ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำ...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 19 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม
'''ผู้เรียบเรียง''' ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม
----


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง  
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง  
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 7:
----
----


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ที่สมาชิกในสังกัดของพรรคมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี มีหน้าที่สำคัญคือ เป็นผู้นำในการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล และควบคุมให้ฝ่ายบริหารดำเนินการบริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา โดยเรียกพรรคการเมืองที่ทำหน้าที่นี้ว่า กลุ่มฝ่ายค้าน หรือพรรคฝ่ายค้าน และหากมีกลุ่มฝ่ายค้านประกอบด้วยหลายพรรคการเมือง ก็เรียกว่า พรรคร่วมฝ่ายค้าน ซึ่งนับเป็นกลไกสำคัญในการถ่วงดุลอำนาจทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
'''ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร''' เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองใน[[สภาผู้แทนราษฎร]] ที่สมาชิกในสังกัดของพรรคมิได้ดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]] มีหน้าที่สำคัญคือ เป็นผู้นำใน[[การตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล]] และควบคุมให้ฝ่ายบริหารดำเนิน[[การบริหารราชการแผ่นดิน]] ให้เป็นไปตามที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา โดยเรียกพรรคการเมืองที่ทำหน้าที่นี้ว่า กลุ่มฝ่ายค้าน หรือ[[พรรคฝ่ายค้าน]] และหากมีกลุ่มฝ่ายค้านประกอบด้วยหลายพรรคการเมือง ก็เรียกว่า [[พรรคร่วมฝ่ายค้าน]] ซึ่งนับเป็นกลไกสำคัญในการถ่วงดุลอำนาจทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา


== ความหมาย ==
==ความหมาย==


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (Leader of the Opposition) เป็นตำแหน่งสำคัญที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้นจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ที่สมาชิกในสังกัดของพรรคมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี โดยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่นั้นจะต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร [๑] และหากไม่มีพรรคการเมืองใดมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรถึงหนึ่งในห้า ก็ให้เลือกหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ใช้วิธีการจับสลากตัดสิน []  
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (Leader of the Opposition) เป็นตำแหน่งสำคัญที่[[พระมหากษัตริย์]]ทรงแต่งตั้งขึ้นจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ที่สมาชิกในสังกัดของพรรคมิได้ดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]] และมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี โดยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่นั้นจะต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2548, หน้า 608-609.</ref> และหากไม่มีพรรคการเมืองใดมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรถึงหนึ่งในห้า ก็ให้เลือกหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ใช้วิธีการ[[จับสลาก]]ตัดสิน<ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537, หน้า 158.</ref>


== ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา ==
==ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา==


ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทน ราษฎรถูกบัญญัติครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ โดยกำหนดว่า “ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎร พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร”
ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทน ราษฎรถูกบัญญัติครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 โดยกำหนดว่า “ภายหลังที่[[คณะรัฐมนตรี]]ได้รับความไว้วางใจจาก[[สภาผู้แทนราษฎร]] [[พระมหากษัตริย์]]จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และให้[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]เป็น[[ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ]]ในการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร”


ทั้งนี้ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ ก็ได้บัญญัติไว้ในทำนองเดียวกัน ต่อมาเมื่อมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. ๒๕๓๔ (ฉบับที่ ) พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้มีแนวคิดว่า หากกำหนดคุณสมบัติของผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไว้ว่า ต้องเป็นหัวหน้าพรรรคการเมืองที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดไม่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีและมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเพียงอย่างเดียว หากในอนาคตไม่มีพรรคฝ่ายค้านที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกินกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด อาจเป็นเหตุให้ช่วงเวลาดังกล่าวไม่มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ดังนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๕๓๘  จึงได้บัญญัติแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาว่า “ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น คือ มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก” ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐  และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ก็ได้บัญญัติไว้ในทำนองเดียวกัน
ทั้งนี้ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 ก็ได้บัญญัติไว้ในทำนองเดียวกัน ต่อมาเมื่อมี[[การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ]]แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2538 ได้มีแนวคิดว่า หากกำหนดคุณสมบัติของผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไว้ว่า ต้องเป็นหัวหน้าพรรรคการเมืองที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดไม่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีและมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเพียงอย่างเดียว หากในอนาคตไม่มีพรรคฝ่ายค้านที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกินกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด อาจเป็นเหตุให้ช่วงเวลาดังกล่าวไม่มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ดังนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 จึงได้บัญญัติแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาว่า “ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น คือ มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธี[[จับสลาก]]” ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ได้บัญญัติไว้ในทำนองเดียวกัน


รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับที่ผ่านมา บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ไว้ดังนี้
รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับที่ผ่านมา บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ไว้ดังนี้


. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ [๓]
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 169 เล่ม 91, วันที่ 7 ตุลาคม 2517.</ref>


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่บัญญัติให้มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติในมาตรา ๑๒๖ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่บัญญัติให้มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติในมาตรา 126 ดังนี้


“มาตรา ๑๒๖  ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา ๑๘๔ แล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร  
“มาตรา 126 ภายหลังที่[[คณะรัฐมนตรี]]ได้รับความไว้วางใจจาก[[สภาผู้แทนราษฎร]] ตามมาตรา 184 แล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร  


ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร  
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร  


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 130 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”


. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ [๔]
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 146 (ฉบับพิเศษ) เล่ม 95, วันที่ 22 ธันวาคม 2521.</ref>


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑  บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา ๑๐๕ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 105 ดังนี้


“มาตรา ๑๐๕ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
“มาตรา 105 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
บรรทัดที่ 39: บรรทัดที่ 41:
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่งและให้นำบทบัญญัติมาตรา 109 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่งและให้นำบทบัญญัติมาตรา 109 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”


. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ [๕]
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 216 เล่ม 108, วันที่ 9 ธันวาคม 2534, หน้า 1.</ref>


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา ๑๑๖ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 116 ดังนี้


“มาตรา ๑๑๖ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
“มาตรา 116 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าว ในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๒๐ วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าว ในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 120 วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”


. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๕๓๘  [๖]
4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 7 ก เล่ม 112, วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2538, หน้า 1.</ref>


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๕๓๘ ได้บัญญัติแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาว่า ถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น คือ มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ก็ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน ที่มีเสียงมากที่สุด เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา ๑๒๒ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ได้บัญญัติแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาว่า ถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น คือ มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ก็ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน ที่มีเสียงมากที่สุด เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 122 ดังนี้


“มาตรา ๑๒๒ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
“มาตรา 122 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก
ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก


ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๒๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 126 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”


. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐  [๗]
5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 55 ก เล่ม 114, วันที่ 11 ตุลาคม 2540, หน้า 1.</ref>


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา ๑๒๐ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 120 ดังนี้


“มาตรา ๑๒๐ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
“มาตรา 120 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก
ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก
บรรทัดที่ 71: บรรทัดที่ 73:
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 152 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”


== ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ [๘] ==
==ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๑๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ดังนี้ [๘]
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 110 ได้บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ดังนี้<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 47 ก เล่ม 124, วันที่ 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1.</ref>


“มาตรา ๑๑๐ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะ ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
“มาตรา 110 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะ ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก
ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธี[[จับสลาก]]


ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๒๔ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 124 วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”


อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จะมีการปรับเปลี่ยนบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยมีเจตนารมณ์เพื่อให้การทำหน้าที่ของฝ่ายค้านมีเอกภาพและมีความเข้มแข็ง โดยมีหลักการเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ [๙] ที่เปิดโอกาสให้กรณีที่พรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ก็ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมือง ซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้ก็ตาม แต่ปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันที่ สิงหาคม ๒๕๕๒) ยังไม่มีผู้ใดดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากพรรคเพื่อไทย เป็นพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จึงไม่มีคุณสมบัติตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ทำให้ไม่สามารถดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้
อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จะมีการปรับเปลี่ยนบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยมีเจตนารมณ์เพื่อให้การทำหน้าที่ของฝ่ายค้านมีเอกภาพและมีความเข้มแข็ง โดยมีหลักการเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550, หน้า 110</ref> ที่เปิดโอกาสให้กรณีที่พรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ก็ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมือง ซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้ก็ตาม แต่ปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2552) ยังไม่มีผู้ใดดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากพรรคเพื่อไทย เป็นพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]] แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จึงไม่มีคุณสมบัติตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ทำให้ไม่สามารถดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้


'''ค่าตอบแทน'''
'''ค่าตอบแทน'''


สำหรับเงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามพระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ ) พ.ศ. ๒๕๓๑ [๑๐] กำหนดให้ผู้นำฝ่ายค้าน ได้รับเงินประจำตำแหน่งกับเงินค่ารับรองเท่ากับรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานวุฒิสภา คือ สามหมื่นหกพันบาท
สำหรับเงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามพระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531<ref>พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ฉบับพิเศษ ตอนที่ 181 เล่ม 105, วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531, หน้า 77-83.</ref> กำหนดให้ผู้นำฝ่ายค้าน ได้รับเงินประจำตำแหน่งกับเงินค่ารับรองเท่ากับ[[รองประธานสภาผู้แทนราษฎร]] และ[[รองประธานวุฒิสภา]] คือ สามหมื่นหกพันบาท


== ผู้ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร==
== ผู้ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร==


ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ท่าน ดังนี้
ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 7 ท่าน ดังนี้
 
๑.หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช  พรรคประชาธิปัตย์
 
ดำรงตำแหน่งเมื่อ ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๘ - ๑๒ มกราคม ๒๕๑๙
 
๒. พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร พรรคชาติไทย
 
ดำรงตำแหน่งเมื่อ  ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๒๖ - ๑ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๓๕ - ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๗


. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ พรรคความหวังใหม่
{|
 
|-
ดำรงตำแหน่งเมื่อ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๕ - ๑๖ มิถุนายน ๒๕๓๕ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ - มิถุนายน ๒๕๔๑ ๒ กันยายน ๒๕๔๑ - ๒๗ เมษายน ๒๕๔๒ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๒ - ๓๐ เมษายน ๒๕๔๓
|'''1. [[เสนีย์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช]]'''
 
|'''[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]'''
. นายบรรหาร ศิลปอาชา พรรคชาติไทย
|-
 
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ
ดำรงตำแหน่งเมื่อ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๓๗ - ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘
|22 มีนาคม 2518 - 12 มกราคม 2519
 
|-
. นายชวน หลีกภัย พรรคประชาธิปัตย์
|'''2. [[ประมาณ อดิเรกสาร|พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร]]'''
 
|'''[[ชาติไทย|พรรคชาติไทย]]'''
ดำรงตำแหน่งเมื่อ สิงหาคม ๒๕๓๘ - ๒๗ กันยายน ๒๕๓๙ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๓๙ - พฤศจิกายน ๒๕๔๐ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๔ - พฤษภาคม ๒๕๔๖
|-
 
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ
.นายบัญญัติ บรรทัดฐาน พรรคประชาธิปัตย์ ดำรงตำแหน่งเมื่อ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๖ - มกราคม ๒๕๔๘
|24 พฤษภาคม 2526 - 1 พฤษภาคม 2529
 
|-
. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ พรรคประชาธิปัตย์ ดำรงตำแหน่งเมื่อ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๘ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑-๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑
|
|30 ตุลาคม 2535 - 7 พฤษภาคม 2537
|-
|'''3. [[ชวลิต ยงใจยุทธ|พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ]]'''
|'''[[ความหวังใหม่|พรรคความหวังใหม่]]'''
|-
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ
|15 พฤษภาคม 2535 - 16 มิถุนายน 2535
|-
|
|26 พฤศจิกายน 2540 - 2 มิถุนายน 2541
|-
|
|2 กันยายน 2541 - 27 เมษายน 2542
|-
|
|12 พฤษภาคม 2542 - 30 เมษายน 2543
|-
|'''4. [[บรรหาร ศิลปอาชา|นายบรรหาร ศิลปอาชา]]'''
|'''[[ชาติไทย|พรรคชาติไทย]]'''
|-
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ
|27 พฤษภาคม 2537 - 19 พฤษภาคม 2538
|-
|'''5. [[ชวน หลีกภัย |นายชวน หลีกภัย]] '''
|'''[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]'''
|-
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ
|4 สิงหาคม 2538 - 27 กันยายน 2539
|-
|
|21 ธันวาคม 2539 - 8 พฤศจิกายน 2540
|-
|
|11 มีนาคม 2544 - 3 พฤษภาคม 2546
|-
|'''6. [[บัญญัติ บรรทัดฐาน|นายบัญญัติ บรรทัดฐาน]]'''
|'''[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]'''
|-
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ
|23 พฤษภาคม 2546 - 5 มกราคม 2548
|-
|'''7. [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]'''
|'''[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]'''
|-
|ดำรงตำแหน่งเมื่อ  
|23 เมษายน 2548 23 กุมภาพันธ์ 2549
|-
|
|27 กุมภาพันธ์ 2551 - 17 ธันวาคม 2551
|}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัดที่ 125: บรรทัดที่ 169:
== หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ ==
== หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ ==


คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (๒๕๕๐). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (2550). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๒๐). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
คณิน บุญสุวรรณ. (2520). '''ศัพท์รัฐสภา.''' พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๔๘). ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ . กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
คณิน บุญสุวรรณ. (2548). '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย.''' พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.


เดโช สวนานนท์. (๒๕๓๗). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หน้าต่าง      สู่โลกกว้าง.
เดโช สวนานนท์. (2537). '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง.''' กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.


นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). สารานุกรมการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (2547). '''สารานุกรมการเมืองไทย.''' กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.


พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ ) พ.ศ. ๒๕๓๑. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ ตอนที่ ๑๘๑ เล่ม ๑๐๕, วันที่ พฤศจิกายน ๒๕๓๑, หน้า ๗๗-๘๓.
พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ฉบับพิเศษ ตอนที่ 181 เล่ม 105, วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531, หน้า 77-83.


== บรรณานุกรม ==
== บรรณานุกรม ==


คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (๒๕๕๐). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (2550). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
 
คณิน  บุญสุวรรณ. (๒๕๒๐). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๓๓). ภาษาการเมืองในระบอบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์      โอเดียนสโตร์.
คณิน บุญสุวรรณ. (2520). '''ศัพท์รัฐสภา.''' พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.


เดโช  สวนานนท์. (๒๕๓๗). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หน้าต่าง      สู่โลกกว้าง.
คณิน บุญสุวรรณ. (2533). '''ภาษาการเมืองในระบอบรัฐสภา.''' กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.


นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). สารานุกรมการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
เดโช สวนานนท์. (2537). '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง.''' กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.


พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๑. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ  ตอนที่ ๑๘๑ เล่ม ๑๐๕, วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๑.
นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (2547). '''สารานุกรมการเมืองไทย.''' กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๖๙  เล่ม ๙๑. วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๗.
พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ฉบับพิเศษ ตอนที่ 181 เล่ม 105, วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๖ (ฉบับพิเศษ) เล่ม ๙๕. วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 169 เล่ม 91. วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๒๑๖  เล่ม ๑๐๘. วันที่ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 146 (ฉบับพิเศษ) เล่ม 95. วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2521.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ ก เล่ม ๑๑๒. วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 216 เล่ม 108. วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๑๔. วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 7 ก เล่ม 112. วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๗ ก เล่ม ๑๒๔. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 55 ก เล่ม 114. วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 47 ก เล่ม 124. วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550.


[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]
[[หมวดหมู่:ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร]]
[[หมวดหมู่:ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:19, 7 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ที่สมาชิกในสังกัดของพรรคมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี มีหน้าที่สำคัญคือ เป็นผู้นำในการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล และควบคุมให้ฝ่ายบริหารดำเนินการบริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา โดยเรียกพรรคการเมืองที่ทำหน้าที่นี้ว่า กลุ่มฝ่ายค้าน หรือพรรคฝ่ายค้าน และหากมีกลุ่มฝ่ายค้านประกอบด้วยหลายพรรคการเมือง ก็เรียกว่า พรรคร่วมฝ่ายค้าน ซึ่งนับเป็นกลไกสำคัญในการถ่วงดุลอำนาจทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา

ความหมาย

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (Leader of the Opposition) เป็นตำแหน่งสำคัญที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้นจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ที่สมาชิกในสังกัดของพรรคมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี โดยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่นั้นจะต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร[1] และหากไม่มีพรรคการเมืองใดมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรถึงหนึ่งในห้า ก็ให้เลือกหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ใช้วิธีการจับสลากตัดสิน[2]

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา

ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทน ราษฎรถูกบัญญัติครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 โดยกำหนดว่า “ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎร พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร”

ทั้งนี้ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 ก็ได้บัญญัติไว้ในทำนองเดียวกัน ต่อมาเมื่อมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2538 ได้มีแนวคิดว่า หากกำหนดคุณสมบัติของผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไว้ว่า ต้องเป็นหัวหน้าพรรรคการเมืองที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดไม่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีและมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดเพียงอย่างเดียว หากในอนาคตไม่มีพรรคฝ่ายค้านที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกินกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด อาจเป็นเหตุให้ช่วงเวลาดังกล่าวไม่มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ดังนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 จึงได้บัญญัติแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาว่า “ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น คือ มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก” ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ได้บัญญัติไว้ในทำนองเดียวกัน

รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับที่ผ่านมา บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ไว้ดังนี้

1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517[3]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่บัญญัติให้มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติในมาตรา 126 ดังนี้

“มาตรา 126 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา 184 แล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 130 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”

2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521[4]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 105 ดังนี้

“มาตรา 105 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่งและให้นำบทบัญญัติมาตรา 109 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”

3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534[5]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 116 ดังนี้

“มาตรา 116 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมือง ที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าว ในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 120 วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”

4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538[6]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ได้บัญญัติแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมาว่า ถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น คือ มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ก็ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน ที่มีเสียงมากที่สุด เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 122 ดังนี้

“มาตรา 122 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 126 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”

5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540[7]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในมาตรา 120 ดังนี้

“มาตรา 120 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 152 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 110 ได้บัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ดังนี้[8]

“มาตรา 110 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะ ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่เสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อขาดคุณสมบัติดังกล่าวในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และให้นำบทบัญญัติมาตรา 124 วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีเช่นนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง”

อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จะมีการปรับเปลี่ยนบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โดยมีเจตนารมณ์เพื่อให้การทำหน้าที่ของฝ่ายค้านมีเอกภาพและมีความเข้มแข็ง โดยมีหลักการเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540[9] ที่เปิดโอกาสให้กรณีที่พรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี มีเสียงสนับสนุนไม่ถึงหนึ่งในห้า ก็ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมือง ซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้ก็ตาม แต่ปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2552) ยังไม่มีผู้ใดดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากพรรคเพื่อไทย เป็นพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมาก จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัด มิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จึงไม่มีคุณสมบัติตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ทำให้ไม่สามารถดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรได้

ค่าตอบแทน

สำหรับเงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามพระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531[10] กำหนดให้ผู้นำฝ่ายค้าน ได้รับเงินประจำตำแหน่งกับเงินค่ารับรองเท่ากับรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานวุฒิสภา คือ สามหมื่นหกพันบาท

ผู้ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 7 ท่าน ดังนี้

1. หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช พรรคประชาธิปัตย์
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 22 มีนาคม 2518 - 12 มกราคม 2519
2. พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร พรรคชาติไทย
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 24 พฤษภาคม 2526 - 1 พฤษภาคม 2529
30 ตุลาคม 2535 - 7 พฤษภาคม 2537
3. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ พรรคความหวังใหม่
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 15 พฤษภาคม 2535 - 16 มิถุนายน 2535
26 พฤศจิกายน 2540 - 2 มิถุนายน 2541
2 กันยายน 2541 - 27 เมษายน 2542
12 พฤษภาคม 2542 - 30 เมษายน 2543
4. นายบรรหาร ศิลปอาชา พรรคชาติไทย
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 27 พฤษภาคม 2537 - 19 พฤษภาคม 2538
5. นายชวน หลีกภัย พรรคประชาธิปัตย์
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 4 สิงหาคม 2538 - 27 กันยายน 2539
21 ธันวาคม 2539 - 8 พฤศจิกายน 2540
11 มีนาคม 2544 - 3 พฤษภาคม 2546
6. นายบัญญัติ บรรทัดฐาน พรรคประชาธิปัตย์
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 23 พฤษภาคม 2546 - 5 มกราคม 2548
7. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ พรรคประชาธิปัตย์
ดำรงตำแหน่งเมื่อ 23 เมษายน 2548 – 23 กุมภาพันธ์ 2549
27 กุมภาพันธ์ 2551 - 17 ธันวาคม 2551

อ้างอิง

  1. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2548, หน้า 608-609.
  2. เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537, หน้า 158.
  3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 169 เล่ม 91, วันที่ 7 ตุลาคม 2517.
  4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 146 (ฉบับพิเศษ) เล่ม 95, วันที่ 22 ธันวาคม 2521.
  5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 216 เล่ม 108, วันที่ 9 ธันวาคม 2534, หน้า 1.
  6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 7 ก เล่ม 112, วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2538, หน้า 1.
  7. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 55 ก เล่ม 114, วันที่ 11 ตุลาคม 2540, หน้า 1.
  8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 47 ก เล่ม 124, วันที่ 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1.
  9. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550, หน้า 110
  10. พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ ตอนที่ 181 เล่ม 105, วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531, หน้า 77-83.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (2550). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

คณิน บุญสุวรรณ. (2520). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

คณิน บุญสุวรรณ. (2548). ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

เดโช สวนานนท์. (2537). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.

นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (2547). สารานุกรมการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ ตอนที่ 181 เล่ม 105, วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531, หน้า 77-83.

บรรณานุกรม

คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (2550). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

คณิน บุญสุวรรณ. (2520). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

คณิน บุญสุวรรณ. (2533). ภาษาการเมืองในระบอบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

เดโช สวนานนท์. (2537). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.

นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (2547). สารานุกรมการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่งและผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2531. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ ตอนที่ 181 เล่ม 105, วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 169 เล่ม 91. วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 146 (ฉบับพิเศษ) เล่ม 95. วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2521.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 216 เล่ม 108. วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 7 ก เล่ม 112. วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 55 ก เล่ม 114. วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 47 ก เล่ม 124. วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550.