ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานวุฒิสภา"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 31 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:


----
----
เมื่อเริ่มแรกภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย รูปแบบและโครงสร้างรัฐสภาของไทยนั้น ใช้ระบบสภาเดียว
==บทนำ==
คือสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิก ๒ ประเภทมาเป็นเวลา ๑๔ ปี ในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ รูปแบบของรัฐสภาก็มีการเปลี่ยนแปลงเริ่มใช้ระบบ ๒ สภาเป็นครั้งแรก ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนและวุฒิสภา โดยสภาผู้แทน ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน จำนวน ๑๗๘ คน และพฤฒสภา  ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน ๘๐ คน มาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อมและลับ ซึ่งสภาผู้แทนจะทำหน้าที่เลือกพฤฒสภา [๑] พฤฒสภาชุดดังกล่าวมีพันตรี วิลาศ  โอสถานนท์ เป็นประธานพฤฒสภา  ซึ่งต่อมาพฤฒสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙[๒] ได้พัฒนามาเป็นวุฒิสภาจึงอาจกล่าวได้ว่าประธานวุฒิสภามีขึ้นตั้งแต่นั้นเป็นครั้งแรก โดยประธานพฤฒสภามีหน้าที่ดำเนินกิจการของสภาให้เป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับการประชุมของพฤฒสภา รองประธานมีหน้าที่กระทำกิจการแทนประธานเมื่อประธานไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ความจำเป็นที่ต้องมีพฤฒสภา ก็เพื่อทำหน้าที่ทบทวนรับผิดชอบในการให้การรับรองการตรากฎหมายและญัตติอื่นที่ส่งมาจากสภาผู้แทนราษฎร นอกเหนือจากหน้าที่ทบทวนแล้ว พฤฒสภาอาจชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง เพื่อให้แน่ใจว่าร่างกฎหมายของสภาผู้แทนราษฎรได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้องเพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน


รัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ นี้สิ้นสุดลงโดยการยึดอำนาจการปกครองประเทศเมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ โดย  “คณะทหารของชาติ” ภายใต้การนำของ พลโท ผิน ชุณหะวัณ รัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มาที่กำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วยสองสภา คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๔๙๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ สำหรับที่มาของวุฒิสภา จะมาจากการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น  จนกระทั่งต่อมาได้มีการตั้ง “สภาร่างรัฐธรรมนูญ” ขึ้น ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งจากรัฐสภาจำนวน ๙๙ คน มีหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการปฏิรูปการเมือง  จนในที่สุดก็ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐[] ที่กำหนดให้สมาชิกรัฐสภามี ๒ สภา คือ  สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๕๐๐ คน และสมาชิกวุฒิสภาจำนวน ๒๐๐ คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครในเขตเลือกตั้งนั้นได้ ๑ คน จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้มากกว่า ๑ คน ให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุด เรียงตามลำดับจนครบจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่พึงมีในจังหวัดนั้นเป็นสมาชิกวุฒิสภา เพื่อทำหน้าที่นิติบัญญัติ และตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ตลอดจนการพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ สมาชิกวุฒิสภา มีวาระการดำรงตำแหน่ง ๖ ปี และไม่สามารถเป็นสมาชิกวุฒิสภา ๒ สมัยติดต่อกันได้[] สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกที่สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๓[] โดยวุฒิสภาชุดนี้ได้เลือกนายสนิท วรปัญญา เป็นประธานวุฒิสภา
เมื่อเริ่มแรกภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย รูปแบบและโครงสร้างรัฐสภาของไทยนั้น ใช้ระบบสภาเดียว คือ[[สภาผู้แทนราษฎร]]ประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภทมาเป็นเวลา 14 ปี ในปี พ.ศ. 2489 รูปแบบของรัฐสภาก็มีการเปลี่ยนแปลงเริ่มใช้ระบบ 2 สภาเป็นครั้งแรก ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนและวุฒิสภา โดยสภาผู้แทน ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับ[[การเลือกตั้ง]]โดยตรงจากประชาชน จำนวน 178 คน และ[[พฤฒสภา]] ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 80 คน มาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อมและลับ ซึ่งสภาผู้แทนจะทำหน้าที่เลือกพฤฒสภา<ref>'''ความเป็นมาของสมาชิกวุฒิสภา จากงานการมีส่วนร่วม สนง.กกต.จว.สมุทรสาคร''' http://www.samutsakhon.biz</ref> [[พฤฒสภา]]ชุดดังกล่าวมี[[วิลาศ โอสถานนท์|พันตรี วิลาศ โอสถานนท์]] เป็นประธานพฤฒสภา ซึ่งต่อมาพฤฒสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489<ref>'''รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี''' http://th.wikipedia.org/wiki</ref> ได้พัฒนามาเป็น[[วุฒิสภา]]จึงอาจกล่าวได้ว่าประธานวุฒิสภามีขึ้นตั้งแต่นั้นเป็นครั้งแรก โดยประธานพฤฒสภามีหน้าที่ดำเนินกิจการของสภาให้เป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับการประชุมของพฤฒสภา รองประธานมีหน้าที่กระทำกิจการแทนประธานเมื่อประธานไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ความจำเป็นที่ต้องมีพฤฒสภา ก็เพื่อทำหน้าที่ทบทวนรับผิดชอบในการให้การรับรองการตรากฎหมายและ[[ญัตติ]]อื่นที่ส่งมาจาก[[สภาผู้แทนราษฎร]] นอกเหนือจากหน้าที่ทบทวนแล้ว พฤฒสภาอาจชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง เพื่อให้แน่ใจว่าร่างกฎหมายของสภาผู้แทนราษฎรได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้องเพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน


สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นฉบับปัจจุบัน  กำหนดให้มีสมาชิกวุฒิสภา จำนวน ๗๖ คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและ ๗๔ คน มาจากการสรรหาโดยองค์กรอาชีพรวมแล้วมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งสิ้น ๑๕๐ คน โดยมีการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาจำนวน ๗๔ คน ในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ และมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จำนวน ๗๖ คน ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๑ เมื่อได้สมาชิกวุฒิสภาแล้ว ที่ประชุมได้เลือกนายประสพสุข  บุญเดช เป็นประธานวุฒิสภา []  
รัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 นี้สิ้นสุดลงโดยการยึดอำนาจการปกครองประเทศเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 โดย “คณะทหารของชาติ” ภายใต้การนำของ พลโท ผิน ชุณหะวัณ [[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับต่อๆ มาที่กำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วยสองสภา คือ [[สภาผู้แทนราษฎร]]และ[[วุฒิสภา]] ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สำหรับที่มาของวุฒิสภา จะมาจากการแต่งตั้งของ[[พระมหากษัตริย์]]ทั้งสิ้น จนกระทั่งต่อมาได้มีการตั้ง “[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]]” ขึ้น ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งจากรัฐสภาจำนวน 99 คน มีหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการปฏิรูปการเมือง จนในที่สุดก็ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<ref>'''ความเป็นมาของสมาชิกวุฒิสภา จากงานการมีส่วนร่วม สนง.กกต.จว.สมุทรสาคร''' http://www.samutsakhon.biz</ref> ที่กำหนดให้สมาชิกรัฐสภามี 2 สภา คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 500 คน และสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 200 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง[[ออกเสียงลงคะแนน]]เลือกตั้งผู้สมัครในเขตเลือกตั้งนั้นได้ 1 คน จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้มากกว่า 1 คน ให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุด เรียงตามลำดับจนครบจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่พึงมีในจังหวัดนั้นเป็นสมาชิกวุฒิสภา เพื่อทำหน้าที่นิติบัญญัติ และตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ตลอดจนการพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ สมาชิกวุฒิสภา มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี และไม่สามารถเป็นสมาชิกวุฒิสภา 2 สมัยติดต่อกันได้<ref>'''ประวัติความเป็นมาของวุฒิสภา จาก knowledge วิชาการ ความรู้ โครงงาน ข้อสอบ E – learning แบบทดสอบ การเรียนรู้''' http://www.knowledge.eduzones.com</ref> สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกที่สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543<ref>'''รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี''' http://th.wikipedia.org/wiki</ref> โดยวุฒิสภาชุดนี้ได้เลือก[[สนิท วรปัญญา|นายสนิท วรปัญญา]] เป็นประธานวุฒิสภา


๑. ที่มาของประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา []
สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นฉบับปัจจุบัน กำหนดให้มีสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 76 คน มาจาก[[การเลือกตั้ง]]โดยตรงของประชาชนและ 74 คน มาจากการสรรหาโดยองค์กรอาชีพรวมแล้วมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งสิ้น 150 คน โดยมีการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 74 คน ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2551 และมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 76 คน ในวันที่ 2 มีนาคม 2551 เมื่อได้สมาชิกวุฒิสภาแล้ว ที่ประชุมได้เลือก[[ประสพสุข บุญเดช|นายประสพสุข บุญเดช]] เป็นประธานวุฒิสภา<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550, หน้า 79.</ref>


นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันผู้ที่ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา จะต้องเป็นสมาชิกวุฒิสภา  ซึ่งได้รับการเลือกจากสมาชิกวุฒิสภาด้วยกันให้เป็นประธานวุฒิสภาคนหนึ่ง และรองประธานวุฒิสภาคนหนึ่งหรือสองคนหรือหลายคน ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้วแต่กรณี
1. ที่มาของประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา<ref>'''ประมวลอำนาจหน้าที่ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา จากวุฒิสภา''' http://www.senate.go.th/km/data/function/function3.htm</ref>


๑.๑  การเลือกประธานวุฒิสภา  ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๕๑  มีวิธีการเลือกประธานวุฒิสภา ดังนี้
นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันผู้ที่ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา จะต้องเป็นสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งได้รับการเลือกจากสมาชิกวุฒิสภาด้วยกันให้เป็นประธานวุฒิสภาคนหนึ่ง และรองประธานวุฒิสภาคนหนึ่งหรือสองคนหรือหลายคน ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้วแต่กรณี


ผู้มีสิทธิเสนอชื่อ  ในการเลือกประธานวุฒิสภา  สมาชิกวุฒิสภาแต่ละคนมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกได้หนึ่งชื่อ
1.1 [[การเลือกประธานวุฒิสภา]] ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551 มีวิธีการเลือกประธานวุฒิสภา ดังนี้


ผู้รับรอง การเสนอชื่อต้องมีสมาชิกวุฒิสภารับรองไม่น้อยกว่าสิบคน
ผู้มีสิทธิเสนอชื่อ ในการเลือกประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภาแต่ละคนมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกได้หนึ่งชื่อ
 
[[ผู้รับรอง]]การเสนอชื่อต้องมีสมาชิกวุฒิสภารับรองไม่น้อยกว่าสิบคน


ในกรณีมีการเสนอชื่อเพียงชื่อเดียว ให้ถือว่าผู้ถูกเสนอชื่อเป็นผู้ได้รับเลือก
ในกรณีมีการเสนอชื่อเพียงชื่อเดียว ให้ถือว่าผู้ถูกเสนอชื่อเป็นผู้ได้รับเลือก


ในกรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อหรือมากกว่าสองชื่อ ให้มีการลงคะแนนเป็นการลับโดยการเขียนชื่อผู้ซึ่งตนประสงค์จะเลือกลงบนแผ่นกระดาษใส่ซองที่เจ้าหน้าที่จัดให้ แล้วเรียกชื่อสมาชิกตามลำดับอักษร มาลงคะแนนเป็นรายคน โดยนำซองใส่ลงในภาชนะที่จัดไว้เพื่อการนั้น ในการตรวจนับคะแนนให้ประธานของที่ประชุมเชิญสมาชิกไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นกรรมการตรวจนับคะแนน กรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก ถ้าได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน ให้เลือกใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้าคะแนนเท่ากันอีก ให้ใช้วิธีจับสลาก  กรณีมีการเสนอชื่อมากกว่าสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดและมีคะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุมเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าผู้ได้คะแนนสูงสุดมีคะแนนไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุม ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองหนึ่งคนมาให้สมาชิกลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่ง หรือ
ในกรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อหรือมากกว่าสองชื่อ ให้มีการลงคะแนนเป็นการลับโดยการเขียนชื่อผู้ซึ่งตนประสงค์จะเลือกลงบนแผ่นกระดาษใส่ซองที่เจ้าหน้าที่จัดให้ แล้วเรียกชื่อสมาชิกตามลำดับอักษร มาลงคะแนนเป็นรายคน โดยนำซองใส่ลงในภาชนะที่จัดไว้เพื่อการนั้น ในการตรวจนับคะแนนให้ประธานของที่ประชุมเชิญสมาชิกไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นกรรมการตรวจนับคะแนน กรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก ถ้าได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน ให้เลือกใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้าคะแนนเท่ากันอีก ให้ใช้วิธี[[จับสลาก]] กรณีมีการเสนอชื่อมากกว่าสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดและมีคะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุมเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าผู้ได้คะแนนสูงสุดมีคะแนนไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุม ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองหนึ่งคนมาให้สมาชิกลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่ง หรือ


- ถ้ากรณีมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดดังกล่าวมาให้สมาชิกลงคะแนน หรือ
- ถ้ากรณีมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดดังกล่าวมาให้สมาชิกลงคะแนน หรือ
บรรทัดที่ 29: บรรทัดที่ 30:
- ถ้ามีผู้ใดคะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกและลำดับที่สองทุกคนมาให้สมาชิกลงคะแนน ในการนี้ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าคะแนนเท่ากัน ให้ใช้วิธีจับสลาก ให้ประธานของที่ประชุมประกาศชื่อผู้ได้รับเลือกต่อที่ประชุมวุฒิสภา  
- ถ้ามีผู้ใดคะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกและลำดับที่สองทุกคนมาให้สมาชิกลงคะแนน ในการนี้ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าคะแนนเท่ากัน ให้ใช้วิธีจับสลาก ให้ประธานของที่ประชุมประกาศชื่อผู้ได้รับเลือกต่อที่ประชุมวุฒิสภา  


.การแต่งตั้งประธานวุฒิสภา เมื่อวุฒิสภาได้เลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาแล้ว ให้เลขาธิการวุฒิสภาแจ้งไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์เพื่อทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
1.2 การแต่งตั้งประธานวุฒิสภา เมื่อวุฒิสภาได้เลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาแล้ว ให้เลขาธิการวุฒิสภาแจ้งไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อนำความขึ้นกราบบังคมทูล[[พระมหากษัตริย์]]เพื่อทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง  


. การพ้นจากตำแหน่งของประธานวุฒิสภา [๘]
2. การพ้นจากตำแหน่งของประธานวุฒิสภา<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550, หน้า 88-89.</ref>


.การพ้นจากตำแหน่งตามวาระ รัฐธรรมนูญมิได้กำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของประธานวุฒิสภาไว้อย่างชัดเจน เพียงแต่กำหนดไว้ว่าประธานและรองประธานวุฒิสภา ดำรงตำแหน่งจนถึงวันก่อนวันเลือกประธานคนใหม่เท่านั้น  
2.1 การพ้นจากตำแหน่งตามวาระ รัฐธรรมนูญมิได้กำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของประธานวุฒิสภาไว้อย่างชัดเจน เพียงแต่กำหนดไว้ว่าประธานและรองประธานวุฒิสภา ดำรงตำแหน่งจนถึงวันก่อนวันเลือกประธานคนใหม่เท่านั้น  


.การพ้นจากตำแหน่งในกรณีอื่น นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ดังกล่าวมาแล้ว ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาย่อมพ้นจากตำแหน่ง ในกรณีดังต่อไปนี้
2.2 การพ้นจากตำแหน่งในกรณีอื่น นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ดังกล่าวมาแล้ว ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาย่อมพ้นจากตำแหน่ง ในกรณีดังต่อไปนี้


() ขาดจากสมาชิกภาพแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิก
(1) [[ขาดจากสมาชิกภาพ]]แห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิก


() ลาออกจากตำแหน่ง
(2) ลาออกจากตำแหน่ง


() ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี  รัฐมนตรี หรือข้าราชการการเมืองอื่น
(3) ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] [[รัฐมนตรี]] หรือข้าราชการการเมืองอื่น


() ต้องคำพิพากษาให้จำคุก
(4) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก


. อำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา
3. อำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา


ประธานวุฒิสภา มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา และกฎหมายอื่น เมื่อประธานวุฒิสภาไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ในกรณีที่มีรองประธานวุฒิสภาสองคน รองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานวุฒิสภา ถ้ารองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่งไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รองประธานวุฒิสภาคนที่สอง จะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานวุฒิสภา
ประธานวุฒิสภา มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา และกฎหมายอื่น เมื่อประธานวุฒิสภาไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ในกรณีที่มีรองประธานวุฒิสภาสองคน รองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานวุฒิสภา ถ้ารองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่งไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รองประธานวุฒิสภาคนที่สอง จะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานวุฒิสภา


รัฐธรรมนูญได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภาไว้เป็นการทั่วๆ ไปว่าให้ประธานวุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการของวุฒิสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับ อีกทั้งให้มีบทบาทหรืออำนาจหน้าที่อื่นๆ บัญญัติไว้เป็นการเฉพาะเรื่องอีกหลายประการ ดังนี้
รัฐธรรมนูญได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภาไว้เป็นการทั่วๆ ไปว่าให้ประธานวุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการของวุฒิสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับ อีกทั้งให้มีบทบาทหรืออำนาจหน้าที่อื่นๆ บัญญัติไว้เป็นการเฉพาะเรื่องอีกหลายประการ ดังนี้


. เป็นผู้นำความกราบบังคมทูลและเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในกรณีดังต่อไปนี้
1. เป็นผู้นำความกราบบังคมทูลและเป็น[[ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ]]ในกรณีดังต่อไปนี้


.การแต่งตั้งประธานกรรมการการเลือกตั้งและกรรมการการเลือกตั้ง [๙]
1.1 การแต่งตั้งประธานกรรมการการเลือกตั้งและกรรมการการเลือกตั้ง<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 229 และ มาตรา 231.</ref>


.๒ การแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน [๑๐]
1.2 การแต่งตั้ง[[ผู้ตรวจการแผ่นดิน]]<ref>'''พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พุทธศักราช 2542''' มาตรา 8.</ref>


.การแต่งตั้งประธานกรรมการสิทธิมนุษยแห่งชาติ และกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ [๑๑]
1.3 การแต่งตั้งประธานกรรมการสิทธิมนุษยแห่งชาติ และกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 256.</ref>


.การแต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ [๑๒]
1.4 การแต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 204.</ref>


.การแต่งตั้งประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ [๑๓]
1.5 การแต่งตั้งประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ<ref>'''พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พุทธศักราช 2542''' มาตรา 6-7.</ref>


.การแต่งตั้งประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน [๑๔]
1.6 การแต่งตั้งประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 252.</ref>


. เรียกประชุมวุฒิสภา เพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ และหากกรณีมีผู้ได้คะแนนเสียงเท่ากันในลำดับใดอันเป็นเหตุให้มีผู้รับได้เลือกเกินจำนวนที่จะพึงมีได้ตามกฎหมาย ให้ประธานวุฒิสภาจับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก [๑๕]
2. เรียกประชุมวุฒิสภา เพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ และหากกรณีมีผู้ได้คะแนนเสียงเท่ากันในลำดับใดอันเป็นเหตุให้มีผู้รับได้เลือกเกินจำนวนที่จะพึงมีได้ตามกฎหมาย ให้ประธานวุฒิสภา[[จับสลาก]]ว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 206, 231 และ 246.</ref>


. เป็นผู้ส่งคำร้องหรือความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยกรณีต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ [๑๖]
3. เป็นผู้ส่งคำร้องหรือความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยกรณีต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 91, 141, 149, 154, 155, 182 และ 185.</ref>


.ส่งคำร้องเพื่อให้วินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาคนใดคนหนึ่ง สิ้นสุดลงหรือไม่
3.1 ส่งคำร้องเพื่อให้วินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาคนใดคนหนึ่ง สิ้นสุดลงหรือไม่


.ส่งคำร้องเพื่อให้วินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งสิ้นสุดลงหรือไม่
3.2 ส่งคำร้องเพื่อให้วินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งสิ้นสุดลงหรือไม่


.๓ ส่งร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญไปให้วินิจฉัยว่ามีหลักการอย่างเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระ
3.3 ส่งร่าง[[พระราชบัญญัติ]]หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญไปให้วินิจฉัยว่ามีหลักการอย่างเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ต้องยับยั้งไว้หรือไม่
ราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ต้องยับยั้งไว้หรือไม่


.ส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาที่เข้าชื่อกันจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อให้วินิจฉัยว่าการตราพระราชกำหนด เป็นไปเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะหรือไม่  
3.4 ส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาที่เข้าชื่อกันจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อให้วินิจฉัยว่าการตรา[[พระราชกำหนด]] เป็นไปเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะหรือไม่  


.ส่งความเห็นสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ๑๐ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อให้วินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด แล้วแต่กรณี ที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่
3.5 ส่งความเห็นสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อให้วินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด แล้วแต่กรณี ที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่


.ส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ๑๐ เพื่อให้วินิจฉัยว่าร่างข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่
3.6 ส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 เพื่อให้วินิจฉัยว่าร่างข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่


. ดำเนินกิจการวุฒิสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับ [๑๗]
4. ดำเนินกิจการวุฒิสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 125.</ref>


. จัดให้มีการบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกวุฒิสภาแต่ละคนโดยเปิดเผย เว้นแต่กรณีการออกเสียงลงคะแนนลับ [๑๘]
5. จัดให้มีการบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกวุฒิสภาแต่ละคนโดยเปิดเผย เว้นแต่กรณีการออกเสียงลงคะแนนลับ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 126.</ref>


. จัดให้มีการโฆษณาคำชี้แจง ในกรณีมีการกล่าวถ้อยคำใดในที่ประชุมวุฒิสภาอันอาจเป็นเหตุให้มีบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกวุฒิสภาได้รับความเสียหายและบุคคลนั้น ได้ร้องขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา [๑๙]
6. จัดให้มีการโฆษณาคำชี้แจง ในกรณีมีการกล่าวถ้อยคำใดในที่ประชุมวุฒิสภาอันอาจเป็นเหตุให้มีบุคคลอื่นซึ่งมิใช่[[รัฐมนตรี]]หรือสมาชิกวุฒิสภาได้รับความเสียหายและบุคคลนั้น ได้ร้องขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 130.</ref>


. สั่งปล่อยสมาชิกวุฒิสภาผู้ถูกจับในขณะกระทำผิดในระหว่างสมัยประชุมได้ [๒๐]   
7. สั่งปล่อยสมาชิกวุฒิสภาผู้ถูกจับในขณะกระทำผิดในระหว่างสมัยประชุมได้<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 131.</ref>


. ร้องขอให้ปล่อยสมาชิกวุฒิสภาที่ถูกคุมขังในระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาอยู่ก่อนสมัยประชุม เพื่อให้ปล่อยเมื่อถึงสมัยประชุม [๒๑]
8. ร้องขอให้ปล่อยสมาชิกวุฒิสภาที่ถูกคุมขังในระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาอยู่ก่อนสมัยประชุม เพื่อให้ปล่อยเมื่อถึงสมัยประชุม<ref>เรื่องเดียวกัน, มาตรา 131.</ref>


. อาจได้รับการขอปรึกษาจากนายกรัฐมนตรีเพื่อประกาศให้มีการออกเสียงประชามติ [๒๒]
9. อาจได้รับการขอปรึกษาจากนายกรัฐมนตรีเพื่อประกาศให้มีการออกเสียงประชามติ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 165.</ref>


๑๐. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ หรือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า ๒๐,๐๐๐ คน เพื่อขอให้วุฒิสภามีมติให้กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง [๒๓]
10. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ หรือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน เพื่อขอให้วุฒิสภามีมติให้กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 271.</ref>


๑๑. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา
11. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภามีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เพื่อส่งคำร้องดังกล่าวไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษาว่ากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติผู้ใดร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 249.</ref>
มีจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เพื่อส่งคำร้องดังกล่าวไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษาว่ากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติผู้ใดร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริต
ต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ [๒๔]


๑๒. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ หรือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า ๒๐,๐๐๐ คน ซึ่งเข้าชื่อกัน ขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ฯลฯ ออกจากตำแหน่ง [๒๕]
12. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ หรือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน ซึ่งเข้าชื่อกัน ขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ฯลฯ ออกจากตำแหน่ง<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 271.</ref>


๑๓. รับคำร้องของสมาชิกวุฒิสภา จำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อกันขอให้ถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาด้วยกันเองออกจากตำแหน่ง [๒๖]
13. รับคำร้องของสมาชิกวุฒิสภา จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อกันขอให้ถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาด้วยกันเองออกจากตำแหน่ง<ref>เรื่องเดียวกัน, มาตรา 271.</ref>


๑๔. ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดำเนินการ                      ไต่สวน เนื่องจากได้มีการเข้าชื่อร้องขอต่อประธานวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตำแหน่ง [๒๗]
14. ส่งเรื่องให้[[คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]ดำเนินการไต่สวน เนื่องจากได้มีการเข้าชื่อร้องขอต่อประธานวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนบุคคลตามมาตรา 270 ออกจากตำแหน่ง<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 272.</ref>


๑๕. รับรายงานไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และจัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณาโดยเร็ว นอกจากนี้ หากอยู่นอกสมัยประชุมให้แจ้งประธานรัฐสภาเพื่อนำความกราบบังคมทูลฯ เพื่อทรงเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ [๒๘]
15. รับรายงานไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และจัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณาโดยเร็ว นอกจากนี้ หากอยู่นอกสมัยประชุมให้แจ้ง[[ประธานรัฐสภา]]เพื่อนำความกราบบังคมทูลฯ เพื่อทรงเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ<ref>'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' มาตรา 273.</ref>


==อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น==
==อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น==


. พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘
1. พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518


เป็นผู้บังคับบัญชาของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา  โดยมีบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา ดังนี้
เป็นผู้บังคับบัญชาของ[[สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา]] โดยมีบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา ดังนี้


มาตรา ๘  สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภามีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของวุฒิสภา มีเลขาธิการวุฒิสภาเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นต่อประธานวุฒิสภา .... ฯลฯ ....  
มาตรา 8 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภามีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของวุฒิสภา มีเลขาธิการวุฒิสภาเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นต่อประธานวุฒิสภา .... ฯลฯ ....  


มาตรา ๒๒  บรรดาอำนาจในการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติหรือการปฏิบัติราชการตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด กำหนดว่าเป็นอำนาจของ ....ฯลฯ.... รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้เป็นอำนาจของประธานวุฒิสภาสำหรับสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ....ฯลฯ....
มาตรา 22 บรรดาอำนาจในการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติหรือการปฏิบัติราชการตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด กำหนดว่าเป็นอำนาจของ ....ฯลฯ.... รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้เป็นอำนาจของประธานวุฒิสภาสำหรับสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ....ฯลฯ....


. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ ) พ.ศ. ๒๕๓๕
2. [[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2535]]


.เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุข้าราชการรัฐสภาสามัญระดับ ๑๐ และระดับ ๑๑ และนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง
2.1 เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุข้าราชการรัฐสภาสามัญระดับ 10 และระดับ 11 และนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง


.เป็นผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาสามัญระดับ ๑๐ และระดับ ๑๑
2.2 เป็นผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาสามัญระดับ 10 และระดับ 11


.เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญ (ระดับ ๑๐ และระดับ ๑๑) ซึ่งออกจากราชการภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย กลับเข้ารับราชการสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
2.3 เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญ (ระดับ 10 และระดับ 11) ซึ่งออกจากราชการภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย กลับเข้ารับราชการสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา


.เป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งข้าราชการัฐสภาฝ่ายการเมือง และสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง  
2.4 เป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งข้าราชการัฐสภาฝ่ายการเมือง และสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง


.เป็นผู้มีอำนาจสั่งอนุญาตให้ข้าราชการัฐสภาสามัญตั้งแต่ระดับ ขึ้นไปออกจากราชการ
2.5 เป็นผู้มีอำนาจสั่งอนุญาตให้ข้าราชการัฐสภาสามัญตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไปออกจากราชการ


.เป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตั้งแต่ระดับ ขึ้นไป ออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนได้
2.6 เป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไป ออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนได้


.เป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย และสั่งลงโทษทางวินัยข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตั้งแต่ระดับ ขึ้นไป
2.7 เป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย และสั่งลงโทษทางวินัยข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไป


.เป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตั้งแต่ระดับ ขึ้นไปพักราชการ หรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือสั่งให้กลับเข้ารับราชการ
2.8 เป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไปพักราชการ หรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือสั่งให้กลับเข้ารับราชการ


. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ [๒๙]
3. [[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542]]<ref>'''พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พุทธศักราช 2542''' มาตรา 7, 15, 17, 35, 45, 56, 59 และ 60-65.</ref>


.๑ เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ ป.ป.ช.  
3.1 เป็น[[ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ]]แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ ป.ป.ช.  


.เป็นผู้จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการ ป.ป.ช. รับบัญชีรายชื่อและเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกบุคคลผู้ได้รับเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการ ป.ป.
3.2 เป็นผู้จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการ ป.ป.ช. รับบัญชีรายชื่อและเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกบุคคลผู้ได้รับเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการ ป.ป.
ช.  
ช.  


.เป็นผู้รับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ลงลายมือชื่อกำกับในบัญชีฯ รวมทั้งตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินดังกล่าวของกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
3.3 เป็นผู้รับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ลงลายมือชื่อกำกับในบัญชีฯ รวมทั้งตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินดังกล่าวของกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ


.เป็นผู้รับคำร้องกรณีมีการเข้าชื่อร้องขอเพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาซึ่งดำรงตำแหน่งตามมาตรา ๕๘ ออกจากตำแหน่ง
3.4 เป็นผู้รับคำร้องกรณีมีการเข้าชื่อร้องขอเพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาซึ่งดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง


.เป็นผู้รับการแสดงตนของผู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อ กรณีประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร้องขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา ๕๘ ออกจากตำแหน่ง
3.5 เป็นผู้รับการแสดงตนของผู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อ กรณีประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร้องขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง


.เป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของคำร้องขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา ๕๘ ออกจากตำแหน่ง หากเห็นว่าคำร้องขอไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้แจ้งให้ผู้ร้องขอหรือผู้ริเริ่มทราบเพื่อดำเนินการให้ถูกต้องต่อไป
3.6 เป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของคำร้องขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง หากเห็นว่าคำร้องขอไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้แจ้งให้ผู้ร้องขอหรือผู้ริเริ่มทราบเพื่อดำเนินการให้ถูกต้องต่อไป


.๗ ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเพื่อไต่สวนข้อเท็จจริง
3.7 ส่งเรื่องให้[[คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]เพื่อไต่สวนข้อเท็จจริง


.เป็นผู้รับรายงานการไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
3.8 เป็นผู้รับรายงานการไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ


.จัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณา กรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่า
3.9 จัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณา กรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่า
ข้อกล่าวหามีมูล
ข้อกล่าวหามีมูล


.๑๐ เป็นผู้แจ้งมติของวุฒิสภา กรณีมีมติให้ถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาซึ่งดำรงตำแหน่งตามมาตรา ๕๘ ออกจากตำแหน่ง ไปยังผู้เกี่ยวข้อง
3.10 เป็นผู้แจ้งมติของ[[วุฒิสภา]] กรณีมีมติให้ถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาซึ่งดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง ไปยังผู้เกี่ยวข้อง


.๑๑ เป็นผู้รับและส่งคำร้องกรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา เข้าชื่อดำเนินคดีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษา
3.11 เป็นผู้รับและส่งคำร้องกรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา เข้าชื่อดำเนินคดีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษา


.๑๒ เป็นผู้วินิจฉัยสั่งว่ามีเหตุผล ความจำเป็น ความเหมาะสมและสมควรที่สมาชิกวุฒิสภาคนใดซึ่งรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ไว้ให้ตกเป็นสิทธิของสมาชิกวุฒิสภาคนนั้นหรือไม่ [๓๐]
3.12 เป็นผู้วินิจฉัยสั่งว่ามีเหตุผล ความจำเป็น ความเหมาะสมและสมควรที่สมาชิกวุฒิสภาคนใดซึ่งรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ไว้ให้ตกเป็นสิทธิของสมาชิกวุฒิสภาคนนั้นหรือไม่<ref>'''ตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2543''' (ข้อ 4, 5 และ 7) ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 103 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.</ref>


. พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ [๓๑]
4. [[พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542]]<ref>'''พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542''' มาตรา 5, 8 และ 11.</ref>


.เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  
4.1 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  


.รับบัญชีรายชื่อ และเรียกประชุมวุฒิสภา เพื่อมีมติเลือกกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และหากมีกรณีมีผู้ได้คะแนนเสียงเท่ากันอันเป็นเหตุให้ผู้มีผู้ได้รับเลือกเกินจำนวนที่จะพึงมีได้ตามกฎหมาย ให้ประธานวุฒิสภาจับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก
4.2 รับบัญชีรายชื่อ และเรียกประชุมวุฒิสภา เพื่อมีมติเลือกกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และหากมีกรณีมีผู้ได้คะแนนเสียงเท่ากันอันเป็นเหตุให้ผู้มีผู้ได้รับเลือกเกินจำนวนที่จะพึงมีได้ตามกฎหมาย ให้ประธานวุฒิสภาจับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก


.รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา ซึ่งเข้าชื่อกันขอให้วุฒิสภาถอดถอนกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
4.3 รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา ซึ่งเข้าชื่อกันขอให้วุฒิสภาถอดถอนกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๒ [๓๒]
5. [[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. 2542]]<ref>'''พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. 2542''' มาตรา 6 และมาตรา 8.</ref>


.เป็นผู้เรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการแผ่นดิน ในกรณีที่มีผู้รับคะแนนเท่ากันระดับใดอันเป็นเหตุให้มีผู้ได้รับเลือกเกิน คน ให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้จับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก
5.1 เป็นผู้เรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการแผ่นดิน ในกรณีที่มีผู้รับคะแนนเท่ากันระดับใดอันเป็นเหตุให้มีผู้ได้รับเลือกเกิน 3 คน ให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้[[จับสลาก]]ว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก


.เป็นผู้นำรายชื่อขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน
5.2 เป็นผู้นำรายชื่อขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน


. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ [๓๓]
6. [[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542]]<ref>'''พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542''' มาตรา 8, 9, 13, 30, 31, 47-50 และ 59.</ref>


.จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการตรวจเงินแผ่นดิน รับบัญชีรายชื่อและเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
6.1 จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการตรวจเงินแผ่นดิน รับบัญชีรายชื่อและเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน


.เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน  
6.2 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน  


.รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อขอให้วุฒิสภามีมติให้กรรมการตรวจเงินแผ่นดินพ้นจากตำแหน่ง
6.3 รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อขอให้วุฒิสภามีมติให้กรรมการตรวจเงินแผ่นดินพ้นจากตำแหน่ง


.รับบัญชีรายชื่อผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินแล้วเสนอต่อวุฒิสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
6.4 รับบัญชีรายชื่อผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินแล้วเสนอต่อวุฒิสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ


.เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง และนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
6.5 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง และนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน


.รับรายงานของกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน แล้วส่งให้คณะกรรมาธิการของวุฒิสภา ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการติดตามผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เพื่อพิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป
6.6 รับรายงานของกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน แล้วส่งให้คณะกรรมาธิการของวุฒิสภา ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการติดตามผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เพื่อพิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป


.ร่วมแต่งตั้งผู้ตรวจสอบการรับจ่ายเงินและทรัพย์สิน บัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานอื่นของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
6.7 ร่วมแต่งตั้งผู้ตรวจสอบการรับจ่ายเงินและทรัพย์สิน บัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานอื่นของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน


. พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ [๓๔]
7. [[พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542]]<ref>'''พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542''' มาตรา 6 และกฎกระทรวง (พ.ศ. 2542) ออกตามพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542.</ref>


.เป็นผู้ออกบัตรประจำตัว สำหรับตำแหน่งประธานวุฒิสภา รองประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา เลขาธิการวุฒิสภา และข้าราชการฝ่ายการเมืองในวุฒิสภา
7.1 เป็นผู้ออกบัตรประจำตัว สำหรับตำแหน่งประธานวุฒิสภา รองประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา เลขาธิการวุฒิสภา และข้าราชการฝ่ายการเมืองในวุฒิสภา


.เป็นผู้รับการยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐของบุคคลดังต่อไปนี้ ได้แก่ ประธานวุฒิสภา รองประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา เลขาธิการวุฒิสภา และข้าราชการฝ่ายการเมืองในวุฒิสภา
7.2 เป็นผู้รับการยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐของบุคคลดังต่อไปนี้ ได้แก่ ประธานวุฒิสภา รองประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา [[เลขาธิการวุฒิสภา]] และข้าราชการฝ่ายการเมืองในวุฒิสภา


. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ [๓๕]
8. [[พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502]]<ref>'''พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502''' มาตรา 13.</ref>


.๑ หน้าที่รับผิดชอบในการยื่นงบประมาณประจำปีของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
8.1 หน้าที่รับผิดชอบในการยื่นงบประมาณประจำปีของ[[สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา]]ต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ


อำนาจหน้าที่ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๑
อำนาจหน้าที่ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551


หมวด : อำนาจและหน้าที่ของประธานวุฒิสภา  
หมวด 2 : อำนาจและหน้าที่ของประธานวุฒิสภา  


ข้อ ๑๐ ประธานวุฒิสภามีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ข้อ 10 ประธานวุฒิสภามีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้


() ควบคุมและดำเนินกิจการของวุฒิสภา
(1) ควบคุมและดำเนินกิจการของวุฒิสภา


() เป็นประธานของที่ประชุม
(2) เป็นประธานของที่ประชุม


() รักษาความสงบเรียบร้อยในที่ประชุมวุฒิสภา ตลอดถึงบริเวณที่ประชุม วุฒิสภา
(3) รักษาความสงบเรียบร้อยในที่ประชุมวุฒิสภา ตลอดถึงบริเวณที่ประชุมวุฒิสภา


() เป็นผู้แทนวุฒิสภาในกิจการภายนอก
(4) เป็นผู้แทนวุฒิสภาในกิจการภายนอก


() แต่งตั้งกรรมการเพื่อดำเนินการใด ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อกิจการของวุฒิสภา
(5) แต่งตั้งกรรมการเพื่อดำเนินการใด ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อกิจการของวุฒิสภา


() อำนาจและหน้าที่อื่นตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้หรือตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้
(6) อำนาจและหน้าที่อื่นตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้หรือตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้


อำนาจหน้าที่ตามประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๕
อำนาจหน้าที่ตาม[[ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2545]]


. ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๕
1. ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2545


.เป็นผู้รักษาการตามประมวลจริยธรรมฯ
1.1 เป็นผู้รักษาการตามประมวลจริยธรรมฯ


.เป็นประธานคณะกรรมการจริยธรรมวุฒิสภา
1.2 เป็นประธานคณะกรรมการจริยธรรมวุฒิสภา


. ระเบียบว่าด้วยวิธีพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๔๘
2. ระเบียบว่าด้วยวิธีพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมวุฒิสภา พ.ศ. 2548


.เป็นผู้รักษาการตามระเบียบฯ
2.1 เป็นผู้รักษาการตามระเบียบฯ


.หน้าที่ในการจัดส่งสำเนาคำร้องและหนังสือกำหนดเวลาให้ยื่นคำชี้แจง พร้อมทั้งสั่งปิดประกาศ และส่งสำเนาประกาศ  
2.2 หน้าที่ในการจัดส่งสำเนาคำร้องและหนังสือกำหนดเวลาให้ยื่นคำชี้แจง พร้อมทั้งสั่งปิดประกาศ และส่งสำเนาประกาศ  


==รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน [๓๖]==
==รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน<ref>'''รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี''' http://th.wikipedia.org/wiki.</ref>==


<center>
<center>


{|
{| border="1" cellpadding="1" cellspacing="1"
|'''ลำดับ'''
|'''ลำดับ'''
|'''รายนาม'''
|'''รายนาม'''
บรรทัดที่ 249: บรรทัดที่ 247:
|-
|-
|1
|1
|พันตรี วิลาศ โอสถานนท์
|[[วิลาศ โอสถานนท์|พันตรี วิลาศ โอสถานนท์]]
|ประธาน พฤฒสภา
|ประธานพฤฒสภา
|มิ.ย.๒๔๘๙   ๒๔ ส.ค. ๒๔๘๙
|4 มิ.ย. 2489 24 ส.ค. 2489
|ประธานรัฐสภา
|ประธานรัฐสภา
|รธน. ๒๔๘๙
|รธน. 2489
|-
|-
|2
|2<br><br>
|พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี(กระแส ประวาหะนาวิน)
|[[พระยาศรยุทธเสนี|พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี]]<br>(กระแส ประวาหะนาวิน)
|ประธานพฤฒสภา
|ประธานพฤฒสภา<br><br>
|๓๑ ส.ค.๒๔๘๙   ๘ พ.ย. ๒๔๙๐
|31 ส.ค. 2489 8 พ.ย. 2490<br><br>
|ประธานรัฐสภา
|ประธานรัฐสภา<br><br>
|รธน. ๒๔๘๙
|รธน. 2489<br><br>
|-
|-
|3
|3
|พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี
|[[พระยาศรยุทธเสนี|พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี]]
|ประธานวุฒิสภา
|ประธานวุฒิสภา
|๒๖ พ.ย.๒๔๙๐ ๒๙ พ.ย. ๒๔๙๔
|26 พ.ย. 2490 29 พ.ย. 2494
|ประธานรัฐสภา
|ประธานรัฐสภา
|รธน. (ชั่วคราว) ๒๔๙๐
|รธน. (ชั่วคราว) 2490
|-
| -
|ไม่มีวุฒิสภา
| -
|พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2511
| -
|รัฐประหาร 2494, 2500, 2501
|-
|4<br><br>
|[[นายวรการบัญชา|พันเอก นายวรการบัญชา]]<br>(บุญเกิด สุตันตานนท์)
|ประธานวุฒิสภา<br><br>
|22 ก.ค. 2511 – 17 พ.ย. 2514<br><br>
|ประธานรัฐสภา<br><br>
|รธน. 2511<br><br>
|-
| -
|ไม่มีวุฒิสภา
| -
|พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2517
| -
|รัฐประหาร 2514
|-
|5
|นายจิตติ ติงศภัทิย์
|ประธานวุฒิสภา
|พ.ศ. 2517 - พ.ศ. 2519
|รองประธานรัฐสภา
|รธน. 2517
|-
|-
|
| -
|ไม่มีวุฒิสภา
|ไม่มีวุฒิสภา
|
| -
|พ.ศ. ๒๔๙๔ - พ.ศ. ๒๕๑๑
|พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522
|
| -
|รัฐประหาร ๒๔๙๔, ๒๕๐๐, ๒๕๐๑
|รัฐประหาร 2519, 2520
|-
|6
|พลอากาศเอก หะริน หงสกุล
|ประธานวุฒิสภา
|9 พ.ค. 2522 – 19 มี.ค. 2526
|ประธานรัฐสภา
|รธน. 2521
|-
|-
|4
|7
|พันเอก นายวรการบัญชา(บุญเกิด สุตันตานนท์)
|นายจารุบุตร เรืองสุวรรณ
|ประธานวุฒิสภา
|ประธานวุฒิสภา
|๒๒ ก.. ๒๕๑๑ ๑๗ พ.. ๒๕๑๔
|26 เม.. 2526 19 มี.. 2527
|ประธานรัฐสภา
|ประธานรัฐสภา
|รธน. ๒๕๑๑
|รธน. 2521
|-
|-
|1
|8
|
|นายอุกฤษ มงคลนาวิน
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|30 เม.ย. 2527 – 21 เม.ย. 2532
|
|ประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2521
|-
|-
|1
|9
|
|ร้อยตำรวจตรี วรรณ ชันซื่อ
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|4 พ.ค. 2532 – 23 ก.พ. 2534
|
|ประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2521
|-
|-
|1
| -
|
|ไม่มีวุฒิสภา
|
| -
|
|23 ก.พ. 2534 - เม.ย. 2535
|
| -
|
|รัฐประหาร 2534
|-
|-
|1
|10
|
|นายอุกฤษ มงคลนาวิน
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|3 เม.ย. 2535 – 26 พ.ค. 2535
|
|ประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2534
|-
|-
|1
|11
|
|[[มีชัย ฤชุพันธุ์|นายมีชัย ฤชุพันธุ์]]
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|28 มิ.ย. 2535 – 29 มิ.ย. 2535
|
|ประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2534
|-
|-
|1
|12
|
|[[มีชัย ฤชุพันธุ์|นายมีชัย ฤชุพันธุ์]]
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2539
|
|รองประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2534 (แก้ไขเพิ่มเติม 2535)
|-
|-
|1
|13
|
|[[มีชัย ฤชุพันธุ์|นายมีชัย ฤชุพันธุ์]]
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|พ.ศ. 2539 – 21 มี.ค. 2543
|
|รองประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2534, รธน. 2540
|-
|-
|1
|14
|
|[[สนิท วรปัญญา|นายสนิท วรปัญญา]]
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2545
|
|รองประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2540
|-
|-
|1
|15
|
|[[มนูญกฤต รูปขจร|พลตรี มนูญกฤต รูปขจร]]
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547
|
|รองประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2540
|-
|-
|1
|16
|
|[[สุชน ชาลีเครือ|นายสุชน ชาลีเครือ]]
|
|ประธานวุฒิสภา
|
|พ.ศ. 2547 – 21 มี.ค. 2549
|
|รองประธานรัฐสภา
|
|รธน. 2540
|-
|-
|1
| -
|
|วุฒิสภาหมดวาระ
|
| -
|
|21 มี.ค. 2549 – 19 ก.ย. 2549
|
| -
|
| -
|-
|-
|1
| -
|
|ไม่มีวุฒิสภา
|
| -
|
|19 ก.ย. 2549 – 24 ส.ค. 2550
|
| -
|
|รัฐประหาร 2549
|-
|-
|17
|[[ประสพสุข บุญเดช|นายประสพสุข บุญเดช]]
|ประธานวุฒิสภา
|13 มี.ค. 2551 - ปัจจุบัน
|รองประธานรัฐสภา
|รธน. 2550
|}
|}


<center>
</center>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 381: บรรทัดที่ 420:
==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๑๑๘ ก, ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๒.
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 116 ตอนที่ 118 ก, 25 พฤศจิกายน 2542.


พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๓๔ ก, พฤษภาคม ๒๕๔๒.
พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 116 ตอนที่ 34 ก, 4 พฤษภาคม 2542.


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๑๑๕ ก, ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๒.
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 116 ตอนที่ 115 ก, 18 พฤศจิกายน 2542.


พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๒, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๘๑ ก, ๑๔ กันยายน ๒๕๔๒.
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. 2542, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 116 ตอนที่ 81 ก, 14 กันยายน 2542.


พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗๖ ตอนที่ ๙๘ ก, ๒๗ ตุลาคม ๒๕๐๒.
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 76 ตอนที่ 98 ก, 27 ตุลาคม 2502.


สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. กฏหมายที่เกี่ยวข้องและประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์ชวนพิมพ์). ๒๕๔๖.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. '''กฏหมายที่เกี่ยวข้องและประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.''' (กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์ชวนพิมพ์). 2546.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ข้อบังคับการประชุมการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๔  ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๔๔ ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๕. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). ๒๕๔๕.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ข้อบังคับการประชุมการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544 ข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. 2542 ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2544 ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2544 ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2545.''' (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2545.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ข้อบังคับการประชุมการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๑. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). ๒๕๕๑.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ข้อบังคับการประชุมการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551.''' (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2551.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). ๒๕๕๐.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.''' (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2550.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ รวมกฎ ก.ร. . (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). ๒๕๕๑.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 รวมกฎ ก.ร..''' (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2551.


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==
บรรทัดที่ 409: บรรทัดที่ 448:
*[[รายนามประธานวุฒิสภาไทย]]
*[[รายนามประธานวุฒิสภาไทย]]


[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]
[[หมวดหมู่:ประธานวุฒิสภา]]
[[หมวดหมู่:นักการเมือง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:51, 20 กรกฎาคม 2553

ผู้เรียบเรียง นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


บทนำ

เมื่อเริ่มแรกภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย รูปแบบและโครงสร้างรัฐสภาของไทยนั้น ใช้ระบบสภาเดียว คือสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภทมาเป็นเวลา 14 ปี ในปี พ.ศ. 2489 รูปแบบของรัฐสภาก็มีการเปลี่ยนแปลงเริ่มใช้ระบบ 2 สภาเป็นครั้งแรก ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนและวุฒิสภา โดยสภาผู้แทน ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน จำนวน 178 คน และพฤฒสภา ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 80 คน มาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อมและลับ ซึ่งสภาผู้แทนจะทำหน้าที่เลือกพฤฒสภา[1] พฤฒสภาชุดดังกล่าวมีพันตรี วิลาศ โอสถานนท์ เป็นประธานพฤฒสภา ซึ่งต่อมาพฤฒสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489[2] ได้พัฒนามาเป็นวุฒิสภาจึงอาจกล่าวได้ว่าประธานวุฒิสภามีขึ้นตั้งแต่นั้นเป็นครั้งแรก โดยประธานพฤฒสภามีหน้าที่ดำเนินกิจการของสภาให้เป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับการประชุมของพฤฒสภา รองประธานมีหน้าที่กระทำกิจการแทนประธานเมื่อประธานไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ความจำเป็นที่ต้องมีพฤฒสภา ก็เพื่อทำหน้าที่ทบทวนรับผิดชอบในการให้การรับรองการตรากฎหมายและญัตติอื่นที่ส่งมาจากสภาผู้แทนราษฎร นอกเหนือจากหน้าที่ทบทวนแล้ว พฤฒสภาอาจชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง เพื่อให้แน่ใจว่าร่างกฎหมายของสภาผู้แทนราษฎรได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้องเพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน

รัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 นี้สิ้นสุดลงโดยการยึดอำนาจการปกครองประเทศเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 โดย “คณะทหารของชาติ” ภายใต้การนำของ พลโท ผิน ชุณหะวัณ รัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มาที่กำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วยสองสภา คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สำหรับที่มาของวุฒิสภา จะมาจากการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น จนกระทั่งต่อมาได้มีการตั้ง “สภาร่างรัฐธรรมนูญ” ขึ้น ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งจากรัฐสภาจำนวน 99 คน มีหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการปฏิรูปการเมือง จนในที่สุดก็ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540[3] ที่กำหนดให้สมาชิกรัฐสภามี 2 สภา คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 500 คน และสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 200 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครในเขตเลือกตั้งนั้นได้ 1 คน จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้มากกว่า 1 คน ให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุด เรียงตามลำดับจนครบจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่พึงมีในจังหวัดนั้นเป็นสมาชิกวุฒิสภา เพื่อทำหน้าที่นิติบัญญัติ และตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ตลอดจนการพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ สมาชิกวุฒิสภา มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี และไม่สามารถเป็นสมาชิกวุฒิสภา 2 สมัยติดต่อกันได้[4] สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกที่สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543[5] โดยวุฒิสภาชุดนี้ได้เลือกนายสนิท วรปัญญา เป็นประธานวุฒิสภา

สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นฉบับปัจจุบัน กำหนดให้มีสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 76 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและ 74 คน มาจากการสรรหาโดยองค์กรอาชีพรวมแล้วมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งสิ้น 150 คน โดยมีการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 74 คน ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2551 และมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 76 คน ในวันที่ 2 มีนาคม 2551 เมื่อได้สมาชิกวุฒิสภาแล้ว ที่ประชุมได้เลือกนายประสพสุข บุญเดช เป็นประธานวุฒิสภา[6]

1. ที่มาของประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา[7]

นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันผู้ที่ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา จะต้องเป็นสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งได้รับการเลือกจากสมาชิกวุฒิสภาด้วยกันให้เป็นประธานวุฒิสภาคนหนึ่ง และรองประธานวุฒิสภาคนหนึ่งหรือสองคนหรือหลายคน ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้วแต่กรณี

1.1 การเลือกประธานวุฒิสภา ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551 มีวิธีการเลือกประธานวุฒิสภา ดังนี้

ผู้มีสิทธิเสนอชื่อ ในการเลือกประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภาแต่ละคนมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกได้หนึ่งชื่อ

ผู้รับรองการเสนอชื่อต้องมีสมาชิกวุฒิสภารับรองไม่น้อยกว่าสิบคน

ในกรณีมีการเสนอชื่อเพียงชื่อเดียว ให้ถือว่าผู้ถูกเสนอชื่อเป็นผู้ได้รับเลือก

ในกรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อหรือมากกว่าสองชื่อ ให้มีการลงคะแนนเป็นการลับโดยการเขียนชื่อผู้ซึ่งตนประสงค์จะเลือกลงบนแผ่นกระดาษใส่ซองที่เจ้าหน้าที่จัดให้ แล้วเรียกชื่อสมาชิกตามลำดับอักษร มาลงคะแนนเป็นรายคน โดยนำซองใส่ลงในภาชนะที่จัดไว้เพื่อการนั้น ในการตรวจนับคะแนนให้ประธานของที่ประชุมเชิญสมาชิกไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นกรรมการตรวจนับคะแนน กรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก ถ้าได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน ให้เลือกใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้าคะแนนเท่ากันอีก ให้ใช้วิธีจับสลาก กรณีมีการเสนอชื่อมากกว่าสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดและมีคะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุมเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าผู้ได้คะแนนสูงสุดมีคะแนนไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุม ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองหนึ่งคนมาให้สมาชิกลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่ง หรือ

- ถ้ากรณีมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดดังกล่าวมาให้สมาชิกลงคะแนน หรือ

- ถ้ามีผู้ใดคะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกและลำดับที่สองทุกคนมาให้สมาชิกลงคะแนน ในการนี้ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าคะแนนเท่ากัน ให้ใช้วิธีจับสลาก ให้ประธานของที่ประชุมประกาศชื่อผู้ได้รับเลือกต่อที่ประชุมวุฒิสภา

1.2 การแต่งตั้งประธานวุฒิสภา เมื่อวุฒิสภาได้เลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาแล้ว ให้เลขาธิการวุฒิสภาแจ้งไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์เพื่อทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง

2. การพ้นจากตำแหน่งของประธานวุฒิสภา[8]

2.1 การพ้นจากตำแหน่งตามวาระ รัฐธรรมนูญมิได้กำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของประธานวุฒิสภาไว้อย่างชัดเจน เพียงแต่กำหนดไว้ว่าประธานและรองประธานวุฒิสภา ดำรงตำแหน่งจนถึงวันก่อนวันเลือกประธานคนใหม่เท่านั้น

2.2 การพ้นจากตำแหน่งในกรณีอื่น นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ดังกล่าวมาแล้ว ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาย่อมพ้นจากตำแหน่ง ในกรณีดังต่อไปนี้

(1) ขาดจากสมาชิกภาพแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิก

(2) ลาออกจากตำแหน่ง

(3) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือข้าราชการการเมืองอื่น

(4) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก

3. อำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา

ประธานวุฒิสภา มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดในบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา และกฎหมายอื่น เมื่อประธานวุฒิสภาไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ในกรณีที่มีรองประธานวุฒิสภาสองคน รองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานวุฒิสภา ถ้ารองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่งไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รองประธานวุฒิสภาคนที่สอง จะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานวุฒิสภา

รัฐธรรมนูญได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภาไว้เป็นการทั่วๆ ไปว่าให้ประธานวุฒิสภามีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการของวุฒิสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับ อีกทั้งให้มีบทบาทหรืออำนาจหน้าที่อื่นๆ บัญญัติไว้เป็นการเฉพาะเรื่องอีกหลายประการ ดังนี้

1. เป็นผู้นำความกราบบังคมทูลและเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในกรณีดังต่อไปนี้

1.1 การแต่งตั้งประธานกรรมการการเลือกตั้งและกรรมการการเลือกตั้ง[9]

1.2 การแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน[10]

1.3 การแต่งตั้งประธานกรรมการสิทธิมนุษยแห่งชาติ และกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ[11]

1.4 การแต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ[12]

1.5 การแต่งตั้งประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ[13]

1.6 การแต่งตั้งประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน[14]

2. เรียกประชุมวุฒิสภา เพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ และหากกรณีมีผู้ได้คะแนนเสียงเท่ากันในลำดับใดอันเป็นเหตุให้มีผู้รับได้เลือกเกินจำนวนที่จะพึงมีได้ตามกฎหมาย ให้ประธานวุฒิสภาจับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก[15]

3. เป็นผู้ส่งคำร้องหรือความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยกรณีต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ[16]

3.1 ส่งคำร้องเพื่อให้วินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาคนใดคนหนึ่ง สิ้นสุดลงหรือไม่

3.2 ส่งคำร้องเพื่อให้วินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งสิ้นสุดลงหรือไม่

3.3 ส่งร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญไปให้วินิจฉัยว่ามีหลักการอย่างเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ต้องยับยั้งไว้หรือไม่

3.4 ส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาที่เข้าชื่อกันจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อให้วินิจฉัยว่าการตราพระราชกำหนด เป็นไปเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะหรือไม่

3.5 ส่งความเห็นสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อให้วินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด แล้วแต่กรณี ที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่

3.6 ส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 เพื่อให้วินิจฉัยว่าร่างข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือไม่

4. ดำเนินกิจการวุฒิสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับ[17]

5. จัดให้มีการบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกวุฒิสภาแต่ละคนโดยเปิดเผย เว้นแต่กรณีการออกเสียงลงคะแนนลับ[18]

6. จัดให้มีการโฆษณาคำชี้แจง ในกรณีมีการกล่าวถ้อยคำใดในที่ประชุมวุฒิสภาอันอาจเป็นเหตุให้มีบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกวุฒิสภาได้รับความเสียหายและบุคคลนั้น ได้ร้องขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา[19]

7. สั่งปล่อยสมาชิกวุฒิสภาผู้ถูกจับในขณะกระทำผิดในระหว่างสมัยประชุมได้[20]

8. ร้องขอให้ปล่อยสมาชิกวุฒิสภาที่ถูกคุมขังในระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาอยู่ก่อนสมัยประชุม เพื่อให้ปล่อยเมื่อถึงสมัยประชุม[21]

9. อาจได้รับการขอปรึกษาจากนายกรัฐมนตรีเพื่อประกาศให้มีการออกเสียงประชามติ[22]

10. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ หรือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน เพื่อขอให้วุฒิสภามีมติให้กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง[23]

11. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภามีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เพื่อส่งคำร้องดังกล่าวไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษาว่ากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติผู้ใดร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ[24]

12. รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ หรือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน ซึ่งเข้าชื่อกัน ขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ฯลฯ ออกจากตำแหน่ง[25]

13. รับคำร้องของสมาชิกวุฒิสภา จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อกันขอให้ถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาด้วยกันเองออกจากตำแหน่ง[26]

14. ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดำเนินการไต่สวน เนื่องจากได้มีการเข้าชื่อร้องขอต่อประธานวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนบุคคลตามมาตรา 270 ออกจากตำแหน่ง[27]

15. รับรายงานไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และจัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณาโดยเร็ว นอกจากนี้ หากอยู่นอกสมัยประชุมให้แจ้งประธานรัฐสภาเพื่อนำความกราบบังคมทูลฯ เพื่อทรงเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ[28]

อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอื่น

1. พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518

เป็นผู้บังคับบัญชาของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา โดยมีบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา ดังนี้

มาตรา 8 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภามีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของวุฒิสภา มีเลขาธิการวุฒิสภาเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นต่อประธานวุฒิสภา .... ฯลฯ ....

มาตรา 22 บรรดาอำนาจในการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติหรือการปฏิบัติราชการตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด กำหนดว่าเป็นอำนาจของ ....ฯลฯ.... รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้เป็นอำนาจของประธานวุฒิสภาสำหรับสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ....ฯลฯ....

2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2535

2.1 เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุข้าราชการรัฐสภาสามัญระดับ 10 และระดับ 11 และนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง

2.2 เป็นผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาสามัญระดับ 10 และระดับ 11

2.3 เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญ (ระดับ 10 และระดับ 11) ซึ่งออกจากราชการภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย กลับเข้ารับราชการสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

2.4 เป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งข้าราชการัฐสภาฝ่ายการเมือง และสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง

2.5 เป็นผู้มีอำนาจสั่งอนุญาตให้ข้าราชการัฐสภาสามัญตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไปออกจากราชการ

2.6 เป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไป ออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนได้

2.7 เป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย และสั่งลงโทษทางวินัยข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไป

2.8 เป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไปพักราชการ หรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือสั่งให้กลับเข้ารับราชการ

3. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542[29]

3.1 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ ป.ป.ช.

3.2 เป็นผู้จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการ ป.ป.ช. รับบัญชีรายชื่อและเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกบุคคลผู้ได้รับเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการ ป.ป. ช.

3.3 เป็นผู้รับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ลงลายมือชื่อกำกับในบัญชีฯ รวมทั้งตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินดังกล่าวของกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

3.4 เป็นผู้รับคำร้องกรณีมีการเข้าชื่อร้องขอเพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาซึ่งดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง

3.5 เป็นผู้รับการแสดงตนของผู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อ กรณีประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร้องขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง

3.6 เป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของคำร้องขอให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง หากเห็นว่าคำร้องขอไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้แจ้งให้ผู้ร้องขอหรือผู้ริเริ่มทราบเพื่อดำเนินการให้ถูกต้องต่อไป

3.7 ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเพื่อไต่สวนข้อเท็จจริง

3.8 เป็นผู้รับรายงานการไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

3.9 จัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณา กรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่า ข้อกล่าวหามีมูล

3.10 เป็นผู้แจ้งมติของวุฒิสภา กรณีมีมติให้ถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาซึ่งดำรงตำแหน่งตามมาตรา 58 ออกจากตำแหน่ง ไปยังผู้เกี่ยวข้อง

3.11 เป็นผู้รับและส่งคำร้องกรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา เข้าชื่อดำเนินคดีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษา

3.12 เป็นผู้วินิจฉัยสั่งว่ามีเหตุผล ความจำเป็น ความเหมาะสมและสมควรที่สมาชิกวุฒิสภาคนใดซึ่งรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ไว้ให้ตกเป็นสิทธิของสมาชิกวุฒิสภาคนนั้นหรือไม่[30]

4. พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542[31]

4.1 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

4.2 รับบัญชีรายชื่อ และเรียกประชุมวุฒิสภา เพื่อมีมติเลือกกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และหากมีกรณีมีผู้ได้คะแนนเสียงเท่ากันอันเป็นเหตุให้ผู้มีผู้ได้รับเลือกเกินจำนวนที่จะพึงมีได้ตามกฎหมาย ให้ประธานวุฒิสภาจับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก

4.3 รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา ซึ่งเข้าชื่อกันขอให้วุฒิสภาถอดถอนกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

5. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. 2542[32]

5.1 เป็นผู้เรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการแผ่นดิน ในกรณีที่มีผู้รับคะแนนเท่ากันระดับใดอันเป็นเหตุให้มีผู้ได้รับเลือกเกิน 3 คน ให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้จับสลากว่าผู้ใดเป็นผู้ได้รับเลือก

5.2 เป็นผู้นำรายชื่อขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน

6. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542[33]

6.1 จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการตรวจเงินแผ่นดิน รับบัญชีรายชื่อและเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

6.2 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

6.3 รับคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพื่อขอให้วุฒิสภามีมติให้กรรมการตรวจเงินแผ่นดินพ้นจากตำแหน่ง

6.4 รับบัญชีรายชื่อผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินแล้วเสนอต่อวุฒิสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ

6.5 เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง และนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน

6.6 รับรายงานของกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน แล้วส่งให้คณะกรรมาธิการของวุฒิสภา ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการติดตามผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เพื่อพิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป

6.7 ร่วมแต่งตั้งผู้ตรวจสอบการรับจ่ายเงินและทรัพย์สิน บัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานอื่นของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

7. พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542[34]

7.1 เป็นผู้ออกบัตรประจำตัว สำหรับตำแหน่งประธานวุฒิสภา รองประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา เลขาธิการวุฒิสภา และข้าราชการฝ่ายการเมืองในวุฒิสภา

7.2 เป็นผู้รับการยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐของบุคคลดังต่อไปนี้ ได้แก่ ประธานวุฒิสภา รองประธานวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา เลขาธิการวุฒิสภา และข้าราชการฝ่ายการเมืองในวุฒิสภา

8. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502[35]

8.1 หน้าที่รับผิดชอบในการยื่นงบประมาณประจำปีของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาต่อผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ

อำนาจหน้าที่ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551

หมวด 2 : อำนาจและหน้าที่ของประธานวุฒิสภา

ข้อ 10 ประธานวุฒิสภามีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(1) ควบคุมและดำเนินกิจการของวุฒิสภา

(2) เป็นประธานของที่ประชุม

(3) รักษาความสงบเรียบร้อยในที่ประชุมวุฒิสภา ตลอดถึงบริเวณที่ประชุมวุฒิสภา

(4) เป็นผู้แทนวุฒิสภาในกิจการภายนอก

(5) แต่งตั้งกรรมการเพื่อดำเนินการใด ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อกิจการของวุฒิสภา

(6) อำนาจและหน้าที่อื่นตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้หรือตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้

อำนาจหน้าที่ตามประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2545

1. ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2545

1.1 เป็นผู้รักษาการตามประมวลจริยธรรมฯ

1.2 เป็นประธานคณะกรรมการจริยธรรมวุฒิสภา

2. ระเบียบว่าด้วยวิธีพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมวุฒิสภา พ.ศ. 2548

2.1 เป็นผู้รักษาการตามระเบียบฯ

2.2 หน้าที่ในการจัดส่งสำเนาคำร้องและหนังสือกำหนดเวลาให้ยื่นคำชี้แจง พร้อมทั้งสั่งปิดประกาศ และส่งสำเนาประกาศ

รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน[36]

ลำดับ รายนาม ตำแหน่ง ระยะเวลา ตำแหน่งในรัฐสภา หมายเหตุ
1 พันตรี วิลาศ โอสถานนท์ ประธานพฤฒสภา 4 มิ.ย. 2489 – 24 ส.ค. 2489 ประธานรัฐสภา รธน. 2489
2

พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี
(กระแส ประวาหะนาวิน)
ประธานพฤฒสภา

31 ส.ค. 2489 – 8 พ.ย. 2490

ประธานรัฐสภา

รธน. 2489

3 พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี ประธานวุฒิสภา 26 พ.ย. 2490 – 29 พ.ย. 2494 ประธานรัฐสภา รธน. (ชั่วคราว) 2490
- ไม่มีวุฒิสภา - พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2511 - รัฐประหาร 2494, 2500, 2501
4

พันเอก นายวรการบัญชา
(บุญเกิด สุตันตานนท์)
ประธานวุฒิสภา

22 ก.ค. 2511 – 17 พ.ย. 2514

ประธานรัฐสภา

รธน. 2511

- ไม่มีวุฒิสภา - พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2517 - รัฐประหาร 2514
5 นายจิตติ ติงศภัทิย์ ประธานวุฒิสภา พ.ศ. 2517 - พ.ศ. 2519 รองประธานรัฐสภา รธน. 2517
- ไม่มีวุฒิสภา - พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 - รัฐประหาร 2519, 2520
6 พลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธานวุฒิสภา 9 พ.ค. 2522 – 19 มี.ค. 2526 ประธานรัฐสภา รธน. 2521
7 นายจารุบุตร เรืองสุวรรณ ประธานวุฒิสภา 26 เม.ย. 2526 – 19 มี.ค. 2527 ประธานรัฐสภา รธน. 2521
8 นายอุกฤษ มงคลนาวิน ประธานวุฒิสภา 30 เม.ย. 2527 – 21 เม.ย. 2532 ประธานรัฐสภา รธน. 2521
9 ร้อยตำรวจตรี วรรณ ชันซื่อ ประธานวุฒิสภา 4 พ.ค. 2532 – 23 ก.พ. 2534 ประธานรัฐสภา รธน. 2521
- ไม่มีวุฒิสภา - 23 ก.พ. 2534 - เม.ย. 2535 - รัฐประหาร 2534
10 นายอุกฤษ มงคลนาวิน ประธานวุฒิสภา 3 เม.ย. 2535 – 26 พ.ค. 2535 ประธานรัฐสภา รธน. 2534
11 นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานวุฒิสภา 28 มิ.ย. 2535 – 29 มิ.ย. 2535 ประธานรัฐสภา รธน. 2534
12 นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานวุฒิสภา พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2539 รองประธานรัฐสภา รธน. 2534 (แก้ไขเพิ่มเติม 2535)
13 นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานวุฒิสภา พ.ศ. 2539 – 21 มี.ค. 2543 รองประธานรัฐสภา รธน. 2534, รธน. 2540
14 นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2545 รองประธานรัฐสภา รธน. 2540
15 พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ประธานวุฒิสภา พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547 รองประธานรัฐสภา รธน. 2540
16 นายสุชน ชาลีเครือ ประธานวุฒิสภา พ.ศ. 2547 – 21 มี.ค. 2549 รองประธานรัฐสภา รธน. 2540
- วุฒิสภาหมดวาระ - 21 มี.ค. 2549 – 19 ก.ย. 2549 - -
- ไม่มีวุฒิสภา - 19 ก.ย. 2549 – 24 ส.ค. 2550 - รัฐประหาร 2549
17 นายประสพสุข บุญเดช ประธานวุฒิสภา 13 มี.ค. 2551 - ปัจจุบัน รองประธานรัฐสภา รธน. 2550

อ้างอิง

  1. ความเป็นมาของสมาชิกวุฒิสภา จากงานการมีส่วนร่วม สนง.กกต.จว.สมุทรสาคร http://www.samutsakhon.biz
  2. รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org/wiki
  3. ความเป็นมาของสมาชิกวุฒิสภา จากงานการมีส่วนร่วม สนง.กกต.จว.สมุทรสาคร http://www.samutsakhon.biz
  4. ประวัติความเป็นมาของวุฒิสภา จาก knowledge วิชาการ ความรู้ โครงงาน ข้อสอบ E – learning แบบทดสอบ การเรียนรู้ http://www.knowledge.eduzones.com
  5. รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org/wiki
  6. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550, หน้า 79.
  7. ประมวลอำนาจหน้าที่ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา จากวุฒิสภา http://www.senate.go.th/km/data/function/function3.htm
  8. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550, หน้า 88-89.
  9. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 229 และ มาตรา 231.
  10. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พุทธศักราช 2542 มาตรา 8.
  11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 256.
  12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 204.
  13. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 6-7.
  14. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 252.
  15. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 206, 231 และ 246.
  16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 91, 141, 149, 154, 155, 182 และ 185.
  17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 125.
  18. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 126.
  19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 130.
  20. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 131.
  21. เรื่องเดียวกัน, มาตรา 131.
  22. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 165.
  23. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 271.
  24. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 249.
  25. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 271.
  26. เรื่องเดียวกัน, มาตรา 271.
  27. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 272.
  28. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 273.
  29. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 7, 15, 17, 35, 45, 56, 59 และ 60-65.
  30. ตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2543 (ข้อ 4, 5 และ 7) ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 103 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
  31. พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 5, 8 และ 11.
  32. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. 2542 มาตรา 6 และมาตรา 8.
  33. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542 มาตรา 8, 9, 13, 30, 31, 47-50 และ 59.
  34. พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 และกฎกระทรวง (พ.ศ. 2542) ออกตามพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542.
  35. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 13.
  36. รายนามประธานวุฒิสภาตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org/wiki.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

มานิตย์ จุมปา และคณะ, โครงการศึกษาวิเคราะห์เรื่อง ที่มาและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาที่เหมาะสมกับประเทศไทย, สนับสนุนโดย คณะกรรมาธิการวิสามัญวิชาการตรวจร่างรัฐธรรมนูญและร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ สภาร่างรัฐธรรมนูญ.

บรรณานุกรม

พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 118 ก, 25 พฤศจิกายน 2542.

พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 34 ก, 4 พฤษภาคม 2542.

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 115 ก, 18 พฤศจิกายน 2542.

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. 2542, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 81 ก, 14 กันยายน 2542.

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 76 ตอนที่ 98 ก, 27 ตุลาคม 2502.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. กฏหมายที่เกี่ยวข้องและประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์ชวนพิมพ์). 2546.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ข้อบังคับการประชุมการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544 ข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. 2542 ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2544 ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2544 ประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2545. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2545.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ข้อบังคับการประชุมการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2551.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2550.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 รวมกฎ ก.ร.. (กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). 2551.

ดูเพิ่มเติม