes) ผู้แทนของอังกฤษ และข้อเสนอของ แฮรี่ ไวท์(Harry D. White) ผู้แทนของสหรัฐอเมริกา ในที่ประชุมได้ลงมติให้ดำเนินการตามข้อของไวท์ คือ การจัดตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และจัดตั้งธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ(International Bank for Reconstruction and Development) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ธนาคารโลก(World Bank)โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และและมีฐานะเป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ

           การจัดระเบียบการเงินที่เกิดขึ้นภายใต้ข้อตกลงข้างต้นคือ การเลือกใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตายตัว(Fixed Exchange Rate System) เป็นกรอบการดำเนินงานในช่วงปี 2492-2514 ประเทศสมาชิกของกองทุนการเงินฯ ได้เพิ่มจาก 29 ประเทศเมื่อปี 2488 เป็น 185 ประเทศในปัจจุบัน โดยประเทศสมาชิกล่าสุดคือ ประเทศมอนตินิโกร (Montenegro) ซึ่งเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ เมื่อเดือนมกราคม 2550 ทั้งนี้ ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติก่อน

           เมื่อเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ ประเทศสมาชิกจะได้รับจัดสรรจำนวนโควตาในสกุลสิทธิพิเศษถอนเงิน[1] (SDR) ตามขนาดของเศรษฐกิจและความสำคัญของประเทศสมาชิกนั้นๆ เทียบกับเศรษฐกิจโลก กองทุนการเงินฯ จะทำการทบทวนโควตาทุก 5 ปี เพื่อปรับปรุงโควตาของแต่ละประเทศให้เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยน แปลงไป รวมทั้งเพื่อเพิ่มทุนดำเนินการของกองทุนการเงินฯ ให้พอเพียงกับความจำเป็น โควตา มีบทบาทสำคัญในการกำหนดสิทธิ และวงเงินกู้ของประเทศสมาชิก กล่าวคือ ประเทศสมาชิกจะได้รับคะแนนเสียงพื้นฐานเท่ากันจำนวน 250 คะแนน และเพิ่มอีกหนึ่งคะแนนเสียงต่อโควตา 100,000 SDR นอก จากนี้ ประเทศสมาชิกสามารถกู้เงินจากกองทุนการเงินฯ ได้ไม่เกินร้อยละ 100 ของจำนวนโควตาต่อปี และรวมกันไม่เกินร้อยละ 300 ของจำนวนโควตา

           ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 44 ของกองทุนการเงินฯ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2492 โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นตัวแทนของประเทศไทยในกองทุนการเงินฯ ตามพระราชบัญญัติให้อำนาจปฏิบัติการเกี่ยวกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ พ.ศ. 2494 รวมทั้ง ผู้ว่าการและรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่เป็นผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรองใน กองทุนการเงินฯ ตามลำดับ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีโควตาเท่ากับ 1,081.9 ล้าน SDR หรือร้อยละ 0.50 ของจำนวนโควตาทั้งหมด เทียบเท่ากับ 11,069 คะแนนเสียง

           ประเทศไทยสมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และธนาคารโลกในปี 2492 มีผลทำให้องค์กรทั้งสองทำหน้าที่ดูแลให้ประเทศทยปฏิบัติตามข้อกำหนดขององค์กรระหว่างประเทศทั้ง 2 ในกรณีของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รัฐบาลไทยได้ดำเนินการตามพันธะสัญญาของสมาชิก ดังนี้

           1.ประกาศปรับค่าเสมอภาคของเงินบาท (par value) เทียบกับเงินสุกลดอลลาร์สหรัฐ ในเวลานั้น เงินดอลลาร์สหรัฐฯกำหนดค่าเสมอภาคเทียบกับทองคำในอัตรา 35 เหรียญต่อทองคำบริสุทธิ์น้ำหนัก 1 ออนซ์ ซึ่งเป็นค่าตายตัว (จนกระทั่งในปี 2514 IMF ประกาศเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนจากระบบค่าเสมอภาค มาเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว(Flexible Exchange RateSystem) ประเทศไทยก็เปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนตามไปด้วยแต่ล่าช้าไปถึงปี 2521)

           2.ธนาคารแห่งประเทศไทยดำเนินการซื้อขายเงินตราต่างประเทศเพื่อมิให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวขึ้นลงเกินกว่า 1 % ของค่าเสมอภาค

           ซึ่งเท่ากับว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีพันธะในการเข้าไปซื้อขายเงินตราเพื่อรักษษเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยน ภาระดังกล่าวตกเป็นของประเทศสมาชิกซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย อย่างไรก็ตามยังมีการกำหนดหน้าที่ให้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ดังนี้

1.กำหนดให้กองทุนการเงินฯ ทำหน้าที่สนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ
2.สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุล
3.เสริมสร้างเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
4.สนับสนุนการจัดตั้งระบบการชำระเงินระหว่างประเทศ
5.ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงิน

           กองทุนการเงินฯ มีบทบาทหลักในการสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน และความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิก เพื่อให้ระบบการเงินระหว่างประเทศมีเสถียรภาพ ซึ่งภาระหน้าที่หลักสำคัญมี 3 ประการ ได้แก่

           1.การสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ: กองทุนการเงินฯ ติดตามภาวะเศรษฐกิจการเงินของประเทศสมาชิกอย่างใกล้ชิด และมีการประชุมหารือกับประเทศสมาชิกเป็นประจำ (หรือ Article IV Consultation) ซึ่งโดยทั่วไปจะกำหนดจัดประชุมทุกปี โดยเจ้าหน้าที่กองทุนการเงินฯ จะไปเยือนประเทศสมาชิกเพื่อประเมินภาวะและเสถียรภาพเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก รวมทั้งให้คำแนะนำนโยบาย กองทุนการเงินฯ จะรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อนำมาประเมินภาวะเศรษฐกิจ ระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยจะเผยแพร่ผลการประเมินทุกครึ่งปีในรายงานแนวโน้มเศรษฐกิจโลก (World Economic Outlook) และรายงานเสถียรภาพการเงินโลก (Global Financial Stability Report)

           2.ความช่วยเหลือทางการเงิน: กองทุนการเงินฯ ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงิน เพื่อช่วยฟื้นฟูเสถียรภาพและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจผ่านโครงการเงินกู้ (facilities) ประเภท ต่างๆ ซึ่งประเทศที่ขอความช่วยเหลือจะต้องดำเนินนโยบายหรือมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงินตามที่กำหนดในจดหมายแสดงเจตจำนง (Letter of Intent) เงินทุนของโครงการเงินกู้ของกองทุนการเงินฯ ได้มาจากการชำระเงินค่าโควตาของประเทศสมาชิกเป็นสำคัญ ดังนั้น ความสามารถในการให้กู้ของกองทุนการเงินฯ จึงกำหนดโดยโควตารวมของประเทศสมาชิกเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม กองทุนการเงินฯ สามารถกู้ยืมจากประเทศที่มีฐานะทางการเงินแข็งแกร่งจำนวนหนึ่งภายใต้ความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ (General Arrangements to Borrow - GAB) และความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB)

           3.ความช่วยเหลือทางวิชาการ: กอง ทุนการเงินฯ ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประเทศ สมาชิกในการกำหนดและ

ดำเนินนโยบาย 4ด้านหลัก คือ

1) นโยบายการเงินและนโยบายสถาบันการเงิน
2) นโยบายการคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ
3) สถิติข้อมูล
4) กฎหมายเศรษฐกิจการเงิน

           นอกจากนี้ กองทุนการเงินฯ ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมและสัมมนาสำหรับประเทศสมาชิกที่สถาบันฝึกอบรมของกองทุนการเงินฯ ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี และสถาบันฝึกอบรมในภูมิภาคต่างๆ (ออสเตรเลีย บราซิล สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย สิงคโปร์ ตูนิเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรต)

โครงสร้างองค์กรของกองทุนการเงินระหว่างประเทศประกอบด้วย

           1.สภาผู้ว่าการกองทุนการเงินฯ ประกอบด้วยผู้ว่าการจากแต่ละประเทศสมาชิก จะประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้งระหว่างการประชุมประจำปีกองทุนการเงินฯ และธนาคารโลกเพื่อหารือและตัดสินใจนโยบายสำคัญของกองทุนการเงินฯ

           2.กรรมการจัดการกองทุนการเงินฯ (International Monetary and Financial Committee :IMFC) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 24 ท่านตามองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ โดย IMFC ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสภาผู้ว่าการ ซึ่งจะพิจารณาและจัดทำข้อเสนอสำหรับประเด็นนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกำกับดูแลระบบการเงินโลก กรรมการจัดการกองทุนการเงินฯ จะทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการบริหาร และผู้บริหารสูงสุดของเจ้าหน้าที่กองทุนการเงินฯ

           กองทุนการเงินฯ จะประเมินภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยเป็นประจำทุกปีภายใต้พันธะข้อ 4 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ นอกจากนี้ ประเทศไทยได้ดำเนินการตามพันธะข้อ 8 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ โดยยกเลิกการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมการค้า แล้วตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคม 2533 ล่าสุด ประเทศไทยได้เข้าร่วมรับการประเมินเสถียรภาพภาคการเงินภายใต้กรอบ Financial Sector Assessment Program[2] (FSAP) เมื่อปี 2550

           ประเทศไทยเคยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนการเงินฯ ภายใต้โครงการเงินกู้ Stand-by[3]รวม 5 ครั้งในวงเงินรวมทั้งสิ้น 4,431 ล้าน SDR โดยครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2521 จำนวนเงิน 45.25 ล้าน SDR ครั้งที่สองเมื่อเดือนมิถุนายน 2524 จำนวน 814.5 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 345 ล้าน SDR) ครั้งที่สามเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2525 จำนวน 271.5 ล้าน SDR ครั้งที่สี่เมื่อเดือนมิถุนายน 2528 จำนวน 400 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 260 ล้าน SDR) และครั้งล่าสุดเมื่อเดือนสิงหาคม 2540 จำนวน 2,900 ล้าน SDR (แต่เบิกถอนจริงจำนวน 2,500 ล้าน SDR) ประเทศ ไทยได้ชำระคืนเงินกู้จากกองทุนการเงินฯ เสร็จสิ้นแล้วเมื่อเดือนกรกฎาคม 2546 ซึ่งเป็นการชำระคืนก่อนกำหนดเดิม 2 ปีทำให้ปัจจุบันประเทศไทยไม่มีภาระคงค้างกับกองทุนการเงินฯ ปัจจุบัน ประเทศไทยยังได้ร่วมเป็นภาคีความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB) โดยอาจให้กองทุนการเงินฯ กู้ยืมเงินไม่เกิน 340 ล้าน SDR ในกรณีที่กองทุนการเงินฯ ขาดสภาพคล่อง

           การกู้เงินฉุกเฉินอันเนื่องมากจากการประกาศลดค่าเงินบาทในช่วงรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ มีผลต่อการเมืองไทยที่แตกต่างกันมาก การลดค่าเงินในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรมเป็นผลมาจากกาปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนแบบค่าเสมอภาคมาเป็นอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวในปี 2521 ตามประกาศของกองทุนการเงินฯในปี 2514 ที่เกี่ยวพันไปถึงปัญหาความตกต่ำของเศรษฐกิจโลกและของสหรัฐอเมริกา แต่ในกรณีการปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวในปี 2540 ของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ส่งผลต่อเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลมากกว่า อันเนื่องการประกาศปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวก่อให้เกิดวิกฤติการณ์เศรษฐกิจไทยครั้งใหญ่ทำให้พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนนายชวน หลีกภัย ในฐานะที่ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร จึงได้รับการเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรีแทน โดยได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติเพิ่มเติมเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ 11 ฉบับ ดังนี้

1. พระราชบัญญัติเช่าอสังหาริมทรัพย์การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542

2. พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542

3. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2542

4. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542

5. พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2542

6. พระราชบัญญัติการประกอบกิจการธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542

7. พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542

8. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2542

9. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2542

10. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2542

11. พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542

พระราชบัญญัติทั้ง 11 ฉบับกลายเป็นประเด็นทางการเมืองเมื่อมีการโจมตีว่าพระราชบัญญัติทั้ง 11 ฉบับ เป็นพระราชบัญญัติขายชาติในทัศนะของกลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย หรือแม้กระทั้งพรรคคการเมืองเช่นพรรคไทยรักไทย

ที่มา

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย : บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเมือง พ.ศ. 2475-2530. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2531.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์. เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: Silkworm Books, 2542. เสรี ทรัพย์เจริญ. "การลดค่าเงินบาทครั้งนี้ เป็นการยอมรับความจริงของรัฐบาลว่าได้ดำเนินงานผิดพลาดมาตลอด" นิตยสารผู้จัดการ ( พฤศจิกายน 2527).

http://www.bot.or.th

อ้างอิง

  1. สิทธิพิเศษถอนเงิน (SDR) เป็น สินทรัพย์สำรองระหว่างประเทศที่สร้างขึ้นโดยกองทุนการเงินฯ เมื่อปี 2512 สำหรับเสริมเงินสำรองระหว่างประเทศที่มีอยู่ในขณะนั้น เพื่อรองรับการขยายตัวทางการค้าและการเงินโลก นอกจากนี้ SDR ยัง ทำหน้าที่เป็นหน่วยบัญชีสำหรับกองทุนการเงินฯ โดยกำหนดมูลค่าเทียบกับกลุ่มเงินตราสกุลหลัก 4 สกุล คือ ดอลลาร์ สรอ. ยูโร เยนญี่ปุ่น และปอนด์สเตอร์ลิง.
  2. โครงการ Financial Sector Assessment Program (FSAP) เป็น โครงการร่วมระหว่างกองทุนการเงินฯ และธนาคารโลก เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงินในประเทศสมาชิก การประเมินภายใต้โครงการ FSAP จะเน้นการระบุจุดแข็งและจุดอ่อนในระบบการเงินของประเทศสมาชิกที่เข้าร่วม เพื่อช่วยจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการ ปฏิรูป
  3. Stand-by เป็นโครงการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิกที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงินระยะสั้น และเป็นโครงการเงินกู้ที่ประเทศสมาชิกเข้าร่วมมากที่สุด โดยมีระยะเวลาการกู้ยืม 12 – 24 เดือน และระยะเวลาชำระคืน 2¼-4 ปี และมีอัตราดอกเบี้ยเพิ่มเติมสำหรับวงเงินกู้ที่สูง