ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย "<div> ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมา..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div>
<div>
ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
ผู้เรียบเรียง&nbsp;: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายภัทระ คำพิทักษ์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ&nbsp;: นายภัทระ คำพิทักษ์


----
----


= บทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 =
= '''แนวคิดและความหมายของบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฯ''' =
</div>  
</div>  
&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พจนานุกรมกฎหมายไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2556&nbsp;[[#_ftn1|[1]]] ให้ความหมายของ“บทเฉพาะกาล” ไว้ว่า ''“บทเฉพาะกาล หมายถึง บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้บังคับกฎหมายใหม่ที่มีต่อกรณีที่เกิดขึ้นก่อนกฎหมายใหม่ใช้บังคับหรือวิธีการดำเนินการกับกรณีที่เกิดขึ้นก่อนหรือหลังวันที่กฎหมายใหม่ใช้บังคับแล้ว”'' ในส่วนของบทเฉพาะกาลของ[[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]]นั้นจะบัญญัติไว้ในส่วนสุดท้ายในรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นการกำหนดไว้ในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนแปลงจากรัฐธรรมนูญฉบับเก่าไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่ขาดตอนอันไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ และจะมีผลเป็นการชั่วคราว เมื่อใดที่พ้นระยะเวลาดังที่ได้มีบทบัญญัติไว้บทเฉพาะกาลนั้นจะสิ้นสภาพบังคับไปโดยอัตโนมัติ โดยความมุ่งหมายของการมีบทเฉพาะกาลเพื่อให้การดำเนินการของรัฐหรือองค์กร รวมทั้งเป็นการรับรองสถานะเดิมของบุคคลที่ได้รับมาโดยผลของกฎหมายฉบับเดิมที่ถูกยกเลิกไปให้คงมีอยู่ต่อไป ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถดำเนินการไปได้อย่างต่อเนื่องจนกว่ากลไกหรือการบังคับใช้กฎหมายใหม่นั้นพร้อมที่จะดำเนินการได้ ทั้งนี้เพื่อรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดมีขึ้นอันเป็นการขจัด[[ความขัดแย้ง|ความขัดแย้ง]]ในเรื่องต่าง ๆ จากการใช้บังคับกฎหมายที่ตราขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการ[[ตรากฎหมาย|ตรากฎหมาย]]ฉบับใหม่ การยกเลิกปรับปรุงกฎหมาย หรือการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย[[#_ftn2|[2]]]
<div>
<div>
== '''1.แนวคิดและความหมายของบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฯ''' ==
= '''ประเด็นที่สำคัญของบทเฉพาะกาลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' =
</div>  
</div>  
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พจนานุกรมกฎหมายไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๖ [[#_ftn1|[1]]] ให้ความหมายของ“บทเฉพาะกาล” ไว้ว่า ''“บทเฉพาะกาล หมายถึง บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้บังคับกฎหมายใหม่ที่มีต่อกรณีที่เกิดขึ้นก่อนกฎหมายใหม่ใช้บังคับหรือวิธีการดำเนินการกับกรณีที่เกิดขึ้นก่อนหรือหลังวันที่กฎหมายใหม่ใช้บังคับแล้ว”'' ในส่วนของบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญนั้นจะบัญญัติไว้ในส่วนสุดท้ายในรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นการกำหนดไว้ในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนแปลงจากรัฐธรรมนูญฉบับเก่าไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่ขาดตอนอันไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ และจะมีผลเป็นการชั่วคราว เมื่อใดที่พ้นระยะเวลาดังที่ได้มีบทบัญญัติไว้บทเฉพาะกาลนั้นจะสิ้นสภาพบังคับไปโดยอัตโนมัติ โดยความมุ่งหมายของการมีบทเฉพาะกาลเพื่อให้การดำเนินการของรัฐหรือองค์กร รวมทั้งเป็นการรับรองสถานะเดิมของบุคคลที่ได้รับมาโดยผลของกฎหมายฉบับเดิมที่ถูกยกเลิกไปให้คงมีอยู่ต่อไป ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถดำเนินการไปได้อย่างต่อเนื่องจนกว่ากลไกหรือการบังคับใช้กฎหมายใหม่นั้นพร้อมที่จะดำเนินการได้ ทั้งนี้เพื่อรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดมีขึ้นอันเป็นการขจัดความขัดแย้งในเรื่องต่าง ๆ จากการใช้บังคับกฎหมายที่ตราขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการตรากฎหมายฉบับใหม่ การยกเลิกปรับปรุงกฎหมาย หรือการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย[[#_ftn2|[2]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทเฉพาะกาลของของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560]]&nbsp;มีบัญญัติไว้จำนวน 18&nbsp;มาตรา ตั้งแต่มาตรา 262 ถึง มาตรา 279 อันมีเนื้อหาค่อนข้างยาว มีความสลับซับซ้อนและเชื่อมโยงกันไปในหลายมาตรา โดยสามารถจัดแบ่งหมวดหมู่ตามประเด็นที่สำคัญ ดังนี้
<div>
== '''๒ ประเด็นที่สำคัญของบทเฉพาะกาลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐''' ==
</div>
บทเฉพาะกาลของของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีบัญญัติไว้จำนวน ๑๘ มาตรา ตั้งแต่มาตรา ๒๖๒ ถึง มาตรา ๒๗๙ อันมีเนื้อหาค่อนข้างยาว มีความสลับซับซ้อนและเชื่อมโยงกันไปในหลายมาตรา โดยสามารถจัดแบ่งหมวดหมู่ตามประเด็นที่สำคัญ ดังนี้


'''ประเด็นที่มาของนายกรัฐมนตรี''' :
== '''ประเด็นที่มาของนายกรัฐมนตรี'''&nbsp;: ==


ตามบทเฉพาะกาล มาตรา ๒๗๒ บัญญัติออกมาเป็นการรองรับเพื่อไม่ให้การดำเนินตามกฎหมายฉบับใหม่มีผลต้องหยุดชะงักลง จึงกำหนดให้ในระหว่าง ๕ ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ การให้ความเห็นชอบบุคคลใดที่จะเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะมาจากความชอบของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีวิธีการดังนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 272 บัญญัติออกมาเป็นการรองรับเพื่อไม่ให้การดำเนินตามกฎหมายฉบับใหม่มีผลต้องหยุดชะงักลง จึงกำหนดให้ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มี[[รัฐสภา|รัฐสภา]]ชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ การให้ความเห็นชอบบุคคลใดที่จะเข้ามาดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]] จะมาจากความชอบของ[[สภาผู้แทนราษฎร|สภาผู้แทนราษฎร]] โดยมีวิธีการดังนี้


.กรณีที่เสนอจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อพรรคการเมือง ตามมาตรา ๘๘
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.1 กรณีที่เสนอจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อพรรคการเมือง ตามมาตรา 88


&nbsp;วิธีการ คือ พรรคการเมืองเสนอรายชื่อบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรี จำนวนไม่เกิน รายชื่อ ต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะเลือกบุคคลใดในบัญชีรายชื่อที่เสนอมา แต่พรรคการเมืองที่จะเสนอรายชื่อผู้เข้าชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นจะต้องเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกที่ได้รับการเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลให้เป็นนายกรัฐมนตรีนั้นต้องกระทำการลงคะแนนโดยเปิดเผยตามมาตรา ๑๕๙ วรรคสาม
&nbsp;วิธีการ คือ [[พรรคการเมือง|พรรคการเมือง]]เสนอรายชื่อบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรี จำนวนไม่เกิน 3&nbsp;รายชื่อ ต่อ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) และให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะเลือกบุคคลใดในบัญชีรายชื่อที่เสนอมา แต่พรรคการเมืองที่จะเสนอรายชื่อผู้เข้าชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นจะต้องเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกที่ได้รับการเลือกเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลให้เป็นนายกรัฐมนตรีนั้นต้องกระทำ[[การลงคะแนน|การลงคะแนน]]โดยเปิดเผยตามมาตรา 159&nbsp;วรรคสาม


.กรณีเสนอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่ไม่มี่ชื่ออยู่ในบัญชีที่พรรคการเมืองแจ้งไว้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.2&nbsp;กรณีเสนอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่ไม่มี่ชื่ออยู่ในบัญชีที่พรรคการเมืองแจ้งไว้


&nbsp;มาตรา ๒๗๒ วรรคสอง กำหนดให้สมาชิกของทั้งสองสภารวมกันจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภาเพื่อขอให้รัฐสภามีมติยกเว้นเพื่อไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ได้ และในกรณีเช่นนี้ให้ประธานรัฐสภาจัดให้มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยพลัน และต้องมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งสองสภา (รวมทั้งสองสภา คือ ๗๕๐ คน) เพื่อให้ยกเว้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรได้ทำการเสนอบุคคลนอกบัญชีรายชื่อนั้นได้นั่นเอง
มาตรา 272 วรรคสอง กำหนดให้สมาชิกของทั้งสองสภารวมกันจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเข้าชื่อเสนอต่อ[[ประธานรัฐสภา|ประธานรัฐสภา]]เพื่อขอให้รัฐสภามีมติยกเว้นเพื่อไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ได้ และในกรณีเช่นนี้ให้ประธานรัฐสภาจัดให้มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยพลัน และต้องมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2&nbsp;ใน 3&nbsp;ของจำนวนสมาชิกทั้งสองสภา (รวมทั้งสองสภา คือ 750&nbsp;คน) เพื่อให้ยกเว้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรได้ทำการเสนอบุคคลนอกบัญชีรายชื่อนั้นได้นั่นเอง


'''ประเด็น การจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรม'''
== '''ประเด็น การจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรม''' ==


ตามมาตรา ๒๗๖ กำหนดขึ้นมาเพื่อรองรับให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการภายใต้กรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นพิเศษเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและสอดคล้องกับกฎหมายฉบับใหม่ที่เกิดขึ้น กล่าวคือ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ตามมาตรา 276 กำหนดขึ้นมาเพื่อรองรับให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการภายใต้กรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นพิเศษเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและสอดคล้องกับกฎหมายฉบับใหม่ที่เกิดขึ้น กล่าวคือ


.๑ ให้ศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระดำเนินการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใช้บังคับแก่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและหัวหน้างานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ และบังคับใช้ไปถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภาและคณะรัฐมนตรีด้วย (ตามมาตรา ๒๑๙) ให้แล้วเสร็จภายใน ปีนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.1 ให้[[ศาลรัฐธรรมนูญ|ศาลรัฐธรรมนูญ]]และ[[องค์กรอิสระ|องค์กรอิสระ]]ดำเนินการกำหนด[[มาตรฐานทางจริยธรรม|มาตรฐานทางจริยธรรม]]ขึ้นใช้บังคับแก่[[ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ|ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ]]และผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้ง[[ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน|ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน]]และหัวหน้างานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ และบังคับใช้ไปถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[สมาชิกวุฒิสภา|สมาชิกวุฒิสภา]]และ[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]ด้วย (ตามมาตรา 219) ให้แล้วเสร็จภายใน 1&nbsp;ปีนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้


.โดยกำหนดสภาพบังคับว่า หากไม่ดำเนินการให้แล้วเสร็จจะส่งผลให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจากตำแหน่ง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.2 โดยกำหนดสภาพบังคับว่า หากไม่ดำเนินการให้แล้วเสร็จจะส่งผลให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจากตำแหน่ง


.ในกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจากตำแหน่งตำแหน่งไปแล้วนั้น และกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระชุดใหม่เข้ามารับตำแหน่งก็ให้ปฏิบัติตามกรอบระยะเวลาเช่นเดียวกับที่ชุดเดิมเคยปฏิบัติมา
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.3 ในกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจากตำแหน่งตำแหน่งไปแล้วนั้น และกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระชุดใหม่เข้ามารับตำแหน่งก็ให้ปฏิบัติตามกรอบระยะเวลาเช่นเดียวกับที่ชุดเดิมเคยปฏิบัติมา


'''ประเด็นที่มาและอำนาจหน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภา'''
== '''ประเด็นที่มาและอำนาจหน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภา''' ==


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทเฉพาะกาลได้กำหนดเพื่อรองรับการทำงานขององค์กรใดองค์กรหนึ่งเพื่อมิให้เกิดความหยุดชะงัก ดังนั้น ตามมาตรา ๒๖๙ จึงได้กำหนดรายละเอียดที่สำคัญไว้ ดังนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทเฉพาะกาลได้กำหนดเพื่อรองรับการทำงานขององค์กรใดองค์กรหนึ่งเพื่อมิให้เกิดความหยุดชะงัก ดังนั้น ตามมาตรา 269&nbsp;จึงได้กำหนดรายละเอียดที่สำคัญไว้ ดังนี้


.๑ ในวาระเริ่มแรกให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิก จำนวน ๒๕๐ คน โดยพระมหากษัตริย์แต่งตั้งขึ้นตามคำแนะนำของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) โดยที่มาของจำนวนสมาชิก ๒๕๐ คนมาจากช่องทางการสรรหาด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.1&nbsp;ในวาระเริ่มแรกให้[[วุฒิสภา|วุฒิสภา]]ประกอบด้วยสมาชิก จำนวน 250 คน โดยพระมหากษัตริย์แต่งตั้งขึ้นตามคำแนะนำของ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ([[คสช.|คสช.]]) โดยที่มาของจำนวนสมาชิก 250 คน มาจากช่องทางการสรรหาด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้


() &nbsp;คณะรักษาความสงบเรียบร้อย (คสช.) จะแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาที่มีความรู้ประสบการณ์
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (1) &nbsp;คณะรักษาความสงบเรียบร้อย (คสช.) จะแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาที่มีความรู้ประสบการณ์ ในด้านต่าง ๆ ที่มี[[ความเป็นกลางทางการเมือง|ความเป็นกลางทางการเมือง]] จำนวน 9&nbsp; คนแต่ไม่เกิน 12&nbsp;คน เพื่อทำหน้าที่สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมดำรงตำแหน่ง[[สมาชิกวุฒิสภา|สมาชิกวุฒิสภา]] จำนวนไม่เกิน 400&nbsp;คน เพื่อให้ คสช. คัดเลือกให้เหลือ 194&nbsp;คน และคัดชื่อสำรองอีกจำนวน 50&nbsp;คน และอีกส่วนหนึ่งเป็นโดยตำแหน่ง จำนวน 6&nbsp;คน อันประกอบด้วยผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ


ในด้านต่าง ๆ ที่มีความเป็นกลางทางการเมือง จำนวน ๙&nbsp; คนแต่ไม่เกิน ๑๒ คน เพื่อทำหน้าที่สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา จำนวนไม่เกิน ๔๐๐ คน เพื่อให้ คสช. คัดเลือกให้เหลือ ๑๙๔ คน และคัดชื่อสำรองอีกจำนวน ๕๐ คน และอีกส่วนหนึ่งเป็นโดยตำแหน่ง จำนวน ๖ คน อันประกอบด้วยผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (2) คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) จะดำเนินการคัดเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 107 จำนวน 200 คน โดยมาจากกลุ่มอาชีพหลากหลายและนำส่งรายชื่อดังกล่าวให้ คสช. ดำเนินการคัดเลือกให้เหลือจำนวน 50&nbsp;คน และขึ้นทะเบียนสำรองไว้อีกจำนวน 50&nbsp;คน


(๒) คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) จะดำเนินการคัดเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา ๑๐๗ จำนวน
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.2 จากนั้น คสช.จะนำรายชื่อดังกล่าวจำนวน 250 คนขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไปและให้หัวหน้าคสช. เป็นผู้ลงนามรับสนอง[[พระบรมราชโองการ|พระบรมราชโองการ]] โดยวาระการดำรงตำแหน่งของวุฒิสภาจะมีอายุเพียง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง หากมีตำแหน่งว่างให้เลื่อนรายชื่อบุคคลตามลำดับในบัญชีสำรองขึ้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาแทนโดยให้[[ประธานวุฒิสภา|ประธานวุฒิสภา]]เป็นผู้ดำเนินการและเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ


๒๐๐ คน โดยมาจากกลุ่มอาชีพหลากหลายและนำส่งรายชื่อดังกล่าวให้ คสช. ดำเนินการคัดเลือกให้เหลือจำนวน ๕๐ คน และขึ้นทะเบียนสำรองไว้อีกจำนวน ๕๐ คน
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1.3&nbsp;ตามมาตรา 270&nbsp;ได้กำหนดอำนาจและหน้าที่ของวุฒิสภาให้มีหน้าที่และอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัด[[การปฏิรูปประเทศ|การปฏิรูปประเทศ]]และดำเนินการตาม[[ยุทธศาสตร์ชาติ|ยุทธศาสตร์ชาติ]] ในการนี้กฎหมายกำหนดให้[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]แจ้งความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพื่อทราบทุกสามเดือน ในส่วนของร่างพระราชบัญญัติที่จะตราขึ้นเพื่อดำเนินการตามหมวด 16&nbsp;การปฏิรูปประเทศให้เสนอและพิจารณาในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา


๑.๒ จากนั้น คสช.จะนำรายชื่อดังกล่าวจำนวน ๒๕๐ คนขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไปและให้หัวหน้าคสช. เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ โดยวาระการดำรงตำแหน่งของวุฒิสภาจะมีอายุเพียง ๕ ปีนับตั้งแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง หากมีตำแหน่งว่างให้เลื่อนรายชื่อบุคคลตามลำดับในบัญชีสำรองขึ้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาแทนโดยให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ดำเนินการและเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
== '''ประเด็นความต่อเนื่องของการดำเนินงานขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ''' ==


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑.๓ ตามมาตรา ๒๗๐ ได้กำหนดอำนาจและหน้าที่ของวุฒิสภาให้มีหน้าที่และอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิบัติประเทศและดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้กฎหมายกำหนดให้คณะรัฐมนตรีแจ้งความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพื่อทราบทุกสามเดือน ในส่วนของร่างพระราชบัญญัติที่จะตราขึ้นเพื่อดำเนินการตามหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศให้เสนอและพิจารณาในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา
ทั้งนี้เป็นไปเพื่อรองรับตำแหน่งของบุคคลหรืออำนาจของหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเดิมตามรัฐธรรมนูญนั้น


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''ประเด็นความต่อเนื่องของการดำเนินงานขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ''' ทั้งนี้เป็นไปเพื่อรองรับตำแหน่งของบุคคลหรืออำนาจของหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเดิมตามรัฐธรรมนูญนั้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของ[[คณะองคมนตรี|คณะองคมนตรี]]</u> มาตรา 262&nbsp;กำหนดให้องคมนตรีที่ยังคงดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2560 ให้ดำรงตำแหน่งเป็น[[องคมนตรี|องคมนตรี]]ต่อไป


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของคณะองคมนตรี</u> มาตรา ๒๖๒ กำหนดให้องคมนตรีที่ยังคงดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับปี ๒๕๖๐ ให้ดำรงตำแหน่งเป็นองคคณะมนตรีต่อไป
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของ[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]และ[[สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ|สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]</u>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ</u>
1. ในระหว่างที่ยังไม่มีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ มาตรา 263&nbsp;กำหนดให้


. ในระหว่างที่ยังไม่มีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ มาตรา ๒๖๓ กำหนดให้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.1 สภานิติบัญญัติฯ ที่ตั้งขึ้นตาม[[รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว_พุทธศักราช_2557|รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว_พุทธศักราช_2557]] ให้ทำหน้าที่รัฐสภาสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป


.๑ สภานิติบัญญัติฯ ที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พุทธศักราช ๒๕๕๗ ให้ทำหน้าที่รัฐสภา
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.2 สมาชิกสภานิติบัญญัติฯ ที่ยังดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนวันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้ ให้ทำหน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภาต่อไป


สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.3 กรณีที่ตำแหน่งว่างลง ให้เป็นอำนาจของหัวหน้า คสช.จะกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติฯ


.๒ สมาชิกสภานิติบัญญัติฯ ที่ยังดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนวันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้ ให้ทำ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1.4 การสิ้นสุดลงของสมาชิกภาพนั้นให้สิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียก[[ประชุมรัฐสภาครั้งแรก|ประชุมรัฐสภาครั้งแรก]]ภายหลัง[[การเลือกตั้งทั่วไป|การเลือกตั้งทั่วไป]]ที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญนี้และจะไม่สามารถลงเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกเพื่อเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ภายหลังจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ยกเว้นจะพ้นจากตำแหน่งภายในเก้าสิบวันนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวนี้


หน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภาต่อไป
&nbsp;2. ในระหว่างที่สภานิติบัญญัติทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา บทเฉพาะกาลกำหนดให้อำนาจของ[[ประธานรัฐสภา|ประธานรัฐสภา]] [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร|ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] หรือ[[ประธานวุฒิสภา|ประธานวุฒิสภา]] ตามรัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายเป็นอำนาจของ[[ประธานสภานิติบัญญัติฯ|ประธานสภานิติบัญญัติฯ]]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑.๓ กรณีที่ตำแหน่งว่างลง ให้เป็นอำนาจของหัวหน้า คสช.จะกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้มี
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของคณะรัฐมนตรี</u> มาตรา 264 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีที่บริหารราชการแผ่นดินอยู่ในวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามาภายหลังเลือกตั้ง ส่วนการดำเนินงานของคระรัฐมนตรี มาตรา ๒๗๗ กำหนดให้ทำหน้าที่เสนอกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 196&nbsp;มาตรา 198&nbsp;และมาตรา 248&nbsp;วรรคสาม ต่อสภานิติบัญญัติฯ ภายใน 1&nbsp;ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และมาตรา 278&nbsp;ให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการให้หน่วยงานของรัฐที่คณะรัฐมนตรีกำหนดดำเนินการให้จัดทำร่างกฎหมายที่จำเป็นตามมาตรา 58&nbsp;มาตรา 62&nbsp;และมาตรา 63&nbsp;ให้แล้วเสร็จและเสนอต่อสภานิติบัญญัติฯ ภายใน 240&nbsp;วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้และให้สภานิติบัญญัติฯ พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60&nbsp;วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้น หากเป็นกรณีที่มีหน่วยงานหลายๆ หน่วยงานเกี่ยวข้อง คณะรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดระยะเวลาที่แต่ละหน่วยงานต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จตามความจำเป็นของแต่ละหน่วยงาน ทั้งนี้ เมื่อรวมเวลาแล้วต้องไม่เกิน 240&nbsp;วันเช่นกัน อย่างไรก็ดี หากหน่วยงานของรัฐใดไม่ยอมดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว เป็นอำนาจของคณะรัฐมนตรีที่จะสั่งให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐนั้นพ้นจากตำแหน่ง


คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติฯ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของ[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ|คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]]</u> ตามมาตรา 265&nbsp;กำหนดให้มีผลอยู่ในตำแหน่งและมีอำนาจหน้าที่ดังเดิมต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่


๑.๔ การสิ้นสุดลงของสมาชิกภาพนั้นให้สิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลัง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของ[[สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ|สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ]]</u> ตามมาตรา 266&nbsp;กำหนดให้สภาขับเคลื่อนฯ ทำหน้าที่ไปพลางก่อนเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศจนกว่าจะมีกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศที่ตราขึ้น ตามมาตรา ๒๕๙ ที่กำหนดว่าภายใต้บังคับมาตรา 260&nbsp;และมาตรา 261&nbsp;การปฏิรูปประเทศตามหมวดนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศซึ่งอย่างน้อยต้องมีวิธีการจัดทำแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนในการดำเนินงานปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดำเนินการและระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน โดยกำหนดให้เริ่มดำเนินการปฏิรูปในแต่ละด้านภายใน 1&nbsp;ปี นับตามวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ตลอดจนทั้งผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุในระยะเวลา 5&nbsp;ปี ให้ดำเนินการตรากฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศและประกาศใช้บังคับภายใน 120&nbsp;วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้


การเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญนี้และจะไม่สามารถลงเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกเพื่อเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ภายหลังจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ยกเว้นจะพ้นจากตำแหน่งภายในเก้าสิบวันนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนฉบับดังกล่าวนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของ[[คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ_พุทธศักราช_2560|คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ]]</u> มาตรา 267&nbsp;กำหนดให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557&nbsp;ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปเพื่อดำเนินการจัดทำร่าง[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ|พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]]ทั้ง 10&nbsp;ฉบับให้เสร็จสิ้น โดยจะทำการร่างขึ้นใหม่หรือแก้ไขเพิ่มเติมก็ย่อมได้ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นไปอย่างสอดคล้องกับบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ รวมถึงเพื่อให้มีการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 240&nbsp;วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 และเมื่อแล้วเสร็จ[[คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ|คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ]]เป็นอันพ้นจากตำแหน่งแต่ต้องไม่ช้ากว่าวันพ้นจากตำแหน่งของสมาชิกสภานิติบัญญัติฯ ตามมาตรา 263&nbsp; และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและรวดเร็ว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะขอให้หัวหน้า คสช. แต่งตั้งกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มขึ้นได้ แต่ทั้งนี้เมื่อรวมแล้วไม่เกิน 30&nbsp;คน&nbsp; นอกจากนี้ตามมาตรา 267 ยังได้กำหนดต่อไปว่า ในการพิจารณาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญทั้งหมด 10&nbsp;ฉบับนั้น เมื่อมีการรับร่างแล้ว สภานิติบัญญัติฯ จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในเวลา 60&nbsp;วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ หากกรณีไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าสภานิติบัญญัติฯ เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าวตามที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเสนอมา สุดท้ายเพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมการร่างรัฐธรรมนูญดำรงตำแหน่งทางการเมืองภายใน 2&nbsp;ปีนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. ในระหว่างที่สภานิติบัญญัติทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา บทเฉพาะกาลกำหนดให้อำนาจของประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายเป็นอำนาจของประธานสภานิติบัญญัติฯ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องตามรัฐธรรมนูญ</u> มาตรา273&nbsp;กำหนดให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดิน ดำรงตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป และเมื่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญประกอบรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องที่จัดทำขึ้นตามมาตรา 267&nbsp;ใช้บังคับแล้ว การดำรงตำแหน่งต่อไปเพียงใดให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ในระหว่างเวลาที่ยังไม่มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่จัดทำขึ้นตามมาตรา 267 การพ้นจากตำแหน่งของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ปี 2550 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ในส่วนของการดำเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ในส่วนของการพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามข้อกำหนดของศาลรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้


<u>กรณีของคณะรัฐมนตรี</u> มาตรา ๒๖๔ กำหนดให้คณะรัฐมนตรีที่บริหารราชการแผ่นดินอยู่ในวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามาภายหลังเลือกตั้ง ส่วนการดำเนินงานของคระรัฐมนตรี มาตรา ๒๗๗ กำหนดให้ทำหน้าที่เสนอกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา ๑๙๖ มาตรา ๑๙๘ และมาตรา ๒๔๘ วรรคสาม ต่อสภานิติบัญญัติฯ ภายใน ๑ ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และมาตรา ๒๗๘ ให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการให้หน่วยงานของรัฐที่คณะรัฐมนตรีกำหนดดำเนินการให้จัดทำร่างกฎหมายที่จำเป็นตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๖๒ และมาตรา ๖๓ ให้แล้วเสร็จและเสนอต่อสภานิติบัญญัติฯ ภายใน ๒๔๐ วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้และให้สภานิติบัญญัติฯ พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้น หากเป็นกรณีที่มีหน่วยงานหลายๆ หน่วยงานเกี่ยวข้อง คณะรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดระยะเวลาที่แต่ละหน่วยงานต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จตามความจำเป็นของแต่ละหน่วยงาน ทั้งนี้ เมื่อรวมเวลาแล้วต้องไม่เกิน ๒๔๐ วันเช่นกัน อย่างไรก็ดี หากหน่วยงานของรัฐใดไม่ยอมดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว เป็นอำนาจของคณะรัฐมนตรีที่จะสั่งให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐนั้นพ้นจากตำแหน่ง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของ[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง_กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ|คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง_กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]]ตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุโทรทัศน์กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553&nbsp;&nbsp;</u>มาตรา 274 กำหนดให้คณะกรรมการกิจการฯ เป็นองค์กรของรัฐที่มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ (ตามมาตรา 60&nbsp;วรรคสาม)


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ</u> ตามมาตรา ๒๖๕ กำหนดให้มีผลอยู่ในตำแหน่งและมีอำนาจหน้าที่ดังเดิมต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและคณะกรรมการอัยการ </u>มาตรา 277 วรรคสอง กำหนดให้คณะกรรมการเหล่านี้ปฏิบัติหน้าที่พลางก่อน ในส่วนของอัยการนั้น ในระหว่างที่ยังไม่มีการปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 248&nbsp;วรรคสี่ ห้ามมิให้พนักงานอัยการดำรงตำแหน่งกรรมการใน[[รัฐวิสาหกิจ|รัฐวิสาหกิจ]] หรือกิจการอื่นของรัฐในทำนองเดียวกัน หรือดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือกิจการอื่นใดที่มีวัตถุประสงค์มุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นที่ปรึกษาของ[[ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง|ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง]]หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดในลักษณะเดียวกัน


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>กรณีของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ</u> ตามมาตรา ๒๖๖ กำหนดให้สภาขับเคลื่อนฯ ทำหน้าที่ไปพลางก่อนเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศจนกว่าจะมีกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศที่ตราขึ้น ตามมาตรา ๒๕๙ ที่กำหนดว่าภายใต้บังคับมาตรา ๒๖๐ และมาตรา ๒๖๑ การปฏิรูปประเทศตามหมวดนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศซึ่งอย่างน้อยต้องมีวิธีการจัดทำแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนในการดำเนินงานปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดำเนินการและระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน โดยกำหนดให้เริ่มดำเนินการปฏิรูปในแต่ละด้านภายใน ๑ ปี นับตามวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ตลอดจนทั้งผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุในระยะเวลา ๕ ปี ให้ดำเนินการตรากฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศและประกาศใช้บังคับภายใน ๑๒๐ วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้
== '''ประเด็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร''' ==


<u>กรณีของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ</u> มาตรา ๒๖๗ กำหนดให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปเพื่อดำเนินการจัดทำร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญทั้ง ๑๐ ฉบับให้เสร็จสิ้น โดยจะทำการร่างขึ้นใหม่หรือแก้ไขเพิ่มเติมก็ย่อมได้ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นไปอย่างสอดคล้องกับบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ รวมถึงเพื่อให้มีการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๒๔๐ วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๖๐ และเมื่อแล้วเสร็จคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันพ้นจากตำแหน่งแต่ต้องไม่ช้ากว่าวันพ้นจากตำแหน่งของสมาชิกสภานิติบัญญัติฯ ตามมาตรา ๒๖๓&nbsp; และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและรวดเร็ว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะขอให้หัวหน้า คสช. แต่งตั้งกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มขึ้นได้ แต่ทั้งนี้เมื่อรวมแล้วไม่เกิน ๓๐ คน&nbsp; นอกจากนี้ตามมาตรา ๒๖๗ ยังได้กำหนดต่อไปว่า ในการพิจารณาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญทั้งหมด ๑๐ ฉบับนั้น เมื่อมีการรับร่างแล้ว สภานิติบัญญัติฯ จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในเวลา ๖๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ หากกรณีไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าสภานิติบัญญัติฯ เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าวตามที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเสนอมา สุดท้ายเพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมการร่างรัฐธรรมนูญดำรงตำแหน่งทางการเมืองภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;บทเฉพาะกาลตามมาตรา 268&nbsp;กำหนดให้ดำเนิน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ให้แล้วเสร็จภายใน 150 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติของหมวด 7&nbsp;รัฐสภา ส่วนที่ 1&nbsp;บททั่วไปมีผลใช้บังคับแล้ว


<u>กรณีของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องตามรัฐธรรมนูญ</u> มาตรา ๒๗๓ กำหนดให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดิน ดำรงตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป และเมื่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญประกอบรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องที่จัดทำขึ้นตามมาตรา ๒๖๗ ใช้บังคับแล้ว การดำรงตำแหน่งต่อไปเพียงใดให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ในระหว่างเวลาที่ยังไม่มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่จัดทำขึ้นตามมาตรา ๒๖๗ การพ้นจากตำแหน่งของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ<br/> ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ในส่วนของการดำเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ในส่วนของการพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามข้อกำหนดของศาลรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
== '''ประเด็นสถานะของบรรดาประกาศ คำสั่งและการกระทำใด ๆ ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ&nbsp;''' ==


<u>กรณีของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุโทรทัศน์กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓&nbsp; </u>มาตรา ๒๗๔ กำหนดให้คณะกรรมการกิจการฯ เป็นองค์กรของรัฐที่มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ (ตามมาตรา ๖๐ วรรคสาม)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.1&nbsp; มาตรา 279 กำหนดให้บรรดาประกาศ คำสั่ง และการกระทำของ คสช. หรือหัวหน้า คสช. ที่ใช้บังคับ หรือที่จะออกบังคับใช้ต่อไป ให้คงมีผลใช้บังคับโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป


<u>กรณีของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและคณะกรรมการอัยการ </u>มาตรา ๒๗๗ วรรคสอง กำหนดให้คณะกรรมการเหล่านี้ปฏิบัติหน้าที่พลางก่อน ในส่วนของอัยการนั้น ในระหว่างที่ยังไม่มีการปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา ๒๔๘ วรรคสี่ ห้ามมิให้พนักงานอัยการดำรงตำแหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐในทำนองเดียวกัน หรือดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือกิจการอื่นใดที่มีวัตถุประสงค์มุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นที่ปรึกษาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือดำรงตำแหน่งอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.2 การยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมประกาศหรือคำสั่งให้กระทำเป็น[[พระราชบัญญัติ|พระราชบัญญัติ]] &nbsp;ยกเว้น กรณีประกาศหรือคำสั่งที่มีลักษณะเป็นการใช้อำนาจทางการบริหาร การยกเลิกหรือแก้ไขนั้นจะต้องกระทำโดยคำสั่งนายกรัฐมนตรีหรือ[[มติของคณะรัฐมนตรี|มติของคณะรัฐมนตรี]] แล้วแต่กรณี


'''ประเด็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร''' บทเฉพาะกาลตามมาตรา ๒๖๘ กำหนดให้ดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕๐ วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติของหมวด ๗ รัฐสภา ส่วนที่ ๑ บททั่วไปมีผลใช้บังคับแล้ว
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.3 บรรดาการกระทำใด ๆ ที่ได้รับรองไว้ใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557]] ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2559 ว่าเป็นการ[[กระทำชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย|กระทำชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย]] รวมถึงการกระทำใดที่เกี่ยวเนื่องให้ถือว่าเป็นการกระทำนั้นชอบรัฐธรรมนูญฉบับนี้เช่นกัน
 
'''ประเด็นสถานะของบรรดาประกาศ คำสั่งและการกระทำใด ๆ ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ .'''
 
๑.๑ &nbsp;มาตรา ๒๗๙ กำหนดให้บรรดาประกาศ คำสั่ง และการกระทำของ คสช. หรือหัวหน้า คสช. ที่ใช้บังคับ หรือที่จะออกบังคับใช้ต่อไป ให้คงมีผลใช้บังคับโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป
 
๑.๒ การยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมประกาศหรือคำสั่งให้กระทำเป็นพระราชบัญญัติ &nbsp;ยกเว้น กรณีประกาศหรือคำสั่งที่มีลักษณะเป็นการใช้อำนาจทางการบริหาร การยกเลิกหรือแก้ไขนั้นจะต้องกระทำโดยคำสั่งนายกรัฐมนตรีหรือมติของคณะรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี
 
.บรรดาการกระทำใด ๆ ที่ได้รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคาว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๕๕๘ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๕๕๙ ว่าเป็นการกระทำชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รวมถึงการกระทำใดที่เกี่ยวเนื่องให้ถือว่าเป็นการกระทำนั้นชอบรัฐธรรมนูฐฉบับนี้เช่นกัน


&nbsp;
&nbsp;
<div>
<div>
== '''5. บรรณานุกรม''' ==
= '''บรรณานุกรม''' =
</div>  
</div>  
กลุ่มงานประธานรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๔๐-๒๕๕๐ และ
กลุ่มงานประธานรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๔๐-๒๕๕๐ และ
บรรทัดที่ 134: บรรทัดที่ 122:
[[#_ftnref2|[2]]] จารุวรรณ เฮงตระกูล และคณะทำงาน. <u>คู่มือแบบร่างกฎหมาย.</u> กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๕๑. หน้า ๒๔๕.
[[#_ftnref2|[2]]] จารุวรรณ เฮงตระกูล และคณะทำงาน. <u>คู่มือแบบร่างกฎหมาย.</u> กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๕๑. หน้า ๒๔๕.
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:รัฐธรรมนูญ]]
&nbsp;
 
[[Category:รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:38, 18 มีนาคม 2563

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายภัทระ คำพิทักษ์


แนวคิดและความหมายของบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฯ

          พจนานุกรมกฎหมายไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2556 [1] ให้ความหมายของ“บทเฉพาะกาล” ไว้ว่า “บทเฉพาะกาล หมายถึง บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้บังคับกฎหมายใหม่ที่มีต่อกรณีที่เกิดขึ้นก่อนกฎหมายใหม่ใช้บังคับหรือวิธีการดำเนินการกับกรณีที่เกิดขึ้นก่อนหรือหลังวันที่กฎหมายใหม่ใช้บังคับแล้ว” ในส่วนของบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญนั้นจะบัญญัติไว้ในส่วนสุดท้ายในรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นการกำหนดไว้ในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนแปลงจากรัฐธรรมนูญฉบับเก่าไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่ขาดตอนอันไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ และจะมีผลเป็นการชั่วคราว เมื่อใดที่พ้นระยะเวลาดังที่ได้มีบทบัญญัติไว้บทเฉพาะกาลนั้นจะสิ้นสภาพบังคับไปโดยอัตโนมัติ โดยความมุ่งหมายของการมีบทเฉพาะกาลเพื่อให้การดำเนินการของรัฐหรือองค์กร รวมทั้งเป็นการรับรองสถานะเดิมของบุคคลที่ได้รับมาโดยผลของกฎหมายฉบับเดิมที่ถูกยกเลิกไปให้คงมีอยู่ต่อไป ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถดำเนินการไปได้อย่างต่อเนื่องจนกว่ากลไกหรือการบังคับใช้กฎหมายใหม่นั้นพร้อมที่จะดำเนินการได้ ทั้งนี้เพื่อรองรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดมีขึ้นอันเป็นการขจัดความขัดแย้งในเรื่องต่าง ๆ จากการใช้บังคับกฎหมายที่ตราขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการตรากฎหมายฉบับใหม่ การยกเลิกปรับปรุงกฎหมาย หรือการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย[2]

ประเด็นที่สำคัญของบทเฉพาะกาลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

          บทเฉพาะกาลของของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560 มีบัญญัติไว้จำนวน 18 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 262 ถึง มาตรา 279 อันมีเนื้อหาค่อนข้างยาว มีความสลับซับซ้อนและเชื่อมโยงกันไปในหลายมาตรา โดยสามารถจัดแบ่งหมวดหมู่ตามประเด็นที่สำคัญ ดังนี้

ประเด็นที่มาของนายกรัฐมนตรี :

          ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 272 บัญญัติออกมาเป็นการรองรับเพื่อไม่ให้การดำเนินตามกฎหมายฉบับใหม่มีผลต้องหยุดชะงักลง จึงกำหนดให้ในระหว่าง 5 ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ การให้ความเห็นชอบบุคคลใดที่จะเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะมาจากความชอบของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีวิธีการดังนี้

          1.1 กรณีที่เสนอจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อพรรคการเมือง ตามมาตรา 88

 วิธีการ คือ พรรคการเมืองเสนอรายชื่อบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรี จำนวนไม่เกิน 3 รายชื่อ ต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะเลือกบุคคลใดในบัญชีรายชื่อที่เสนอมา แต่พรรคการเมืองที่จะเสนอรายชื่อผู้เข้าชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นจะต้องเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกที่ได้รับการเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลให้เป็นนายกรัฐมนตรีนั้นต้องกระทำการลงคะแนนโดยเปิดเผยตามมาตรา 159 วรรคสาม

          1.2 กรณีเสนอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้ที่ไม่มี่ชื่ออยู่ในบัญชีที่พรรคการเมืองแจ้งไว้

มาตรา 272 วรรคสอง กำหนดให้สมาชิกของทั้งสองสภารวมกันจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภาเพื่อขอให้รัฐสภามีมติยกเว้นเพื่อไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ได้ และในกรณีเช่นนี้ให้ประธานรัฐสภาจัดให้มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยพลัน และต้องมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งสองสภา (รวมทั้งสองสภา คือ 750 คน) เพื่อให้ยกเว้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรได้ทำการเสนอบุคคลนอกบัญชีรายชื่อนั้นได้นั่นเอง

ประเด็น การจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรม

          ตามมาตรา 276 กำหนดขึ้นมาเพื่อรองรับให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการภายใต้กรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นพิเศษเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและสอดคล้องกับกฎหมายฉบับใหม่ที่เกิดขึ้น กล่าวคือ

          1.1 ให้ศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระดำเนินการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใช้บังคับแก่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและหัวหน้างานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ และบังคับใช้ไปถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภาและคณะรัฐมนตรีด้วย (ตามมาตรา 219) ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้

          1.2 โดยกำหนดสภาพบังคับว่า หากไม่ดำเนินการให้แล้วเสร็จจะส่งผลให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจากตำแหน่ง

          1.3 ในกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจากตำแหน่งตำแหน่งไปแล้วนั้น และกรณีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระชุดใหม่เข้ามารับตำแหน่งก็ให้ปฏิบัติตามกรอบระยะเวลาเช่นเดียวกับที่ชุดเดิมเคยปฏิบัติมา

ประเด็นที่มาและอำนาจหน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภา

          บทเฉพาะกาลได้กำหนดเพื่อรองรับการทำงานขององค์กรใดองค์กรหนึ่งเพื่อมิให้เกิดความหยุดชะงัก ดังนั้น ตามมาตรา 269 จึงได้กำหนดรายละเอียดที่สำคัญไว้ ดังนี้

          1.1 ในวาระเริ่มแรกให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิก จำนวน 250 คน โดยพระมหากษัตริย์แต่งตั้งขึ้นตามคำแนะนำของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) โดยที่มาของจำนวนสมาชิก 250 คน มาจากช่องทางการสรรหาด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้

          (1)  คณะรักษาความสงบเรียบร้อย (คสช.) จะแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาที่มีความรู้ประสบการณ์ ในด้านต่าง ๆ ที่มีความเป็นกลางทางการเมือง จำนวน 9  คนแต่ไม่เกิน 12 คน เพื่อทำหน้าที่สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา จำนวนไม่เกิน 400 คน เพื่อให้ คสช. คัดเลือกให้เหลือ 194 คน และคัดชื่อสำรองอีกจำนวน 50 คน และอีกส่วนหนึ่งเป็นโดยตำแหน่ง จำนวน 6 คน อันประกอบด้วยผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

          (2) คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) จะดำเนินการคัดเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 107 จำนวน 200 คน โดยมาจากกลุ่มอาชีพหลากหลายและนำส่งรายชื่อดังกล่าวให้ คสช. ดำเนินการคัดเลือกให้เหลือจำนวน 50 คน และขึ้นทะเบียนสำรองไว้อีกจำนวน 50 คน

          1.2 จากนั้น คสช.จะนำรายชื่อดังกล่าวจำนวน 250 คนขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไปและให้หัวหน้าคสช. เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ โดยวาระการดำรงตำแหน่งของวุฒิสภาจะมีอายุเพียง 5 ปีนับตั้งแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง หากมีตำแหน่งว่างให้เลื่อนรายชื่อบุคคลตามลำดับในบัญชีสำรองขึ้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาแทนโดยให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ดำเนินการและเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

          1.3 ตามมาตรา 270 ได้กำหนดอำนาจและหน้าที่ของวุฒิสภาให้มีหน้าที่และอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศและดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้กฎหมายกำหนดให้คณะรัฐมนตรีแจ้งความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพื่อทราบทุกสามเดือน ในส่วนของร่างพระราชบัญญัติที่จะตราขึ้นเพื่อดำเนินการตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศให้เสนอและพิจารณาในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา

ประเด็นความต่อเนื่องของการดำเนินงานขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ

ทั้งนี้เป็นไปเพื่อรองรับตำแหน่งของบุคคลหรืออำนาจของหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเดิมตามรัฐธรรมนูญนั้น

          กรณีของคณะองคมนตรี มาตรา 262 กำหนดให้องคมนตรีที่ยังคงดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2560 ให้ดำรงตำแหน่งเป็นองคมนตรีต่อไป

          กรณีของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

1. ในระหว่างที่ยังไม่มีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ มาตรา 263 กำหนดให้

         1.1 สภานิติบัญญัติฯ ที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว_พุทธศักราช_2557 ให้ทำหน้าที่รัฐสภาสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป

         1.2 สมาชิกสภานิติบัญญัติฯ ที่ยังดำรงตำแหน่งอยู่ก่อนวันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้ ให้ทำหน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภาต่อไป

         1.3 กรณีที่ตำแหน่งว่างลง ให้เป็นอำนาจของหัวหน้า คสช.จะกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติฯ

         1.4 การสิ้นสุดลงของสมาชิกภาพนั้นให้สิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญนี้และจะไม่สามารถลงเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกเพื่อเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ภายหลังจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ยกเว้นจะพ้นจากตำแหน่งภายในเก้าสิบวันนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวนี้

 2. ในระหว่างที่สภานิติบัญญัติทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา บทเฉพาะกาลกำหนดให้อำนาจของประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายเป็นอำนาจของประธานสภานิติบัญญัติฯ

          กรณีของคณะรัฐมนตรี มาตรา 264 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีที่บริหารราชการแผ่นดินอยู่ในวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามาภายหลังเลือกตั้ง ส่วนการดำเนินงานของคระรัฐมนตรี มาตรา ๒๗๗ กำหนดให้ทำหน้าที่เสนอกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 196 มาตรา 198 และมาตรา 248 วรรคสาม ต่อสภานิติบัญญัติฯ ภายใน 1 ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และมาตรา 278 ให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการให้หน่วยงานของรัฐที่คณะรัฐมนตรีกำหนดดำเนินการให้จัดทำร่างกฎหมายที่จำเป็นตามมาตรา 58 มาตรา 62 และมาตรา 63 ให้แล้วเสร็จและเสนอต่อสภานิติบัญญัติฯ ภายใน 240 วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้และให้สภานิติบัญญัติฯ พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้น หากเป็นกรณีที่มีหน่วยงานหลายๆ หน่วยงานเกี่ยวข้อง คณะรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดระยะเวลาที่แต่ละหน่วยงานต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จตามความจำเป็นของแต่ละหน่วยงาน ทั้งนี้ เมื่อรวมเวลาแล้วต้องไม่เกิน 240 วันเช่นกัน อย่างไรก็ดี หากหน่วยงานของรัฐใดไม่ยอมดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว เป็นอำนาจของคณะรัฐมนตรีที่จะสั่งให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐนั้นพ้นจากตำแหน่ง

          กรณีของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ตามมาตรา 265 กำหนดให้มีผลอยู่ในตำแหน่งและมีอำนาจหน้าที่ดังเดิมต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่

          กรณีของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ตามมาตรา 266 กำหนดให้สภาขับเคลื่อนฯ ทำหน้าที่ไปพลางก่อนเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศจนกว่าจะมีกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศที่ตราขึ้น ตามมาตรา ๒๕๙ ที่กำหนดว่าภายใต้บังคับมาตรา 260 และมาตรา 261 การปฏิรูปประเทศตามหมวดนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศซึ่งอย่างน้อยต้องมีวิธีการจัดทำแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนในการดำเนินงานปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดำเนินการและระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน โดยกำหนดให้เริ่มดำเนินการปฏิรูปในแต่ละด้านภายใน 1 ปี นับตามวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ตลอดจนทั้งผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุในระยะเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการตรากฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศและประกาศใช้บังคับภายใน 120 วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

          กรณีของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา 267 กำหนดให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปเพื่อดำเนินการจัดทำร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญทั้ง 10 ฉบับให้เสร็จสิ้น โดยจะทำการร่างขึ้นใหม่หรือแก้ไขเพิ่มเติมก็ย่อมได้ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นไปอย่างสอดคล้องกับบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ รวมถึงเพื่อให้มีการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 240 วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 และเมื่อแล้วเสร็จคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันพ้นจากตำแหน่งแต่ต้องไม่ช้ากว่าวันพ้นจากตำแหน่งของสมาชิกสภานิติบัญญัติฯ ตามมาตรา 263  และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและรวดเร็ว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะขอให้หัวหน้า คสช. แต่งตั้งกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มขึ้นได้ แต่ทั้งนี้เมื่อรวมแล้วไม่เกิน 30 คน  นอกจากนี้ตามมาตรา 267 ยังได้กำหนดต่อไปว่า ในการพิจารณาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญทั้งหมด 10 ฉบับนั้น เมื่อมีการรับร่างแล้ว สภานิติบัญญัติฯ จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในเวลา 60 วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ หากกรณีไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าสภานิติบัญญัติฯ เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าวตามที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเสนอมา สุดท้ายเพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมการร่างรัฐธรรมนูญดำรงตำแหน่งทางการเมืองภายใน 2 ปีนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง

          กรณีของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องตามรัฐธรรมนูญ มาตรา273 กำหนดให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดิน ดำรงตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป และเมื่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญประกอบรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องที่จัดทำขึ้นตามมาตรา 267 ใช้บังคับแล้ว การดำรงตำแหน่งต่อไปเพียงใดให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ในระหว่างเวลาที่ยังไม่มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่จัดทำขึ้นตามมาตรา 267 การพ้นจากตำแหน่งของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ปี 2550 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ในส่วนของการดำเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและผู้ตรวจการเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ในส่วนของการพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามข้อกำหนดของศาลรัฐธรรมนูญที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

          กรณีของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง_กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุโทรทัศน์กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553  มาตรา 274 กำหนดให้คณะกรรมการกิจการฯ เป็นองค์กรของรัฐที่มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ (ตามมาตรา 60 วรรคสาม)

          กรณีของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและคณะกรรมการอัยการ มาตรา 277 วรรคสอง กำหนดให้คณะกรรมการเหล่านี้ปฏิบัติหน้าที่พลางก่อน ในส่วนของอัยการนั้น ในระหว่างที่ยังไม่มีการปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 248 วรรคสี่ ห้ามมิให้พนักงานอัยการดำรงตำแหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐในทำนองเดียวกัน หรือดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือกิจการอื่นใดที่มีวัตถุประสงค์มุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นที่ปรึกษาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือดำรงตำแหน่งอื่นใดในลักษณะเดียวกัน

ประเด็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

         บทเฉพาะกาลตามมาตรา 268 กำหนดให้ดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้แล้วเสร็จภายใน 150 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติของหมวด 7 รัฐสภา ส่วนที่ 1 บททั่วไปมีผลใช้บังคับแล้ว

ประเด็นสถานะของบรรดาประกาศ คำสั่งและการกระทำใด ๆ ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 

          1.1  มาตรา 279 กำหนดให้บรรดาประกาศ คำสั่ง และการกระทำของ คสช. หรือหัวหน้า คสช. ที่ใช้บังคับ หรือที่จะออกบังคับใช้ต่อไป ให้คงมีผลใช้บังคับโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป

          1.2 การยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมประกาศหรือคำสั่งให้กระทำเป็นพระราชบัญญัติ  ยกเว้น กรณีประกาศหรือคำสั่งที่มีลักษณะเป็นการใช้อำนาจทางการบริหาร การยกเลิกหรือแก้ไขนั้นจะต้องกระทำโดยคำสั่งนายกรัฐมนตรีหรือมติของคณะรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี

          1.3 บรรดาการกระทำใด ๆ ที่ได้รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2559 ว่าเป็นการกระทำชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รวมถึงการกระทำใดที่เกี่ยวเนื่องให้ถือว่าเป็นการกระทำนั้นชอบรัฐธรรมนูญฉบับนี้เช่นกัน

 

บรรณานุกรม

กลุ่มงานประธานรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๔๐-๒๕๕๐ และ

รัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐. พิมพ์ครั้งที่ ๑. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

จารุวรรณ เฮงตระกูล และคณะทำงาน. คู่มือแบบร่างกฎหมาย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.

๒๕๕๑.

บาลานซ์ (ติวเตอร์หมู). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ และแนวข้อสอบ-เฉลย (ฉบับเตรียมตัวสอบ).กรุงเทพฯ: ที.เค.พรินติ้ง. ๒๕๖๑.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐

พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๖. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์. ๒๕๕๖.

 

อ้างอิง

[1] พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๖. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์. ๒๕๕๖. หน้า ๓๐๓.

[2] จารุวรรณ เฮงตระกูล และคณะทำงาน. คู่มือแบบร่างกฎหมาย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ๒๕๕๑. หน้า ๒๔๕.