ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสละราชสมบัติ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ และบทวิเคราะห์"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุมพล''


'''''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิ เตชานันท์''
'''''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุมพล''
 
'''''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิ เตชานันท์''


----
----


 


= '''พระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติ: บทวิเคราะห์''' =
[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ [[๒_มีนาคม_พ.ศ._๒๔๗๗|๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗]] (ซึ่งตามปฏิทินปัจจุบันเป็น พ.ศ. ๒๔๗๘) ด้วยเหตุต่างๆ ในที่นี้ขอเสนอบทวิเคราะห์องค์พระราชหัตถเลขาแต่เพียงโดยสังเขป


'''พระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติ: บทวิเคราะห์'''
[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ [[๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗]] (ซึ่งตามปฏิทินปัจจุบันเป็น พ.ศ. ๒๔๗๘) ด้วยเหตุต่างๆ ในที่นี้ขอเสนอบทวิเคราะห์องค์พระราชหัตถเลขาแต่เพียงโดยสังเขป
เริ่มที่ข้อความย่อหน้าที่ ๒ หน้า ๕ ที่ว่า '''“ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใดคณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาราษฎร”'''
เริ่มที่ข้อความย่อหน้าที่ ๒ หน้า ๕ ที่ว่า '''“ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใดคณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาราษฎร”'''
 
หลายคนอ่านแค่นี้แล้วเข้าใจไปว่า ทรงสละพระราชอำนาจในวาระที่ทรงสละราชสมบัติ ซึ่งจริงๆ แล้ว ทรงสละพระราชอำนาจ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเกือบ ๓ ปีก่อนหน้านั้นแล้ว คือเมื่อมีการ “ก่อ[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]” เมื่อวันที่ [[๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕]] และทรงรับเป็น “พระเจ้าแผ่นดินปกครองตาม[[พระธรรมนูญ]]” ซึ่งหมายความว่าไม่ทรงมีอำนาจ[[การบริหารราชการแผ่นดิน]]อยู่ในพระหัตถ์อีกต่อไปแล้ว
หลายคนอ่านแค่นี้แล้วเข้าใจไปว่า ทรงสละพระราชอำนาจในวาระที่ทรงสละราชสมบัติ ซึ่งจริงๆ แล้ว ทรงสละพระราชอำนาจ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์|สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเกือบ ๓ ปีก่อนหน้านั้นแล้ว คือเมื่อมีการ “ก่อ[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]” เมื่อวันที่ [[๒๔_มิถุนายน_พ.ศ._๒๔๗๕|๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕]] และทรงรับเป็น “พระเจ้าแผ่นดินปกครองตาม[[พระธรรมนูญ|พระธรรมนูญ]]” ซึ่งหมายความว่าไม่ทรงมีอำนาจ[[การบริหารราชการแผ่นดิน|การบริหารราชการแผ่นดิน]]อยู่ในพระหัตถ์อีกต่อไปแล้ว
 
ดังนั้น ข้อความที่คัดมาข้างต้นจึงเป็นการทรงย้อนไปกล่าวถึงเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ว่าได้ทรงสละพระราชอำนาจให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป เพื่อประกอบการทรงอธิบายเหตุผลว่า เหตุใดจึงต้องสละราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๔๗๗
ดังนั้น ข้อความที่คัดมาข้างต้นจึงเป็นการทรงย้อนไปกล่าวถึงเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ว่าได้ทรงสละพระราชอำนาจให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป เพื่อประกอบการทรงอธิบายเหตุผลว่า เหตุใดจึงต้องสละราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๔๗๗
 
คำอธิบายของพระองค์โดยสรุปอยู่ที่ย่อหน้าที่ ๑ ของหน้าเดียวกัน ใจความดังต่อไปนี้
คำอธิบายของพระองค์โดยสรุปอยู่ที่ย่อหน้าที่ ๑ ของหน้าเดียวกัน ใจความดังต่อไปนี้
 
'''“ข้าพเจ้าเห็นว่าคณะรัฐบาลและพวกพ้อง ใช้วิธีการปกครองซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักการของเสรีภาพในตัวบุคคลและหลักความยุตติธรรมตามความเข้าใจและยึดถือของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผู้ใดคณะใดใช้วิธีการปกครองอย่างนั้น ในนามของข้าพเจ้าต่อไปได้”'''
'''“ข้าพเจ้าเห็นว่าคณะรัฐบาลและพวกพ้อง ใช้วิธีการปกครองซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักการของเสรีภาพในตัวบุคคลและหลักความยุตติธรรมตามความเข้าใจและยึดถือของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผู้ใดคณะใดใช้วิธีการปกครองอย่างนั้น ในนามของข้าพเจ้าต่อไปได้”'''
 
กล่าวคือเมื่อทรงสละ[[พระราชอำนาจ]] (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕) แล้วทรงพบว่า “[[รัฐบาล]]และพวกพ้อง” ทำการปกครองในพระปรมาภิไธย (ในนาม) ของพระมหากษัตริย์ภายใต้[[รัฐธรรมนูญ]] (องค์พระประมุข) ในรูปแบบที่ผิด “[[หลักการของเสรีภาพ]]ในตัวบุคคล” และ “[[หลักความยุติธรรม]]” (ตามที่ทรงเข้าพระราชหฤทัย)
กล่าวคือเมื่อทรงสละ[[พระราชอำนาจ|พระราชอำนาจ]] (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕) แล้วทรงพบว่า “[[รัฐบาล|รัฐบาล]]และพวกพ้อง” ทำการปกครองในพระปรมาภิไธย (ในนาม) ของพระมหากษัตริย์ภายใต้[[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]] (องค์พระประมุข) ในรูปแบบที่ผิด “[[หลักการของเสรีภาพ|หลักการของเสรีภาพ]]ในตัวบุคคล” และ “[[หลักความยุติธรรม|หลักความยุติธรรม]]” (ตามที่ทรงเข้าพระราชหฤทัย)
 
ตรงนี้อธิบายขยายความได้ว่า สองหลักนี้มีความเชื่อมโยงกันเป็นหลักของระบอบรัฐธรรมนูญแบบเสรีนิยม กล่าวคือ ถือว่ามนุษย์แต่ละคนมีเสรีภาพ (freedom) มาแต่กำเนิด ด้วยเหตุผลที่ว่ามนุษย์แตกต่างจากสัตว์เดียรัจฉาน ตรงที่ คิดเป็น ใช้เหตุผลเป็น และจึงสร้างสรรค์เป็น (ส่วนจะคิดหรือใช้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง)
ตรงนี้อธิบายขยายความได้ว่า สองหลักนี้มีความเชื่อมโยงกันเป็นหลักของระบอบรัฐธรรมนูญแบบเสรีนิยม กล่าวคือ ถือว่ามนุษย์แต่ละคนมีเสรีภาพ (freedom) มาแต่กำเนิด ด้วยเหตุผลที่ว่ามนุษย์แตกต่างจากสัตว์เดียรัจฉาน ตรงที่ คิดเป็น ใช้เหตุผลเป็น และจึงสร้างสรรค์เป็น (ส่วนจะคิดหรือใช้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง)
 
เสรีภาพนี้จึงต้องได้รับความคุ้มครองจากการถูกริดรอนโดยการใช้อำนาจจากมนุษย์คนอื่นโดยเฉพาะยิ่งจากผู้ปกครอง จึงเป็นที่มาของแนวคิด การปกครองโดยหลักนิติธรรม (the rule of law) การปกครองโดยหลักนิติธรรมนี้พูดง่ายๆ ก็คือสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการปกครอง (การใช้อำนาจ) ตามอำเภอใจของผู้ปกครอง (arbitrary rule) เท่ากับว่าผู้ปกครองจะต้องทำการตัดสินใจตามกฎเกณฑ์หรือหลักการที่ใช้บังคับทั่วไปกับบุคคลทุกผู้ทุกนามอย่างไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ไม่เลือกปฏิบัติ กล่าวคือการตัดสินใจต้องเป็นกลางไม่โอนเอียงเข้ากับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และใช้กับทุกกรณี
เสรีภาพนี้จึงต้องได้รับความคุ้มครองจากการถูกริดรอนโดยการใช้อำนาจจากมนุษย์คนอื่นโดยเฉพาะยิ่งจากผู้ปกครอง จึงเป็นที่มาของแนวคิด การปกครองโดยหลักนิติธรรม (the rule of law) การปกครองโดยหลักนิติธรรมนี้พูดง่ายๆ ก็คือสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการปกครอง (การใช้อำนาจ) ตามอำเภอใจของผู้ปกครอง (arbitrary rule) เท่ากับว่าผู้ปกครองจะต้องทำการตัดสินใจตามกฎเกณฑ์หรือหลักการที่ใช้บังคับทั่วไปกับบุคคลทุกผู้ทุกนามอย่างไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ไม่เลือกปฏิบัติ กล่าวคือการตัดสินใจต้องเป็นกลางไม่โอนเอียงเข้ากับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และใช้กับทุกกรณี
 
หากการปกครองเป็นเช่นนี้ได้แล้ว ทุกคนก็จะมี “ความเสมอภาคกันในสายตาของ[[กฎหมาย]] (equality before the law)” และมีเสรีภาพ คือปราศจากความหวาดกลัวว่าจะมีการใช้อำนาจตามอำเภอใจของผู้ปกครอง (freedom from fear) กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการปกครองที่ปวงประชาได้รับการปกป้อง (demo-protection) แนวคิด “การปกครองโดยหลักนิติธรรม” นี้เองเป็นที่มาของแนวคิด ระบอบรัฐธรรมนูญ (constitutionalism) ซึ่งต้องบอกว่ายังไม่ถึงกับเป็นประชาธิปไตย
หากการปกครองเป็นเช่นนี้ได้แล้ว ทุกคนก็จะมี “ความเสมอภาคกันในสายตาของ[[กฎหมาย|กฎหมาย]] (equality before the law)” และมีเสรีภาพ คือปราศจากความหวาดกลัวว่าจะมีการใช้อำนาจตามอำเภอใจของผู้ปกครอง (freedom from fear) กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการปกครองที่ปวงประชาได้รับการปกป้อง (demo-protection) แนวคิด “การปกครองโดยหลักนิติธรรม” นี้เองเป็นที่มาของแนวคิด ระบอบรัฐธรรมนูญ (constitutionalism) ซึ่งต้องบอกว่ายังไม่ถึงกับเป็นประชาธิปไตย
 
คราวนี้มาดูย่อหน้าที่ ๓ หน้า ๔ ซึ่งแยกแยะได้เป็นสองตอน
คราวนี้มาดูย่อหน้าที่ ๓ หน้า ๔ ซึ่งแยกแยะได้เป็นสองตอน


ตอนแรกมีว่า “บัดนี้ข้าพเจ้าเห็นว่าความประสงค์ของข้าพเจ้าที่จะให้ราษฎรมีสิทธิออกเสียงในนโยบายของประเทศโดยแท้จริงไม่เป็นผลสำเร็จ”
ตอนแรกมีว่า “บัดนี้ข้าพเจ้าเห็นว่าความประสงค์ของข้าพเจ้าที่จะให้ราษฎรมีสิทธิออกเสียงในนโยบายของประเทศโดยแท้จริงไม่เป็นผลสำเร็จ”
 
เท่ากับว่าทรงนำเรื่องประชาธิปไตยหรือ[[อำนาจอธิปไตย]]ของปวงประชาเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรง หมายความว่า นอกจากประชาชนจะต้องมีเสรีภาพที่มีการปกครองในหลักนิติธรรม (ในระบอบรัฐธรรมนูญ) เป็นประกันแล้ว ยังต้องมี[[สิทธิทางการเมือง]] คือที่จะมีส่วนร่วมในการชี้ว่านโยบายของประเทศจะเป็นเช่นใดด้วย
เท่ากับว่าทรงนำเรื่องประชาธิปไตยหรือ[[อำนาจอธิปไตย|อำนาจอธิปไตย]]ของปวงประชาเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรง หมายความว่า นอกจากประชาชนจะต้องมีเสรีภาพที่มีการปกครองในหลักนิติธรรม (ในระบอบรัฐธรรมนูญ) เป็นประกันแล้ว ยังต้องมี[[สิทธิทางการเมือง|สิทธิทางการเมือง]] คือที่จะมีส่วนร่วมในการชี้ว่านโยบายของประเทศจะเป็นเช่นใดด้วย
 
อธิบายเพิ่มเติมตามศาสตราจารย์จีโอวานี ซาตอรี่ (Giovanni Sartori) นักรัฐศาสตร์ชั้นนำชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลีได้ว่า สองเสาหลัก (เสาเข็ม) ของประชาธิปไตยนั้น คือการปกครองโดยหลักนิติธรรม (the rule of law หรือ demo-protection) ประการหนึ่งและอำนาจอธิปไตยของปวงชนหรือ อำนาจของปวงชน (demo-power) อีกประการหนึ่ง (Sartori 2001)
อธิบายเพิ่มเติมตามศาสตราจารย์จีโอวานี ซาตอรี่ (Giovanni Sartori) นักรัฐศาสตร์ชั้นนำชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลีได้ว่า สองเสาหลัก (เสาเข็ม) ของประชาธิปไตยนั้น คือการปกครองโดยหลักนิติธรรม (the rule of law หรือ demo-protection) ประการหนึ่งและอำนาจอธิปไตยของปวงชนหรือ อำนาจของปวงชน (demo-power) อีกประการหนึ่ง (Sartori 2001)
 
ซาตอรีตั้งปุจฉาชวนคิดไว้ต่อไปว่า “หากคุณต้องเลือกระหว่างการอยู่ในประเทศที่ demoprotection อย่างเดียวกับประเทศที่มี demo-power อย่างเดียว คุณจะเลือกอยู่ที่ไหน?” เขาวิสัชนาว่าเขาจะเลือกอย่างแรก และไขปริศนาไว้ด้วยว่า เพราะหากปวงประชาไม่ได้รับการปกป้องจากการใช้อำนาจตามอำเภอใจเสียแล้วไซร้ ปวงประชานั้นจะมีหนทางใดเล่าที่จะ (ใช้ความคิดปรึกษากัน รวมตัวกัน) สร้างอำนาจปวงประชาขึ้นมาได้ ดังนั้น การปกป้องปวงประชา หรือการปกครองโดยหลักนิติธรรม (หรือระบอบรัฐธรรมนูญ) จึงเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นของการที่จะมีประชาธิปไตย และจึงเป็นเสาหลักหนึ่งขาดไม่ได้ของระบอบประชาธิปไตย แต่มีเสานี้เสาเดียวก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นระบอบประชาธิปไตย ต้องมีอีกเสาหนึ่งคือ อำนาจของปวงประชา
ซาตอรีตั้งปุจฉาชวนคิดไว้ต่อไปว่า “หากคุณต้องเลือกระหว่างการอยู่ในประเทศที่ demoprotection อย่างเดียวกับประเทศที่มี demo-power อย่างเดียว คุณจะเลือกอยู่ที่ไหน?” เขาวิสัชนาว่าเขาจะเลือกอย่างแรก และไขปริศนาไว้ด้วยว่า เพราะหากปวงประชาไม่ได้รับการปกป้องจากการใช้อำนาจตามอำเภอใจเสียแล้วไซร้ ปวงประชานั้นจะมีหนทางใดเล่าที่จะ (ใช้ความคิดปรึกษากัน รวมตัวกัน) สร้างอำนาจปวงประชาขึ้นมาได้ ดังนั้น การปกป้องปวงประชา หรือการปกครองโดยหลักนิติธรรม (หรือระบอบรัฐธรรมนูญ) จึงเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นของการที่จะมีประชาธิปไตย และจึงเป็นเสาหลักหนึ่งขาดไม่ได้ของระบอบประชาธิปไตย แต่มีเสานี้เสาเดียวก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นระบอบประชาธิปไตย ต้องมีอีกเสาหนึ่งคือ อำนาจของปวงประชา
 
ส่วนที่ว่าแต่ละประเทศจะจัดการให้มีทั้ง ๒ เสาบนสภาพจริงตลอดจนชีวิตวัฒนธรรมของแต่ละประเทศนั้น คนในประเทศนั้นๆ ต้องคิดอ่านกันให้ดี สำหรับองค์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นได้ทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ในเรื่องปัญหาการปรับใช้อยู่ไม่น้อย เห็นได้จาก[[พระราชบันทึก Problems of Siam]] (พ.ศ. ๒๔๖๙) และ [[Democracy in Siam]] (พ.ศ. ๒๔๗๐) หรือแม้แต่ในพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตินี้เอง ดังความในย่อหน้าที่ ๓ ตอนหลังที่ว่า  
ส่วนที่ว่าแต่ละประเทศจะจัดการให้มีทั้ง ๒ เสาบนสภาพจริงตลอดจนชีวิตวัฒนธรรมของแต่ละประเทศนั้น คนในประเทศนั้นๆ ต้องคิดอ่านกันให้ดี สำหรับองค์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นได้ทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ในเรื่องปัญหาการปรับใช้อยู่ไม่น้อย เห็นได้จาก[[พระราชบันทึก_Problems_of_Siam|พระราชบันทึก Problems of Siam]] (พ.ศ. ๒๔๖๙) และ [[Democracy_in_Siam|Democracy in Siam]] (พ.ศ. ๒๔๗๐) หรือแม้แต่ในพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตินี้เอง ดังความในย่อหน้าที่ ๓ ตอนหลังที่ว่า


''“และเมื่อข้าพเจ้ารู้สึกว่าบัดนี้เปนอันหมดหนทางที่ข้าพเจ้าจะช่วยเหลือหรือให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนได้ต่อไปแล้ว ข้าพเจ้าจึงของสละราชสมบัติและออกจากตำแหน่งพระมหากษัตริย์แต่บัดนี้เปนต้นไป”''
''“และเมื่อข้าพเจ้ารู้สึกว่าบัดนี้เปนอันหมดหนทางที่ข้าพเจ้าจะช่วยเหลือหรือให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนได้ต่อไปแล้ว ข้าพเจ้าจึงของสละราชสมบัติและออกจากตำแหน่งพระมหากษัตริย์แต่บัดนี้เปนต้นไป”''


ข้อความนี้ไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจ แต่ว่าน่าสนใจเพราะว่าทรงย้อนไปอ้างถึงพระราชภาระของพระมหากษัตริย์สยามตามคติ[[ธรรมราชา]]ที่จะต้องทรง “ปกป้องปวงประชา” ดังความในพระปฐมบรมราชโองการของพระองค์ เมื่อทรงบรมราชาภิเษก ในวันที่ [[๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘]] ที่ว่า
ข้อความนี้ไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจ แต่ว่าน่าสนใจเพราะว่าทรงย้อนไปอ้างถึงพระราชภาระของพระมหากษัตริย์สยามตามคติ[[ธรรมราชา|ธรรมราชา]]ที่จะต้องทรง “ปกป้องปวงประชา” ดังความในพระปฐมบรมราชโองการของพระองค์ เมื่อทรงบรมราชาภิเษก ในวันที่ [[๒๕_กุมภาพันธ์_พ.ศ._๒๔๖๘|๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘]] ที่ว่า
 
'''“บัดนี้เราทรงราชภาระ ครองแผ่นดินโดยธรรมสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์สุขเกื้อกูลและสุขแห่งมหาชน เราแผ่ราชอาณาเหนื่อท่านทั้งหลายกับโภคสมบัติ เป็นที่พึ่งจัดการปกครองกันอันเป็นธรรมสืบไป ท่านทั้งหลายจงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญฯ”'''


'''“บัดนี้เราทรงราชภาระ ครองแผ่นดินโดยธรรมสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์สุขเกื้อกูลและสุขแห่งมหาชน เราแผ่ราชอาณาเหนื่อท่านทั้งหลายกับโภคสมบัติ เป็นที่พึ่งจัดการปกครองกันอันเป็นธรรมสืบไป ท่านทั้งหลายจงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญฯ”'''
พึงสังเกตว่าได้ทรงสัญญาไว้ว่าจะทรง “จัดการปกครองป้องกันอันเป็นธรรม” แต่เมื่อได้ทรง “เต็มใจ” สละพระราชอำนาจแล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ดังนั้นใน พ.ศ. ๒๔๗๗ ขณะที่จะทรงสละพระราชสมบัติจึงไม่ทรงมี[[พระราชอำนาจ|พระราชอำนาจ]]ในการจัดการปกครองแล้ว เพราะได้ทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ ทรงมีแต่สิ่งที่เรียกว่า “[[พระราชสิทธิ|พระราชสิทธิ]]” ของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญตามธรรมเนียมของระบอบนั้นในตะวันตก เช่นอังกฤษ ที่จะทรงรับปรึกษาหารือที่จะพระราชทานกำลังใจและที่จะทรงร้องขอตักเตือนผู้ที่กระทำการปกครองจริงๆ ซึ่งพระองค์ก็ได้ทรงใช้พระราชสิทธิ “ร้องขอ” ระหว่างพระองค์กับคณะผู้แทนรัฐบาลจากกรุงเทพฯ
 
เท่ากับว่าทรงรู้สึกว่าทรงล้มเหลวในอันที่จะทรงช่วยประคับประคอง[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]ไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญและ[[ประชาธิปไตย|ประชาธิปไตย]] และที่สำคัญไม่อาจที่จะทรงทำหน้าที่ของธรรมราชาในการปกป้องปวงประชาดังที่ทรงสัญญาไว้แต่ครั้งที่ทรงขึ้นสู่ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ จึงทรงสำนึกว่าต้องทรงรับผิดชอบ ด้วยการทรงลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งก็คือสละราชสมบัติ


พึงสังเกตว่าได้ทรงสัญญาไว้ว่าจะทรง “จัดการปกครองป้องกันอันเป็นธรรม” แต่เมื่อได้ทรง “เต็มใจ” สละพระราชอำนาจแล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ดังนั้นใน พ.ศ. ๒๔๗๗ ขณะที่จะทรงสละพระราชสมบัติจึงไม่ทรงมี[[พระราชอำนาจ]]ในการจัดการปกครองแล้ว เพราะได้ทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ ทรงมีแต่สิ่งที่เรียกว่า “[[พระราชสิทธิ]]” ของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญตามธรรมเนียมของระบอบนั้นในตะวันตก เช่นอังกฤษ ที่จะทรงรับปรึกษาหารือที่จะพระราชทานกำลังใจและที่จะทรงร้องขอตักเตือนผู้ที่กระทำการปกครองจริงๆ ซึ่งพระองค์ก็ได้ทรงใช้พระราชสิทธิ “ร้องขอ” ระหว่างพระองค์กับคณะผู้แทนรัฐบาลจากกรุงเทพฯ
เท่ากับว่าทรงรู้สึกว่าทรงล้มเหลวในอันที่จะทรงช่วยประคับประคอง[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]ไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญและ[[ประชาธิปไตย]] และที่สำคัญไม่อาจที่จะทรงทำหน้าที่ของธรรมราชาในการปกป้องปวงประชาดังที่ทรงสัญญาไว้แต่ครั้งที่ทรงขึ้นสู่ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ จึงทรงสำนึกว่าต้องทรงรับผิดชอบ ด้วยการทรงลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งก็คือสละราชสมบัติ
พึงสังวรว่าทรงสละราชสมบัติที่ทรงเข้าสู่ในฐานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิ ไม่ใช่ตามรัฐธรรมนูญ จึงทรงสำนึกว่าต้องทรงรับผิดชอบกับการที่ทรงยินยอมเปลี่ยนพระราชสถานะแล้ว การณ์ปรากฏภายหลังว่าไม่อาจทรงรักษาสัญญาไว้ได้ จะใช้ตามภาษาปัจจุบันว่าทรง “ตรวจสอบ” พระองค์เองก็ได้ แต่ในการนั้นได้ทรงเน้นย้ำถึงหลักการของระบอบประชาธิปไตย ๒ หลักไว้ให้เราคนรุ่นหลังได้เรียนรู้ทำความเข้าใจ
พึงสังวรว่าทรงสละราชสมบัติที่ทรงเข้าสู่ในฐานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิ ไม่ใช่ตามรัฐธรรมนูญ จึงทรงสำนึกว่าต้องทรงรับผิดชอบกับการที่ทรงยินยอมเปลี่ยนพระราชสถานะแล้ว การณ์ปรากฏภายหลังว่าไม่อาจทรงรักษาสัญญาไว้ได้ จะใช้ตามภาษาปัจจุบันว่าทรง “ตรวจสอบ” พระองค์เองก็ได้ แต่ในการนั้นได้ทรงเน้นย้ำถึงหลักการของระบอบประชาธิปไตย ๒ หลักไว้ให้เราคนรุ่นหลังได้เรียนรู้ทำความเข้าใจ
 
เอกสารอีกชิ้นหนึ่งที่สนับสนุนการตีความเช่นนี้ก็คือ สำเนาแปลโทรเลขซึ่งส่งมาจากอังกฤษหลังจากที่ทรงสละราชสมบัติแล้วไม่กี่วัน อัญเชิญพระราชกระแสมายัง “บรรดาข้าราชการในพระราชสำนัก” ความตอนหนึ่งว่า
เอกสารอีกชิ้นหนึ่งที่สนับสนุนการตีความเช่นนี้ก็คือ สำเนาแปลโทรเลขซึ่งส่งมาจากอังกฤษหลังจากที่ทรงสละราชสมบัติแล้วไม่กี่วัน อัญเชิญพระราชกระแสมายัง “บรรดาข้าราชการในพระราชสำนัก” ความตอนหนึ่งว่า
'''“ข้าพเจ้าขอให้ทุกคนจงให้อภัยแก่ข้าพเจ้า ถ้าอภัยให้ได้ ในการที่ได้ละทิ้งไปเสียในเวลานี้แต่ข้าพเจ้ารู้สึกว่า จำเป็นต้องต่อสู้เพื่อสิ่งที่ข้าพเจ้าคิดเห็นว่า ถูกและเป็นความยุตติธรรม ข้าพเจ้าไม่สามารถจะทำตนให้ต่ำลง และครองชีวิตอยู่ได้ตลอดไปด้วยความอัปประยศเพื่อว่าจะได้ครอบครองราชย์สมบัติสืบไป...”'''


'''“ข้าพเจ้าขอให้ทุกคนจงให้อภัยแก่ข้าพเจ้า ถ้าอภัยให้ได้ ในการที่ได้ละทิ้งไปเสียในเวลานี้แต่ข้าพเจ้ารู้สึกว่า จำเป็นต้องต่อสู้เพื่อสิ่งที่ข้าพเจ้าคิดเห็นว่า ถูกและเป็นความยุตติธรรม ข้าพเจ้าไม่สามารถจะทำตนให้ต่ำลง และครองชีวิตอยู่ได้ตลอดไปด้วยความอัปประยศเพื่อว่าจะได้ครอบครองราชย์สมบัติสืบไป...”'''  


 


'''บรรณานุกรม'''
= '''บรรณานุกรม''' =


Sartori, Giovanni. 2001. How far can free government travel? in Larry Diamond and Marc G. Plattner (eds.). The Global Divergence of Democracy. Baltimore and London: Johns Hopkins University Press. Pages 52-62.
Sartori, Giovanni. 2001. How far can free government travel? in Larry Diamond and Marc G. Plattner (eds.). The Global Divergence of Democracy. Baltimore and London: Johns Hopkins University Press. Pages 52-62.


เพื่อเป็นการสรุปบทวิเคราะห์ของผู้เขียนซึ่งได้นำเสนอไว้ในเนื้อหา เรื่อง พระราชปณิธาน , อภิรัฐมนตรีสภา , แนวทางการปรับเปลี่ยนระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ , สู่การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น , สู่การปกครองในระบบรัฐสภา : สภากรรมการองคมนตรี อันเป็นบทวิเคราะห์ที่พยายาม “อ่าน” ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงคิดอะไร ทำอะไร ไม่ทำอะไร เพราะเหตุใด เป็นหลัก หรือที่เรียกว่า แบบ empathetic หรือแบบ “จากข้างใน” (inside out) บุคคลที่เรากำลังศึกษา ขอนำเสนอ ดังนี้:
เพื่อเป็นการสรุปบทวิเคราะห์ของผู้เขียนซึ่งได้นำเสนอไว้ในเนื้อหา เรื่อง พระราชปณิธาน , อภิรัฐมนตรีสภา , แนวทางการปรับเปลี่ยนระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ , สู่การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น , สู่การปกครองในระบบรัฐสภา : สภากรรมการองคมนตรี อันเป็นบทวิเคราะห์ที่พยายาม “อ่าน” ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงคิดอะไร ทำอะไร ไม่ทำอะไร เพราะเหตุใด เป็นหลัก หรือที่เรียกว่า แบบ empathetic หรือแบบ “จากข้างใน” (inside out) บุคคลที่เรากำลังศึกษา ขอนำเสนอ ดังนี้:


'''องค์ประชาธิปกราชันกับการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ'''
'''องค์ประชาธิปกราชันกับการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ''' Absolute monarchy, like democracy, may become harmful at any time, because both principles rely on the perfection of human nature, a very frail thing to depend on. A sound democracy depends on the soundness of the people, and a benevolent absolute monarchy depends on the qualities of the King.
Absolute monarchy, like democracy, may become harmful at any time, because both principles rely on the perfection of human nature, a very frail thing to depend on. A sound democracy depends on the soundness of the people, and a benevolent absolute monarchy depends on the qualities of the King.


King Prajadhipok (then ‘absolute’), ‘Democracy in Siam’, 1927
King Prajadhipok (then ‘absolute’), ‘Democracy in Siam’, 1927


''''ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นก็เหมือนกับระบอบประชาธิปไตยในข้อที่ว่า อาจเป็นภัยอันตรายขึ้นเมื่อใดก็ได้ เพราะหลักการของทั้งสองระบอบนี้ขึ้นอยู่กับความประเสริฐสุดของธรรมชาติของมนุษย์ อันเป็นสิ่งที่อ่อนแอเหลือเกินที่จะพึ่งพาอาศัยได้ ระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงนั้นก็ขึ้นอยู่กับจิตใจอันมั่นคงของประชาชน และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีแต่ความกรุณานั้นก็ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติเฉพาะพระองค์ของพระเจ้าแผ่นดิน''''
''''ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นก็เหมือนกับระบอบประชาธิปไตยในข้อที่ว่า อาจเป็นภัยอันตรายขึ้นเมื่อใดก็ได้ เพราะหลักการของทั้งสองระบอบนี้ขึ้นอยู่กับความประเสริฐสุดของธรรมชาติของมนุษย์ อันเป็นสิ่งที่อ่อนแอเหลือเกินที่จะพึ่งพาอาศัยได้ ระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงนั้นก็ขึ้นอยู่กับจิตใจอันมั่นคงของประชาชน และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีแต่ความกรุณานั้นก็ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติเฉพาะพระองค์ของพระเจ้าแผ่นดิน''''
<p style="text-align: right;">คำแปล โดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช “ข้าวไกลนา” สยามรัฐรายวัน ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๙๑๔๖ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๑๙.</p>
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(ทรงครองราชย์ฯ พ.ศ.๒๔๖๘-พ.ศ.๒๔๗๗) ทรงมีพระราชปณิธานมาตั้งแต่ทรงรับราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์แล้วว่า จะทรงสถาปนาระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ(Constitutional Monarchy) ขึ้นในสยาม และได้ทรงวางพระองค์มั่นในพระราชปณิธานนี้ตลอดรัชกาลของพระองค์ ด้วยพระราชมานะอดทนท่ามกลางอุปสรรคและสภาพการณ์ที่ไม่เอื้ออำนวยต่างๆ


คำแปล โดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์  ปราโมช
แม้ว่าในฐานะปัญญาชน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงมีความสงสัยตามแบบฉบับที่ดีของปัญญาชนว่าประชาธิปไตยนั้นเป็นของดีจริงหรือไม่และเหมาะสมสำหรับที่จะใช้ในสยามหรือไม่ก็ตาม แต่พระองค์ได้สรุปว่าสัญญาณแห่งกาลเวลามีให้เห็นเด่นชัดว่าสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ อัตตาธิปไตย (autocracy) นับวันจะล้าสมัย และประชาธิปไตยกำลังเป็นที่ใฝ่หาของผู้คน ดังนั้นในฐานะที่ต้องทรงเป็นผู้ปฏิบัติ จึงทรงกำหนดเป็นพระราชพันธกิจ(รับสั่งว่า “เหมือนสวรรค์สั่ง”) ที่จะต้องทรงอำนวยให้ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญได้วิวัฒน์ขึ้นในสยาม เพื่อที่จะได้เป็นหนทางหลีกเลี่ยงความขัดแย้งระหว่างการมีสถาบันพระมหากษัตริย์กับการมีระบอบประชาธิปไตย และในการนั้นรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ซึ่งอยู่คู่มากับสยามแต่โบราณกาล(ซึ่งก็ไม่แปลกในเมื่อทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้สืบราชสันตติวงศ์)
“ข้าวไกลนา” สยามรัฐรายวัน ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๙๑๔๖
๒๒ ตุลาคม ๒๕๑๙.


ในพระราชสถานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระองค์ได้ทรงจัดวางยุทธศาสตร์การปฏิรูปการปกครอง ซึ่งมีลักษณะของการผสมผสานสิ่งที่มีมาแต่ก่อนกับสิ่งใหม่ ด้วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เพื่อที่จะได้หลีกเลี่ยงความระส่ำระสายจนเกินจำเป็น และการเสียเลือดเนื้อ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(ทรงครองราชย์ฯ พ.ศ.๒๔๖๘-พ.ศ.๒๔๗๗) ทรงมีพระราชปณิธานมาตั้งแต่ทรงรับราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์แล้วว่า จะทรงสถาปนาระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ(Constitutional Monarchy) ขึ้นในสยาม และได้ทรงวางพระองค์มั่นในพระราชปณิธานนี้ตลอดรัชกาลของพระองค์ ด้วยพระราชมานะอดทนท่ามกลางอุปสรรคและสภาพการณ์ที่ไม่เอื้ออำนวยต่างๆ
แม้ว่าในฐานะปัญญาชน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงมีความสงสัยตามแบบฉบับที่ดีของปัญญาชนว่าประชาธิปไตยนั้นเป็นของดีจริงหรือไม่และเหมาะสมสำหรับที่จะใช้ในสยามหรือไม่ก็ตาม แต่พระองค์ได้สรุปว่าสัญญาณแห่งกาลเวลามีให้เห็นเด่นชัดว่าสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ อัตตาธิปไตย (autocracy) นับวันจะล้าสมัย และประชาธิปไตยกำลังเป็นที่ใฝ่หาของผู้คน ดังนั้นในฐานะที่ต้องทรงเป็นผู้ปฏิบัติ จึงทรงกำหนดเป็นพระราชพันธกิจ(รับสั่งว่า “เหมือนสวรรค์สั่ง”) ที่จะต้องทรงอำนวยให้ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญได้วิวัฒน์ขึ้นในสยาม เพื่อที่จะได้เป็นหนทางหลีกเลี่ยงความขัดแย้งระหว่างการมีสถาบันพระมหากษัตริย์กับการมีระบอบประชาธิปไตย และในการนั้นรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ซึ่งอยู่คู่มากับสยามแต่โบราณกาล(ซึ่งก็ไม่แปลกในเมื่อทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้สืบราชสันตติวงศ์)
ในพระราชสถานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระองค์ได้ทรงจัดวางยุทธศาสตร์การปฏิรูปการปกครอง ซึ่งมีลักษณะของการผสมผสานสิ่งที่มีมาแต่ก่อนกับสิ่งใหม่ ด้วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เพื่อที่จะได้หลีกเลี่ยงความระส่ำระสายจนเกินจำเป็น และการเสียเลือดเนื้อ  


ยุทธศาสตร์ของพระองค์ค่อยๆปรากฏขึ้นเป็นระบบ ซึ่งพอจะประมวลได้ดังต่อไปนี้
ยุทธศาสตร์ของพระองค์ค่อยๆปรากฏขึ้นเป็นระบบ ซึ่งพอจะประมวลได้ดังต่อไปนี้
 
ในอันที่จะจำกัดการที่พระมหากษัตริย์จะทรงใช้อำนาจกระทำการตามอำเภอพระราชหฤทัยหรือที่ไม่ฉลาดสุขุมรอบคอบ องค์ประชาธิปก ผู้ทรงยอมรับว่าพระองค์เองทรงขาดประสบการณ์ ได้ทรงตั้ง'''อภิรัฐมนตรีสภา'''ขึ้นประกอบด้วยเจ้านายชั้นบรมวงศ์ผู้ทรงประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินส่วนต่างๆ เป็นที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์
ในอันที่จะจำกัดการที่พระมหากษัตริย์จะทรงใช้อำนาจกระทำการตามอำเภอพระราชหฤทัยหรือที่ไม่ฉลาดสุขุมรอบคอบ องค์ประชาธิปก ผู้ทรงยอมรับว่าพระองค์เองทรงขาดประสบการณ์ ได้ทรงตั้ง'''อภิรัฐมนตรีสภา'''ขึ้นประกอบด้วยเจ้านายชั้นบรมวงศ์ผู้ทรงประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินส่วนต่างๆ เป็นที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์
 
ในอันที่จะให้สภานิติบัญญัติได้วิวัฒน์ขึ้นต่อไป พระองค์ได้ทรงปรับองค์กรที่มีมาแต่ในอดีตแต่บัดนั้นมีบทบาทน้อย เป็น'''สภากรรมการองคมนตรี''' มีสมาชิกจำนวน 40 คนที่คัดสรรจากบรรดาองคมนตรีที่มีอยู่เดิม เพื่อให้บรรดาชนชั้นนำได้ฝึกหัดวิธีการของการปรึกษาหารือในประเด็นนโยบายและกฎหมายในแบบของรัฐสภา(Parliament)และเป็นองค์กรทัดทานการใช้     พระราชอำนาจในทางที่ผิดอีกโสตหนึ่งด้วย
ในอันที่จะให้สภานิติบัญญัติได้วิวัฒน์ขึ้นต่อไป พระองค์ได้ทรงปรับองค์กรที่มีมาแต่ในอดีตแต่บัดนั้นมีบทบาทน้อย เป็น'''สภากรรมการองคมนตรี''' มีสมาชิกจำนวน 40 คนที่คัดสรรจากบรรดาองคมนตรีที่มีอยู่เดิม เพื่อให้บรรดาชนชั้นนำได้ฝึกหัดวิธีการของการปรึกษาหารือในประเด็นนโยบายและกฎหมายในแบบของรัฐสภา(Parliament)และเป็นองค์กรทัดทานการใช้ พระราชอำนาจในทางที่ผิดอีกโสตหนึ่งด้วย
 
ควบคู่กับการปฏิรูป'''จากเบื้องบน'''สู่ระบอบประชาธิปไตยทรงดำเนินการให้มีการปฏิรูป   '''จากเบื้องล่าง'''ด้วยพร้อมกันไปเพื่อให้สอดประสานกันในที่สุด ด้วยการให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ '''วิธีการปกครองท้องถิ่นแบบเทศบาล''' แล้วยกร่างพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนพลเมืองได้เรียนรู้วิธีการปกครองตนเองและบริหารกิจการสาธารณะในระดับท้องถิ่น   จะได้เป็นการเตรียมตัวให้พร้อมที่จะใช้สิทธิของตนในการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรที่มีความเหมาะสมเป็นประโยชน์แท้แก่ตน เข้าสู่รัฐสภาในระดับชาติต่อไป ทั้งนี้เพื่อความเป็นปึกแผ่นมั่นคงของระบอบประชาธิปไตยที่จะมีขึ้น
ควบคู่กับการปฏิรูป'''จากเบื้องบน'''สู่ระบอบประชาธิปไตยทรงดำเนินการให้มีการปฏิรูป '''จากเบื้องล่าง'''ด้วยพร้อมกันไปเพื่อให้สอดประสานกันในที่สุด ด้วยการให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ '''วิธีการปกครองท้องถิ่นแบบเทศบาล''' แล้วยกร่างพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนพลเมืองได้เรียนรู้วิธีการปกครองตนเองและบริหารกิจการสาธารณะในระดับท้องถิ่น จะได้เป็นการเตรียมตัวให้พร้อมที่จะใช้สิทธิของตนในการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรที่มีความเหมาะสมเป็นประโยชน์แท้แก่ตน เข้าสู่รัฐสภาในระดับชาติต่อไป ทั้งนี้เพื่อความเป็นปึกแผ่นมั่นคงของระบอบประชาธิปไตยที่จะมีขึ้น
 
อีกสิ่งหนึ่งที่ได้ทรงดำเนินการ แต่มักไม่ได้รับการผูกโยงเข้ากับเรื่องของการปฏิรูปการปกครองสู่ระบอบรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ก็คือ การเริ่มนำ'''ระบบคุณธรรม''' (Merit system) มาใช้ในการบริหารงานบุคคลในระบบราชการ เพื่อที่จะให้ผู้มีความรู้ความสามารถได้เข้าสู่และมีความเจริญก้าวหน้าในระบบราชการ แทนที่จะเป็นผู้ที่มีเส้นมีสายมีผู้อุปถัมภ์(patronage system) และเพื่อที่ระบบราชการจะได้เป็นองค์กรของนักวิชาชีพผู้มีเกียรติภูมิทำหน้าที่นำนโยบายไปปฏิบัติ โดยไม่ห่วงหน้าพะวงหลังว่าจะถูกใจผู้อุปถัมภ์ของตนหรือไม่ ปรากฏเป็น'''พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๔๗๑''' ทั้งนี้ ระบบราชการเช่นที่ว่านี้จะเป็นกลไกที่สำคัญไม่น้อยในระบอบรัฐธรรมนูญที่จะมีขึ้น
อีกสิ่งหนึ่งที่ได้ทรงดำเนินการ แต่มักไม่ได้รับการผูกโยงเข้ากับเรื่องของการปฏิรูปการปกครองสู่ระบอบรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ก็คือ การเริ่มนำ'''ระบบคุณธรรม''' (Merit system) มาใช้ในการบริหารงานบุคคลในระบบราชการ เพื่อที่จะให้ผู้มีความรู้ความสามารถได้เข้าสู่และมีความเจริญก้าวหน้าในระบบราชการ แทนที่จะเป็นผู้ที่มีเส้นมีสายมีผู้อุปถัมภ์(patronage system) และเพื่อที่ระบบราชการจะได้เป็นองค์กรของนักวิชาชีพผู้มีเกียรติภูมิทำหน้าที่นำนโยบายไปปฏิบัติ โดยไม่ห่วงหน้าพะวงหลังว่าจะถูกใจผู้อุปถัมภ์ของตนหรือไม่ ปรากฏเป็น'''พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๔๗๑''' ทั้งนี้ ระบบราชการเช่นที่ว่านี้จะเป็นกลไกที่สำคัญไม่น้อยในระบอบรัฐธรรมนูญที่จะมีขึ้น
 
เค้าโครงการหรือแผนการปฏิรูปการปกครองของพระองค์ยังรวมถึงการวางกรอบกติกาของการเมืองการปกครอง กล่าวคือได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้'''ร่างรัฐธรรมนูญ'''ขึ้นมาเพื่อพิจารณา ๒ ฉบับ (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ ฉบับหนึ่งและเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๔ อีกฉบับหนึ่ง) โดยฉบับหลังได้วาง'''โครงสร้างการปกครองแบบหลอมอำนาจ (Fusion of powers)''' คล้ายของอังกฤษซึ่งมีระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาไว้ เพื่อให้มีรัฐสภาจากการเลือกตั้งในอนาคต
เค้าโครงการหรือแผนการปฏิรูปการปกครองของพระองค์ยังรวมถึงการวางกรอบกติกาของการเมืองการปกครอง กล่าวคือได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้'''ร่างรัฐธรรมนูญ'''ขึ้นมาเพื่อพิจารณา ๒ ฉบับ (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ ฉบับหนึ่งและเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๔ อีกฉบับหนึ่ง) โดยฉบับหลังได้วาง'''โครงสร้างการปกครองแบบหลอมอำนาจ (Fusion of powers)''' คล้ายของอังกฤษซึ่งมีระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาไว้ เพื่อให้มีรัฐสภาจากการเลือกตั้งในอนาคต
 
ในช่วง ๗ ปี ที่ทรงดำรงพระราชสถานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ยุทธศาสตร์ของพระองค์ได้ดำเนินไปอย่างที่กล่าวได้ว่าไม่ทันพระทัยองค์ประชาธิปกราชันเอง ด้วยพระองค์ทรงมีพระราชดำริที่ทันสมัยกว่า และทรงกังวลพระราชหฤทัยเกี่ยวกับความเหมาะสมแก่กาล (timeliness) ยิ่งกว่าบรรดาที่ปรึกษาของพระองค์ผู้ทรงเป็นเจ้านายและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่รวมทั้งชาวต่างประเทศ ผู้ซึ่งมีความระมัดระวัง ละเอียดถี่ถ้วนและอนุรักษนิยม ทั้งนี้เพราะ   แม้ว่าองค์ประชาธิปกจะทรงตระหนักดีว่าพระองค์ทรงอยู่ในฐานะต้องรับผิดชอบแต่พระองค์เดียวโดยแท้ พระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยกว้างหรือ “liberal อย่างเอก” จึงทรงมีแนวโน้มที่จะทรงยอมตามความเห็นข้างมากในอภิรัฐมนตรีสภาและเสนาบดีสภาแทนที่จะทรงใช้พระราชอำนาจสิทธิขาดให้เป็นไปตามพระราชหฤทัย จึงพึงตั้งข้อสังเกตว่า ดูเหมือนว่าพระองค์มิได้ทรงพิจารณาใช้วิธีการทางเลือกของการทรงเป็น “นายกรัฐมนตรีที่แข็ง” (“Strong Prime Minister”) ดำเนินการชี้นำที่ประชุมองค์กรทั้งสอง
ในช่วง ๗ ปี ที่ทรงดำรงพระราชสถานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ยุทธศาสตร์ของพระองค์ได้ดำเนินไปอย่างที่กล่าวได้ว่าไม่ทันพระทัยองค์ประชาธิปกราชันเอง ด้วยพระองค์ทรงมีพระราชดำริที่ทันสมัยกว่า และทรงกังวลพระราชหฤทัยเกี่ยวกับความเหมาะสมแก่กาล (timeliness) ยิ่งกว่าบรรดาที่ปรึกษาของพระองค์ผู้ทรงเป็นเจ้านายและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่รวมทั้งชาวต่างประเทศ ผู้ซึ่งมีความระมัดระวัง ละเอียดถี่ถ้วนและอนุรักษนิยม ทั้งนี้เพราะ แม้ว่าองค์ประชาธิปกจะทรงตระหนักดีว่าพระองค์ทรงอยู่ในฐานะต้องรับผิดชอบแต่พระองค์เดียวโดยแท้ พระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยกว้างหรือ “liberal อย่างเอก” จึงทรงมีแนวโน้มที่จะทรงยอมตามความเห็นข้างมากในอภิรัฐมนตรีสภาและเสนาบดีสภาแทนที่จะทรงใช้พระราชอำนาจสิทธิขาดให้เป็นไปตามพระราชหฤทัย จึงพึงตั้งข้อสังเกตว่า ดูเหมือนว่าพระองค์มิได้ทรงพิจารณาใช้วิธีการทางเลือกของการทรงเป็น “นายกรัฐมนตรีที่แข็ง” (“Strong Prime Minister”) ดำเนินการชี้นำที่ประชุมองค์กรทั้งสอง
 
และแล้ว วิกฤตการณ์การคลังในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำอย่างยิ่งทั่วโลก (The Great Depression) ได้นำมาซึ่งความไม่ลงรอยกันไม่น้อยในคณะรัฐบาลของพระองค์ อันเป็นปรากฏการณ์ซึ่งเป็นที่ทราบกันแพร่หลายในหมู่สาธารณชนผู้มีการศึกษา พร้อมๆกันไปกับการที่รัฐบาลได้ออกมาตรการแก้ไขปัญหางบประมาณขาดดุลเป็นการปลดข้าราชการออก ปรับลดงบประมาณรายจ่ายอีกครั้งรวมทั้งนำภาษีประเภทใหม่ๆมาใช้ ยังความไม่พอใจแก่คนชั้นกลางซึ่งแม้จะมีจำนวนน้อยแต่ส่วนใหญ่เป็น ‘มนุษย์เงินเดือน’ กล่าวคือข้าราชการ และจึงมีบางส่วนของบรรดาคนชั้นกลางผู้เสียประโยชน์นี้สำแดงความเสื่อมศรัทธาในรัฐบาล โดยการเน้นย้ำถึงความทุกข์ยากของประชาชนพลเมืองทั่วไปเป็นเหตุผลสนับสนุนความเสื่อมศรัทธาของตน ในภาวะนั้น ร่างพระราชบัญญัติเทศบาล ซึ่งไปติดอยู่ที่กรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือคณะกรรมการกฤษฎีกา) เป็นเวลาหนึ่งปีกว่าและร่างรัฐธรรมนูญจึงไม่ได้ประกาศใช้ เป็นอันว่าทรงปฏิรูปได้ไม่ทันกาล
และแล้ว วิกฤตการณ์การคลังในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำอย่างยิ่งทั่วโลก (The Great Depression) ได้นำมาซึ่งความไม่ลงรอยกันไม่น้อยในคณะรัฐบาลของพระองค์ อันเป็นปรากฏการณ์ซึ่งเป็นที่ทราบกันแพร่หลายในหมู่สาธารณชนผู้มีการศึกษา พร้อมๆกันไปกับการที่รัฐบาลได้ออกมาตรการแก้ไขปัญหางบประมาณขาดดุลเป็นการปลดข้าราชการออก ปรับลดงบประมาณรายจ่ายอีกครั้งรวมทั้งนำภาษีประเภทใหม่ๆมาใช้ ยังความไม่พอใจแก่คนชั้นกลางซึ่งแม้จะมีจำนวนน้อยแต่ส่วนใหญ่เป็น ‘มนุษย์เงินเดือน’ กล่าวคือข้าราชการ และจึงมีบางส่วนของบรรดาคนชั้นกลางผู้เสียประโยชน์นี้สำแดงความเสื่อมศรัทธาในรัฐบาล โดยการเน้นย้ำถึงความทุกข์ยากของประชาชนพลเมืองทั่วไปเป็นเหตุผลสนับสนุนความเสื่อมศรัทธาของตน ในภาวะนั้น ร่างพระราชบัญญัติเทศบาล ซึ่งไปติดอยู่ที่กรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือคณะกรรมการกฤษฎีกา) เป็นเวลาหนึ่งปีกว่าและร่างรัฐธรรมนูญจึงไม่ได้ประกาศใช้ เป็นอันว่าทรงปฏิรูปได้ไม่ทันกาล
 
คณะราษฎรซึ่งประกอบด้วยข้าราชการทหารและพลเรือนจำนวนหนึ่ง ได้เข้ายึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิ์ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕
คณะราษฎรซึ่งประกอบด้วยข้าราชการทหารและพลเรือนจำนวนหนึ่ง ได้เข้ายึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิ์ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕
 
ดังที่ได้ทรงคาดไว้ตั้งแต่ปีแรกๆของรัชกาล ความเหมาะแก่กาลหรือจังหวะเวลา เป็นสิ่งที่ยากแก่การคาดคะเนจริงๆ แม้ว่าองค์ประชาธิปกอาจทรงเป็นบุคคลที่สามารถคาดคะเนได้ดีที่สุดในขณะนั้น
ดังที่ได้ทรงคาดไว้ตั้งแต่ปีแรกๆของรัชกาล ความเหมาะแก่กาลหรือจังหวะเวลา เป็นสิ่งที่ยากแก่การคาดคะเนจริงๆ แม้ว่าองค์ประชาธิปกอาจทรงเป็นบุคคลที่สามารถคาดคะเนได้ดีที่สุดในขณะนั้น
โดยที่เข้าพระราชหฤทัยว่าความประสงค์ของคณะราษฎรเป็นไปในทิศทางของระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) ซึ่งเป็นประชาธิปไตยประเภทหนึ่ง เช่นเดียวกับของพระองค์ และด้วยพระราชหฤทัยใฝ่ที่จะหลีกเลี่ยงความรุนแรงและการเสียเลือดเนื้อ อีกทั้ง ที่สำคัญ ที่จะรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ในการนั้น ทรงหวังว่าจะทรงมีโอกาสที่จะช่วยให้ระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยอันเป็นเป้าหมายนั้น มีเนื้อหาสาระดังที่ถูกที่ควร ทั้งนี้พึงสังเกตว่าพระองค์และคณะราษฎรเห็นต้องกันอยู่แน่ๆอย่างหนึ่ง ว่าประชาชนยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง จำเป็นต้องมีช่วงเวลาของการเรียนรู้


หากแต่ สำหรับคณะราษฎรและตามนัยของรัฐธรรมนูญฉบับ ‘ถาวร’ พ.ศ.๒๔๗๕ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรที่คณะราษฎรเป็นผู้คัดสรรได้พิจารณาผ่านออกมาบังคับใช้ กระบวนการทั้งหมดจะถูกกำกับโดยคณะราษฎรเป็นเวลา ๑๐ ปี โดยที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงมีส่วนเสียงเพียงน้อยนิด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ พระมหากษัตริย์จักทรงเป็นเพียง ‘ตัวเชิด’ (ออกโรงแทน) โดยมีคณะราษฎรเป็นผู้ที่ทำการปกครองจริงๆในนามของ’ราษฎร’หรือประชาชน  
โดยที่เข้าพระราชหฤทัยว่าความประสงค์ของคณะราษฎรเป็นไปในทิศทางของระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) ซึ่งเป็นประชาธิปไตยประเภทหนึ่ง เช่นเดียวกับของพระองค์ และด้วยพระราชหฤทัยใฝ่ที่จะหลีกเลี่ยงความรุนแรงและการเสียเลือดเนื้อ อีกทั้ง ที่สำคัญ ที่จะรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ในการนั้น ทรงหวังว่าจะทรงมีโอกาสที่จะช่วยให้ระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยอันเป็นเป้าหมายนั้น มีเนื้อหาสาระดังที่ถูกที่ควร ทั้งนี้พึงสังเกตว่าพระองค์และคณะราษฎรเห็นต้องกันอยู่แน่ๆอย่างหนึ่ง ว่าประชาชนยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง จำเป็นต้องมีช่วงเวลาของการเรียนรู้
 
หากแต่ สำหรับคณะราษฎรและตามนัยของรัฐธรรมนูญฉบับ ‘ถาวร’ พ.ศ.๒๔๗๕ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรที่คณะราษฎรเป็นผู้คัดสรรได้พิจารณาผ่านออกมาบังคับใช้ กระบวนการทั้งหมดจะถูกกำกับโดยคณะราษฎรเป็นเวลา ๑๐ ปี โดยที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงมีส่วนเสียงเพียงน้อยนิด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ พระมหากษัตริย์จักทรงเป็นเพียง ‘ตัวเชิด’ (ออกโรงแทน) โดยมีคณะราษฎรเป็นผู้ที่ทำการปกครองจริงๆในนามของ’ราษฎร’หรือประชาชน
 
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงมีแนวคิดเกี่ยวกับว่าอะไรคือระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญอยู่ในพระราชหฤทัยเป็นอีกลักษณะหนึ่ง ด้วยเหตุที่ทรงคุ้นเคยกับระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา(Parliamentary democracy) ในอังกฤษ พระองค์จึงทรงถือว่าโดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญทรงมีสิ่งที่ในอังกฤษเรียกว่า “พระราชสิทธิสามประการ” (the trinity of rights) กล่าวคือ ที่จะทรงรับปรึกษา ที่จะทรงแนะนำหรือพระราชทานกำลังใจ และที่จะทรงเตือนสติ เพื่อที่จะได้ทรงมีอิทธิพลต่อผู้ที่ทำการปกครองจริงๆ นอกจากนั้นในระบบของอังกฤษ ประมุขของรัฐผู้เป็นกษัตริย์นั้นยังทรงมีพระราชอำนาจเผื่อไว้ (reserve powers) ใช้ในฐานะคล้าย ‘กรรมการ’ ในการแข่งขันทางการเมือง ในภาวการณ์ที่ติดขัดไม่ชัดเจนว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายชนะ คือในการที่จะทรงอนุญาตให้รัฐบาลยุบสภาหรือไม่ ซึ่งหากไม่ ย่อมเป็นการบีบให้นายกรัฐมนตรีลาออกและทรงแต่งตั้งผู้อื่นที่จะสามารถตั้งรัฐบาลที่มีเสถียรภาพได้เข้ามาเป็นนายกฯแทน หรือในกรณีที่ผลการเลือกตั้งและสภาฯ ไม่ชัดเจนว่าจะให้ผู้ใดเป็นนายกฯ อีกทั้งทรงมีพระราชอำนาจที่จะทรงยับยั้งร่างกฎหมาย (legislative veto) เพื่อเป็นการเตือนสติรัฐสภาและรัฐบาลอย่างจริงจังให้ฉุกคิดพิจารณาใหม่ว่าร่างกฎหมายนั้นเหมาะสมแก่ประเทศหรือไม่ เหล่านี้นับเป็นภารกิจหน้าที่เชิงรัฐธรรมนูญขององค์พระประมุขตามธรรมเนียมปฏิบัติในระบบและระบอบนั้น แม้ว่าอาจมีความจำเป็นต้องทรงใช้ไม่บ่อยนัก
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงมีแนวคิดเกี่ยวกับว่าอะไรคือระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญอยู่ในพระราชหฤทัยเป็นอีกลักษณะหนึ่ง ด้วยเหตุที่ทรงคุ้นเคยกับระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา(Parliamentary democracy) ในอังกฤษ พระองค์จึงทรงถือว่าโดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญทรงมีสิ่งที่ในอังกฤษเรียกว่า “พระราชสิทธิสามประการ” (the trinity of rights) กล่าวคือ ที่จะทรงรับปรึกษา ที่จะทรงแนะนำหรือพระราชทานกำลังใจ และที่จะทรงเตือนสติ เพื่อที่จะได้ทรงมีอิทธิพลต่อผู้ที่ทำการปกครองจริงๆ นอกจากนั้นในระบบของอังกฤษ ประมุขของรัฐผู้เป็นกษัตริย์นั้นยังทรงมีพระราชอำนาจเผื่อไว้ (reserve powers) ใช้ในฐานะคล้าย ‘กรรมการ’ ในการแข่งขันทางการเมือง ในภาวการณ์ที่ติดขัดไม่ชัดเจนว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายชนะ คือในการที่จะทรงอนุญาตให้รัฐบาลยุบสภาหรือไม่ ซึ่งหากไม่ ย่อมเป็นการบีบให้นายกรัฐมนตรีลาออกและทรงแต่งตั้งผู้อื่นที่จะสามารถตั้งรัฐบาลที่มีเสถียรภาพได้เข้ามาเป็นนายกฯแทน หรือในกรณีที่ผลการเลือกตั้งและสภาฯ ไม่ชัดเจนว่าจะให้ผู้ใดเป็นนายกฯ อีกทั้งทรงมีพระราชอำนาจที่จะทรงยับยั้งร่างกฎหมาย (legislative veto) เพื่อเป็นการเตือนสติรัฐสภาและรัฐบาลอย่างจริงจังให้ฉุกคิดพิจารณาใหม่ว่าร่างกฎหมายนั้นเหมาะสมแก่ประเทศหรือไม่ เหล่านี้นับเป็นภารกิจหน้าที่เชิงรัฐธรรมนูญขององค์พระประมุขตามธรรมเนียมปฏิบัติในระบบและระบอบนั้น แม้ว่าอาจมีความจำเป็นต้องทรงใช้ไม่บ่อยนัก
ดังนี้เอง จุดยืนแบบปฏิบัตินิยมของคณะราษฎรกับความเข้าพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เกี่ยวกับว่าอะไรคือ ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ    จึงแตกต่างกันอย่างชัดเจน หากแต่มิได้มีการถกแถลงกันให้เห็นตรงกัน จึงได้นำไปสู่ความขัดแย้งที่หนักหน่วงในกาลต่อมาอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก
ในขณะเดียวกัน องค์ประชาธิปกทรงตระหนักดียิ่งจากการทรงศึกษาประวัติศาสตร์โลกว่า ในฐานะที่ทรงเป็นพระราชาผู้ถูกลดอำนาจลงโดยการยึดอำนาจไปจากพระองค์ พระองค์เองจะรอดพ้นไปได้ยากยิ่งจากความเคลือบแคลงสงสัยว่าต้องพระราชประสงค์จะกลับไปสู่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือว่าทรงลำเอียงทางการเมือง ด้วยเหตุนี้ จึงทรงยกประเด็นของการสละราชสมบัติขึ้นมารับสั่งภายใน ๖ วันของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโดยที่ทรงถือว่าการยอมรับในเกียรติคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการที่สถาบันนั้นจักทำหน้าที่เชิงรัฐธรรมนูญ (แบบที่กล่าวไว้ข้างต้น) ได้อย่างมีประสิทธิผล จึงรับสั่งไว้ด้วยว่า  หากปรากฏว่าคณะราษฎรยังคงนำความเสื่อมความนิยมมาสู่พระองค์แล้ว พระองค์ก็จะสละราชสมบัติ
ในการทรงมีพระราชมานะพยายามอย่างทรง “รู้หน้าที่” ต่อไป เพื่อที่จะปกปักรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ และเพื่ออำนวยให้เป็นประชาธิปไตยได้วิวัฒน์ขึ้นนั้น องค์ประชาธิปกทรงมีความระมัดระวังเป็นส่วนมากในการทรงประกอบกิจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ กล่าวคือในช่วงที่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี พระองค์ได้ทรงใช้พระราชสิทธิสามประการที่จะทรงมีอิทธิพลต่อนายกรัฐมนตรี ซึ่งรับสั่งไว้เองในภายหลังว่า ไม่ได้สำเร็จทุกครั้งไป ไม่มีแม้แต่ครั้งเดียวที่ทรงแพร่งพรายให้ทราบกันโดยทั่วไปว่า พระองค์กับพระยามโนฯมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง จนกระทั่งหลังจากที่พระยามโนฯได้ถูกรัฐประหารและพ้นจากตำแหน่งไปแล้ว


ส่วนในเรื่องของรัฐธรรมนูญฉบับ “ถาวร” แม้ว่ามีผู้เสนอว่าพระองค์เข้าพระราชหฤทัยผิดว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ดี (โดยไม่ทรงละเอียดถี่ถ้วนพอหรือเพราะไม่เข้าพระราชหฤทัย) ก็ตาม แต่ก็อาจมองอีกแบบหนึ่งได้ว่าพระองค์ทรงระมัดระวังวางพระองค์อยู่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญในภาวะที่ “เข้าด้ายเข้าเข็ม” นั้น จึงมิได้ทรงยืนยันให้มีการแก้ไขแก่นสาระของร่างรัฐธรรมนูญซึ่งกำหนดให้พระมหากษัตริย์แทบจะไม่มีพระราชอำนาจจริงใดๆ
ดังนี้เอง จุดยืนแบบปฏิบัตินิยมของคณะราษฎรกับความเข้าพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เกี่ยวกับว่าอะไรคือ ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ จึงแตกต่างกันอย่างชัดเจน หากแต่มิได้มีการถกแถลงกันให้เห็นตรงกัน จึงได้นำไปสู่ความขัดแย้งที่หนักหน่วงในกาลต่อมาอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก
 
ในขณะเดียวกัน องค์ประชาธิปกทรงตระหนักดียิ่งจากการทรงศึกษาประวัติศาสตร์โลกว่า ในฐานะที่ทรงเป็นพระราชาผู้ถูกลดอำนาจลงโดยการยึดอำนาจไปจากพระองค์ พระองค์เองจะรอดพ้นไปได้ยากยิ่งจากความเคลือบแคลงสงสัยว่าต้องพระราชประสงค์จะกลับไปสู่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือว่าทรงลำเอียงทางการเมือง ด้วยเหตุนี้ จึงทรงยกประเด็นของการสละราชสมบัติขึ้นมารับสั่งภายใน ๖ วันของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโดยที่ทรงถือว่าการยอมรับในเกียรติคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการที่สถาบันนั้นจักทำหน้าที่เชิงรัฐธรรมนูญ (แบบที่กล่าวไว้ข้างต้น) ได้อย่างมีประสิทธิผล จึงรับสั่งไว้ด้วยว่า หากปรากฏว่าคณะราษฎรยังคงนำความเสื่อมความนิยมมาสู่พระองค์แล้ว พระองค์ก็จะสละราชสมบัติ
 
ในการทรงมีพระราชมานะพยายามอย่างทรง “รู้หน้าที่” ต่อไป เพื่อที่จะปกปักรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ และเพื่ออำนวยให้เป็นประชาธิปไตยได้วิวัฒน์ขึ้นนั้น องค์ประชาธิปกทรงมีความระมัดระวังเป็นส่วนมากในการทรงประกอบกิจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ กล่าวคือในช่วงที่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี พระองค์ได้ทรงใช้พระราชสิทธิสามประการที่จะทรงมีอิทธิพลต่อนายกรัฐมนตรี ซึ่งรับสั่งไว้เองในภายหลังว่า ไม่ได้สำเร็จทุกครั้งไป ไม่มีแม้แต่ครั้งเดียวที่ทรงแพร่งพรายให้ทราบกันโดยทั่วไปว่า พระองค์กับพระยามโนฯมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง จนกระทั่งหลังจากที่พระยามโนฯได้ถูกรัฐประหารและพ้นจากตำแหน่งไปแล้ว
 
ส่วนในเรื่องของรัฐธรรมนูญฉบับ “ถาวร” แม้ว่ามีผู้เสนอว่าพระองค์เข้าพระราชหฤทัยผิดว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ดี (โดยไม่ทรงละเอียดถี่ถ้วนพอหรือเพราะไม่เข้าพระราชหฤทัย) ก็ตาม แต่ก็อาจมองอีกแบบหนึ่งได้ว่าพระองค์ทรงระมัดระวังวางพระองค์อยู่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญในภาวะที่ “เข้าด้ายเข้าเข็ม” นั้น จึงมิได้ทรงยืนยันให้มีการแก้ไขแก่นสาระของร่างรัฐธรรมนูญซึ่งกำหนดให้พระมหากษัตริย์แทบจะไม่มีพระราชอำนาจจริงใดๆ


การมองเช่นนี้สอดคล้องกับพระอรรถาธิบายของพระองค์เองดังที่ได้ทรงไว้ภายหลัง (เมื่อใกล้จะทรงสละราชสมบัติ) ว่าได้ตัดสินพระราชหฤทัยที่จะไม่ให้เกิดความขัดแย้งจนแตกหักในวาระนั้น(ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๕) ซึ่งยังเป็นช่วงแรกๆของการเปลี่ยนผ่านระบอบ นอกจากนั้นยังอาจกล่าวได้ด้วยว่า อาจทรงวางพระราชหฤทัยว่ายังทรงมีพระราชสิทธิสามประการที่จะอำนวยให้ทรงมีอิทธิพลได้บ้าง
การมองเช่นนี้สอดคล้องกับพระอรรถาธิบายของพระองค์เองดังที่ได้ทรงไว้ภายหลัง (เมื่อใกล้จะทรงสละราชสมบัติ) ว่าได้ตัดสินพระราชหฤทัยที่จะไม่ให้เกิดความขัดแย้งจนแตกหักในวาระนั้น(ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๕) ซึ่งยังเป็นช่วงแรกๆของการเปลี่ยนผ่านระบอบ นอกจากนั้นยังอาจกล่าวได้ด้วยว่า อาจทรงวางพระราชหฤทัยว่ายังทรงมีพระราชสิทธิสามประการที่จะอำนวยให้ทรงมีอิทธิพลได้บ้าง
 
ต่อมา หลังจากที่ได้ “พระราชทาน” รัฐธรรมนูญฉบับ “ถาวร” เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.. ๒๔๗๕ แล้ว พระองค์ได้ทรงใช้พระราชสิทธิสามประการในประเด็นการขอตั้งพรรคการเมืองและประเด็นเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม(ปรีดี พนมยงค์) ในเรื่องแรก ดูจะเป็นว่า พระองค์และพระยามโนฯนายกรัฐมนตรี มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ยังไม่ถึงเวลาที่จะมีการแข่งขันทางการเมืองในระบบพรรคและไม่ควรมีพรรคการเมืองที่มีข้าราชการประจำ ทหารและพลเรือน เป็นสมาชิก ดังนั้น พระองค์ในฐานะพระประมุขจึงสามารถแสดงและได้ทรงแสดงความคิดเห็นของพระองค์ได้ตามระบอบรัฐธรรมนูญ เพราะเป็นการพระราชทานกำลังใจแก่นายกรัฐมนตรีตามที่ทรง(คิดว่าทรง) มีพระราชสิทธิ แต่กระนั้นก็ยังมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าทรงลำเอียงเข้าข้างนายกรัฐมนตรี
ต่อมา หลังจากที่ได้ “พระราชทาน” รัฐธรรมนูญฉบับ “ถาวร” เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.. ๒๔๗๕ แล้ว พระองค์ได้ทรงใช้พระราชสิทธิสามประการในประเด็นการขอตั้งพรรคการเมืองและประเด็นเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม(ปรีดี พนมยงค์) ในเรื่องแรก ดูจะเป็นว่า พระองค์และพระยามโนฯนายกรัฐมนตรี มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ยังไม่ถึงเวลาที่จะมีการแข่งขันทางการเมืองในระบบพรรคและไม่ควรมีพรรคการเมืองที่มีข้าราชการประจำ ทหารและพลเรือน เป็นสมาชิก ดังนั้น พระองค์ในฐานะพระประมุขจึงสามารถแสดงและได้ทรงแสดงความคิดเห็นของพระองค์ได้ตามระบอบรัฐธรรมนูญ เพราะเป็นการพระราชทานกำลังใจแก่นายกรัฐมนตรีตามที่ทรง(คิดว่าทรง) มีพระราชสิทธิ แต่กระนั้นก็ยังมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าทรงลำเอียงเข้าข้างนายกรัฐมนตรี
 
ส่วนในประเด็นปัญหาเค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น พระองค์และพระยามโนฯก็มีความเห็นสอดคล้องกันว่าเค้าโครงการฯนั้นไม่เหมาะสมที่จะเป็นนโยบายของรัฐบาล หากแต่ว่าการที่ได้พระราชทานบทพระราชวิจารณ์เค้าโครงการฯนั้นแก่พระยามโนฯได้ทำให้ทรงตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะทรงถูกใช้ ให้เป็นประโยชน์ในการแข่งขันทางการเมือง ซึ่งก็เป็นเช่นนั้นเมื่อพระยามโนฯได้ใช้พระราชวิจารณ์ (ซึ่งทรงเน้นย้ำว่าเป็นความคิดเห็นส่วนพระองค์) ไปในทางที่ทำให้ตนได้เปรียบทางการเมือง อีกทั้ง ในพระราชบันทึกในภายหลัง ทรงอ้างว่าพระยามโนฯยังได้ดำเนินการไปไกลกว่าที่พระราชทานคำแนะนำและทรงเตือนสติแก่เขาไว้ ในกรณีของการออกพระราชกฤษฎีกา “ปิดสภา”และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราจนกว่าจะมีการเลือกตั้งทางอ้อมสู่กึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรต่อไป แต่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ ก็ต้องทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อนายกรัฐมนตรียืนยัน
ส่วนในประเด็นปัญหาเค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น พระองค์และพระยามโนฯก็มีความเห็นสอดคล้องกันว่าเค้าโครงการฯนั้นไม่เหมาะสมที่จะเป็นนโยบายของรัฐบาล หากแต่ว่าการที่ได้พระราชทานบทพระราชวิจารณ์เค้าโครงการฯนั้นแก่พระยามโนฯได้ทำให้ทรงตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะทรงถูกใช้ ให้เป็นประโยชน์ในการแข่งขันทางการเมือง ซึ่งก็เป็นเช่นนั้นเมื่อพระยามโนฯได้ใช้พระราชวิจารณ์ (ซึ่งทรงเน้นย้ำว่าเป็นความคิดเห็นส่วนพระองค์) ไปในทางที่ทำให้ตนได้เปรียบทางการเมือง อีกทั้ง ในพระราชบันทึกในภายหลัง ทรงอ้างว่าพระยามโนฯยังได้ดำเนินการไปไกลกว่าที่พระราชทานคำแนะนำและทรงเตือนสติแก่เขาไว้ ในกรณีของการออกพระราชกฤษฎีกา “ปิดสภา”และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราจนกว่าจะมีการเลือกตั้งทางอ้อมสู่กึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรต่อไป แต่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ ก็ต้องทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อนายกรัฐมนตรียืนยัน
 
กล่าวเฉพาะเรื่องของการที่ได้ทรงวิจารณ์เค้าโครงการเศรษฐกิจอย่างแข็งขันนั้น ข้อความต่อท้ายบทพระราชวิจารณ์ที่ว่า หากเค้าโครงการนี้ได้นำมาใช้ “จะนำมาซึ่งความเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า จนกลายเป็นความหายนะถึงแก่ความพินาศแห่งประเทศและชาติบ้านเมือง” พร้อมกับคำทรงแนะนำว่าหากคิดจะนำมาใช้ ให้จัดการให้ประชาชนออกความเห็นอย่างเป็นอิสระจริงๆ เสียก่อน จึงเป็นการแสดงให้เห็นว่า ทรงเห็นว่าเรื่องนี้ได้กลายเป็นเรื่องการ'''ชาติ'''ยิ่งกว่า'''การเมือง''' จึงเป็นเรื่องที่ประมุขของ'''ชาติ'''จะต้องกระทำการบางอย่าง อีกทั้งหากอนุโลมตามอังกฤษ ก็วิเคราะห์ได้ว่ากำลังทรงปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ “ผู้พิทักษ์รัฐธรรมนูญ”คือตัว'''ระบอบ'''นั้น ในสภาพการณ์ที่สยามในเวลานั้นยังไม่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้งแต่อย่างใด (เมื่อพ.ศ.๒๕๓๘ นี้เอง Vernon Bogdanor นักวิชาการชาวอังกฤษยังคงวิเคราะห์ไว้ในกรณีของอังกฤษที่มีสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งเป็นสภาหลักของรัฐสภา ว่า “กษัตริย์ทรงมีสิทธิที่จะทรงใช้พระวิจารณญาณของพระองค์เองในการทรงประกอบพระราชภารกิจของ “ผู้พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” -constitutional guardian- เพื่อที่จะทรงทำให้แน่ใจได้ว่าค่านิยมต่างๆซึ่งเป็นรากฐานแห่งระบอบรัฐธรรมนูญได้รับการอนุรักษ์ไว้”) หากแต่ว่า สำหรับภาคส่วนของคณะราษฎรที่หวงแหนความได้เปรียบทางการเมืองของเขาอยู่ ย่อมไม่สามารถที่จะเข้าใจได้ว่าพระองค์กำลังทรงใช้สิทธิเชิงรัฐธรรมนูญของพระมหากษัตริย์ แต่เชื่อว่าทรงลำเอียงทางการเมืองอย่างชัดแจ้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพระราชวิจารณ์ได้รับการเผยแพร่
กล่าวเฉพาะเรื่องของการที่ได้ทรงวิจารณ์เค้าโครงการเศรษฐกิจอย่างแข็งขันนั้น ข้อความต่อท้ายบทพระราชวิจารณ์ที่ว่า หากเค้าโครงการนี้ได้นำมาใช้ “จะนำมาซึ่งความเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า จนกลายเป็นความหายนะถึงแก่ความพินาศแห่งประเทศและชาติบ้านเมือง” พร้อมกับคำทรงแนะนำว่าหากคิดจะนำมาใช้ ให้จัดการให้ประชาชนออกความเห็นอย่างเป็นอิสระจริงๆ เสียก่อน จึงเป็นการแสดงให้เห็นว่า ทรงเห็นว่าเรื่องนี้ได้กลายเป็นเรื่องการ'''ชาติ'''ยิ่งกว่า'''การเมือง''' จึงเป็นเรื่องที่ประมุขของ'''ชาติ'''จะต้องกระทำการบางอย่าง อีกทั้งหากอนุโลมตามอังกฤษ ก็วิเคราะห์ได้ว่ากำลังทรงปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ “ผู้พิทักษ์รัฐธรรมนูญ”คือตัว'''ระบอบ'''นั้น ในสภาพการณ์ที่สยามในเวลานั้นยังไม่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้งแต่อย่างใด (เมื่อพ.ศ.๒๕๓๘ นี้เอง Vernon Bogdanor นักวิชาการชาวอังกฤษยังคงวิเคราะห์ไว้ในกรณีของอังกฤษที่มีสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งเป็นสภาหลักของรัฐสภา ว่า “กษัตริย์ทรงมีสิทธิที่จะทรงใช้พระวิจารณญาณของพระองค์เองในการทรงประกอบพระราชภารกิจของ “ผู้พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” -constitutional guardian- เพื่อที่จะทรงทำให้แน่ใจได้ว่าค่านิยมต่างๆซึ่งเป็นรากฐานแห่งระบอบรัฐธรรมนูญได้รับการอนุรักษ์ไว้”) หากแต่ว่า สำหรับภาคส่วนของคณะราษฎรที่หวงแหนความได้เปรียบทางการเมืองของเขาอยู่ ย่อมไม่สามารถที่จะเข้าใจได้ว่าพระองค์กำลังทรงใช้สิทธิเชิงรัฐธรรมนูญของพระมหากษัตริย์ แต่เชื่อว่าทรงลำเอียงทางการเมืองอย่างชัดแจ้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพระราชวิจารณ์ได้รับการเผยแพร่
 
ในกาลต่อมา ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรฝ่ายทหารได้ทำการรัฐประหารล้มรัฐบาลพระยามโนฯ ยังผลเป็นภาวการณ์ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่อาจทรงมีทางเลือก นอกจากจะทรงยอมต่อการที่ได้มีการใช้กำลังทหารเข้าเปลี่ยนแปลงรัฐบาล อีกทั้งเมื่อพระยาพหลฯวางหมากโดยขอลาออกจากการเป็นนายกฯ โดยอ้างว่าตนเป็นผู้บัญชาการทหารบกอยู่ด้วย อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมพระเกียรติยศ ก็ไม่ทรงกล่าวถึงหลักการของระบอบรัฐธรรมนูญที่ว่าทหารไม่พึงมีตำแหน่งทางการเมือง และทรงต้องยอมให้ พระยาพหลฯ ยังคงควบ ๒ ตำแหน่งต่อไป
ในกาลต่อมา ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรฝ่ายทหารได้ทำการรัฐประหารล้มรัฐบาลพระยามโนฯ ยังผลเป็นภาวการณ์ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่อาจทรงมีทางเลือก นอกจากจะทรงยอมต่อการที่ได้มีการใช้กำลังทหารเข้าเปลี่ยนแปลงรัฐบาล อีกทั้งเมื่อพระยาพหลฯวางหมากโดยขอลาออกจากการเป็นนายกฯ โดยอ้างว่าตนเป็นผู้บัญชาการทหารบกอยู่ด้วย อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมพระเกียรติยศ ก็ไม่ทรงกล่าวถึงหลักการของระบอบรัฐธรรมนูญที่ว่าทหารไม่พึงมีตำแหน่งทางการเมือง และทรงต้องยอมให้ พระยาพหลฯ ยังคงควบ ๒ ตำแหน่งต่อไป
 
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตกอยู่ในภาวะคับขันยิ่งขึ้นอีกในเดือนตุลาคมถัดมา เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชได้ทรงฝ่าฝืนคำทรงตักเตือนโดยได้ทรงนำกำลังทหารมาประชิดพระนคร เพื่อขู่ให้รัฐบาลพระยาพหลฯลาออก แต่เมื่อฝ่ายรัฐบาลได้ต่อสู้ จึงได้รบกัน   ยังความสูญเสียแก่ทั้งสองฝ่าย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเกรงและทรงตักเตือนอยู่แล้วว่า หากมีเจ้านายพระองค์ใดทำเช่นนั้นย่อมจะนำมาซึ่งความหายนะของสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้ทรงเลือกที่จะเน้นสาระของบทบาทของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ แทนที่จะทรงแสดงความสนับสนุนรัฐบาลพระยาพหลฯโดยอัตโนมัติตามนัยแห่งตัวรัฐธรรมนูญ กล่าวคือมีพระราชกระแสขอให้ทั้งสองฝ่ายไปเฝ้าฯที่วังไกลกังวล หัวหิน ที่ประทับในขณะนั้น เพื่อที่พระองค์จะได้ทรงเป็น ‘คนกลาง’ ในการที่จะได้เจรจากันเพื่อให้เกิดความสงบในแผ่นดิน หากแต่ไม่ทรงได้รับการตอบสนองแต่อย่างใด จากนั้นองค์ประชาธิปกจึงได้ตัดสินพระราชหฤทัยวางพระองค์อยู่เหนือการเมืองด้วยการเสด็จพระราชดำเนินด้วยเรือเล็กใช้เวลา ๒ วันครึ่ง จากหัวหินไปประทับที่สงขลา เพื่อให้'''องค์พระมหากษัตริย์'''ห่างไกลและเป็นต่างหากจากความขัดแย้งรุนแรงนั้น แม้กระนั้นก็มิอาจทรงหลีกเลี่ยงการถูกกล่าวหาจากทั้งสองฝ่ายว่าไม่ทรงเข้าข้างฝ่ายตนได้
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตกอยู่ในภาวะคับขันยิ่งขึ้นอีกในเดือนตุลาคมถัดมา เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชได้ทรงฝ่าฝืนคำทรงตักเตือนโดยได้ทรงนำกำลังทหารมาประชิดพระนคร เพื่อขู่ให้รัฐบาลพระยาพหลฯลาออก แต่เมื่อฝ่ายรัฐบาลได้ต่อสู้ จึงได้รบกัน ยังความสูญเสียแก่ทั้งสองฝ่าย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเกรงและทรงตักเตือนอยู่แล้วว่า หากมีเจ้านายพระองค์ใดทำเช่นนั้นย่อมจะนำมาซึ่งความหายนะของสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้ทรงเลือกที่จะเน้นสาระของบทบาทของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ แทนที่จะทรงแสดงความสนับสนุนรัฐบาลพระยาพหลฯโดยอัตโนมัติตามนัยแห่งตัวรัฐธรรมนูญ กล่าวคือมีพระราชกระแสขอให้ทั้งสองฝ่ายไปเฝ้าฯที่วังไกลกังวล หัวหิน ที่ประทับในขณะนั้น เพื่อที่พระองค์จะได้ทรงเป็น ‘คนกลาง’ ในการที่จะได้เจรจากันเพื่อให้เกิดความสงบในแผ่นดิน หากแต่ไม่ทรงได้รับการตอบสนองแต่อย่างใด จากนั้นองค์ประชาธิปกจึงได้ตัดสินพระราชหฤทัยวางพระองค์อยู่เหนือการเมืองด้วยการเสด็จพระราชดำเนินด้วยเรือเล็กใช้เวลา ๒ วันครึ่ง จากหัวหินไปประทับที่สงขลา เพื่อให้'''องค์พระมหากษัตริย์'''ห่างไกลและเป็นต่างหากจากความขัดแย้งรุนแรงนั้น แม้กระนั้นก็มิอาจทรงหลีกเลี่ยงการถูกกล่าวหาจากทั้งสองฝ่ายว่าไม่ทรงเข้าข้างฝ่ายตนได้
 
หลังจากนั้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๖ เมื่อได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยทางอ้อมสู่กึ่งหนึ่งของสภาประเภทเลือกตั้งกึ่งหนึ่งแต่งตั้งกึ่งหนึ่งแล้ว รัฐบาลได้ทูลเกล้าฯ ถวายรายนามของผู้ที่ตนเห็นควรเป็นสมาชิกประเภทแต่งตั้งจำนวนเท่ากันกับที่จะต้องแต่งตั้ง ให้ทรงลงพระปรมาภิไธย ซึ่งเป็นการปิดโอกาสมิให้พระมหากษัตริย์ทรงมีส่วนเสียงใดๆในกระบวนการนั้น เว้นแต่การทรงลงพระปรมาภิไธย แม้จะไม่พอพระราชหฤทัยมาก องค์ประชาธิปกก็ยังทรงดำรงพระองค์ต่อไปในเส้นทางแห่งพระราชปณิธานของพระองค์แม้ว่าหนทางจะตีบตันเพียงใดก็ตาม เพราะยังไม่ถึงที่สุด
หลังจากนั้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๖ เมื่อได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยทางอ้อมสู่กึ่งหนึ่งของสภาประเภทเลือกตั้งกึ่งหนึ่งแต่งตั้งกึ่งหนึ่งแล้ว รัฐบาลได้ทูลเกล้าฯ ถวายรายนามของผู้ที่ตนเห็นควรเป็นสมาชิกประเภทแต่งตั้งจำนวนเท่ากันกับที่จะต้องแต่งตั้ง ให้ทรงลงพระปรมาภิไธย ซึ่งเป็นการปิดโอกาสมิให้พระมหากษัตริย์ทรงมีส่วนเสียงใดๆในกระบวนการนั้น เว้นแต่การทรงลงพระปรมาภิไธย แม้จะไม่พอพระราชหฤทัยมาก องค์ประชาธิปกก็ยังทรงดำรงพระองค์ต่อไปในเส้นทางแห่งพระราชปณิธานของพระองค์แม้ว่าหนทางจะตีบตันเพียงใดก็ตาม เพราะยังไม่ถึงที่สุด
 
ครั้นวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือหนึ่งเดือนต่อมา(นับศักราชตามเดิม) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี คู่พระบารมี ไปประพาสประเทศต่างๆในยุโรป ๙ ประเทศซึ่งมีส่วนที่เป็นทางการ ใน ๘ ประเทศ และเพื่อที่จะทรงเข้ารับการผ่าตัดต้อกระจกในพระเนตรซ้ายอีกครั้ง หลังจากนั้นได้ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษต่อไป และทรงเปิดการเจรจากับรัฐบาลที่กรุงเทพฯเกี่ยวกับเงื่อนไขของการที่จะทรงอยู่ในราชสมบัติต่อไป
ครั้นวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือหนึ่งเดือนต่อมา(นับศักราชตามเดิม) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี คู่พระบารมี ไปประพาสประเทศต่างๆในยุโรป ๙ ประเทศซึ่งมีส่วนที่เป็นทางการ ใน ๘ ประเทศ และเพื่อที่จะทรงเข้ารับการผ่าตัดต้อกระจกในพระเนตรซ้ายอีกครั้ง หลังจากนั้นได้ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษต่อไป และทรงเปิดการเจรจากับรัฐบาลที่กรุงเทพฯเกี่ยวกับเงื่อนไขของการที่จะทรงอยู่ในราชสมบัติต่อไป
 
เมื่อประทับอยู่ห่างไกลจากความเสี่ยงที่จะทรงตกเป็น “องค์ประกัน” ของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดที่ต่อสู้แย่งชิงอำนาจกัน จึงทรงมีอิสรภาพพอที่จะทรงตัดสินพระราชหฤทัยได้ ในวาระนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงชัดเจนในพระราชหฤทัยแล้วว่ารัฐบาลไม่ได้ยอมรับว่าทรงมีพระราชสิทธิสามประการ นอกจากนั้นทรงทราบว่ารัฐบาลกำลังมีมาตรการต่างๆ เชิงอำนาจนิยมซึ่งขัดต่อวิธีการการปกครองโดยหลักนิติธรรม (The rule of law) เช่น ได้ตั้งอัยการพิเศษและศาลพิเศษพิจารณาคดี “กบฏบวรเดช” แทนศาลยุติธรรม อีกทั้งกำลังมีแนวโน้มของการเป็นคณาธิปไตย (oligarchy) หรือเผด็จการโดยคณะบุคคล ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบประชาธิปไตย พระองค์จึงทรงท้วงติงตรงๆและพร้อมกันนั้นทรงแสดงพระราชดำริอย่างแข็งขันว่าจะทรงสละราชสมบัติ เพื่อที่จะทรงทดสอบสถานการณ์เป็นขั้นสุดท้ายว่าควรหรือไม่ที่จะทรงสละราชสมบัติจริงๆ
เมื่อประทับอยู่ห่างไกลจากความเสี่ยงที่จะทรงตกเป็น “องค์ประกัน” ของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดที่ต่อสู้แย่งชิงอำนาจกัน จึงทรงมีอิสรภาพพอที่จะทรงตัดสินพระราชหฤทัยได้ ในวาระนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงชัดเจนในพระราชหฤทัยแล้วว่ารัฐบาลไม่ได้ยอมรับว่าทรงมีพระราชสิทธิสามประการ นอกจากนั้นทรงทราบว่ารัฐบาลกำลังมีมาตรการต่างๆ เชิงอำนาจนิยมซึ่งขัดต่อวิธีการการปกครองโดยหลักนิติธรรม (The rule of law) เช่น ได้ตั้งอัยการพิเศษและศาลพิเศษพิจารณาคดี “กบฏบวรเดช” แทนศาลยุติธรรม อีกทั้งกำลังมีแนวโน้มของการเป็นคณาธิปไตย (oligarchy) หรือเผด็จการโดยคณะบุคคล ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบประชาธิปไตย พระองค์จึงทรงท้วงติงตรงๆและพร้อมกันนั้นทรงแสดงพระราชดำริอย่างแข็งขันว่าจะทรงสละราชสมบัติ เพื่อที่จะทรงทดสอบสถานการณ์เป็นขั้นสุดท้ายว่าควรหรือไม่ที่จะทรงสละราชสมบัติจริงๆ
 
ในเมื่อ'''พระราชสิทธิ'''ไม่ได้รับการยอมรับและด้วยความเข้าพระราชหฤทัยเช่นที่ทรงมีเกี่ยวกับระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ องค์ประชาธิปกจึงต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงทดสอบ'''พระราชอำนาจ'''ที่พระมหากษัตริย์'''ต้องทรงมีเผื่อไว้'''นั้น คณะราษฎรและรัฐบาลจะให้ทรงมีหรือไม่ ดังนี้เอง พระองค์จึงได้ทรงตั้งข้อเรียกร้องที่จะให้พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายมีความเป็นจริงเป็นจังขึ้นกว่าที่ได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และในเมื่อ'''ปวงชนยังไม่มีอำนาจอธิปไตยเต็มที่''' พระมหากษัตริย์จึงควรที่จะได้มีอำนาจ ‘รักษาการ’ แทนปวงชนในการมีส่วนเสียงในการเลือกสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทแต่งตั้ง อีกทั้งหากจะทรงเป็นพระมหากษัตริย์'''ในระบอบรัฐธรรมนูญ'''จริงๆแล้ว ก็ชอบที่จะมีการปกครองโดยหลักนิติธรรมสถิตอยู่เป็นมั่นเหมาะ พร้อมกันไป เพราะหลักนิติธรรมคือรากฐานของระบอบรัฐธรรมนูญ และประชาราษฎรก็ควรที่จะยังคงมีสิทธิของเขาตามจารีตประเพณีในอันที่จะถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษได้โดยตรง อันอาจนำมาซึ่งความเป็นธรรมเหนือความยุติธรรมตามกฎหมาย(ที่อาจมิได้เป็นไปโดยหลักนิติธรรม)ด้วย นอกจากนั้นได้พระราชทานคำแนะนำเป็นมั่นเหมาะให้ดำเนินการลดโทษ “นักโทษการเมือง” และ (ในเมื่อชัดเจนแล้วว่าคณะราษฎรเป็นพรรคการเมืองโดยพฤตินัย) ให้เปิดโอกาสให้มีพรรคการเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย '''เพื่อที่จะได้กลับเข้าสู่บรรยากาศของการแข่งขันทางการเมืองโดยสันติ''' ประชาธิปไตยจะได้มีโอกาสวิวัฒน์ขึ้นต่อไป
ในเมื่อ'''พระราชสิทธิ'''ไม่ได้รับการยอมรับและด้วยความเข้าพระราชหฤทัยเช่นที่ทรงมีเกี่ยวกับระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ องค์ประชาธิปกจึงต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงทดสอบ'''พระราชอำนาจ'''ที่พระมหากษัตริย์'''ต้องทรงมีเผื่อไว้'''นั้น คณะราษฎรและรัฐบาลจะให้ทรงมีหรือไม่ ดังนี้เอง พระองค์จึงได้ทรงตั้งข้อเรียกร้องที่จะให้พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายมีความเป็นจริงเป็นจังขึ้นกว่าที่ได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และในเมื่อ'''ปวงชนยังไม่มีอำนาจอธิปไตยเต็มที่''' พระมหากษัตริย์จึงควรที่จะได้มีอำนาจ ‘รักษาการ’ แทนปวงชนในการมีส่วนเสียงในการเลือกสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทแต่งตั้ง อีกทั้งหากจะทรงเป็นพระมหากษัตริย์'''ในระบอบรัฐธรรมนูญ'''จริงๆแล้ว ก็ชอบที่จะมีการปกครองโดยหลักนิติธรรมสถิตอยู่เป็นมั่นเหมาะ พร้อมกันไป เพราะหลักนิติธรรมคือรากฐานของระบอบรัฐธรรมนูญ และประชาราษฎรก็ควรที่จะยังคงมีสิทธิของเขาตามจารีตประเพณีในอันที่จะถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษได้โดยตรง อันอาจนำมาซึ่งความเป็นธรรมเหนือความยุติธรรมตามกฎหมาย(ที่อาจมิได้เป็นไปโดยหลักนิติธรรม)ด้วย นอกจากนั้นได้พระราชทานคำแนะนำเป็นมั่นเหมาะให้ดำเนินการลดโทษ “นักโทษการเมือง” และ (ในเมื่อชัดเจนแล้วว่าคณะราษฎรเป็นพรรคการเมืองโดยพฤตินัย) ให้เปิดโอกาสให้มีพรรคการเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย '''เพื่อที่จะได้กลับเข้าสู่บรรยากาศของการแข่งขันทางการเมืองโดยสันติ''' ประชาธิปไตยจะได้มีโอกาสวิวัฒน์ขึ้นต่อไป
 
เมื่อ “คำขอร้อง” แทบทุกข้อของพระองค์ได้รับการปฏิเสธ องค์ประชาธิปกจึงตัดสินพระราชหฤทัย'''สละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ (พ.ศ.๒๔๗๘ ตามปฏิทินปัจจุบัน)''' โดยมีพระราชหัตถเลขามาจากประเทศอังกฤษ ทรงทำเช่นนี้หลังจากที่ได้ทรงพยายามอย่างสุดพละกำลังความสามารถแล้วในอันที่จะอำนวยให้ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญในกระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยได้วิวัฒน์ขึ้น หากแต่ทรงพิสูจน์ได้แล้วว่าทรงกระทำการไม่สำเร็จ  
เมื่อ “คำขอร้อง” แทบทุกข้อของพระองค์ได้รับการปฏิเสธ องค์ประชาธิปกจึงตัดสินพระราชหฤทัย'''สละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ (พ.ศ.๒๔๗๘ ตามปฏิทินปัจจุบัน)''' โดยมีพระราชหัตถเลขามาจากประเทศอังกฤษ ทรงทำเช่นนี้หลังจากที่ได้ทรงพยายามอย่างสุดพละกำลังความสามารถแล้วในอันที่จะอำนวยให้ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญในกระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยได้วิวัฒน์ขึ้น หากแต่ทรงพิสูจน์ได้แล้วว่าทรงกระทำการไม่สำเร็จ


อีกทั้งโดยที่พระองค์เองยังเป็นที่ระแวงสงสัยอยู่ร่ำไป จึงจะเป็นการดีกว่าหากจะทรง'''ปลีกพระองค์เองออกจากราชบัลลังก์''' เพื่อที่'''สถาบันพระมหากษัตริย์'''จักได้คงอยู่และในภายหน้ามีโอกาสหล่อหลอมระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญให้เป็นหนทางแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างแนวคิดสถาบันพระมหากษัตริย์กับแนวคิดระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็นที่พิสูจน์แล้วในหลายประเทศว่าสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งกับระบอบประชาธิปไตย แต่สามารถที่จะมีคุณูปการต่อระบอบนั้นได้หลายประการ
อีกทั้งโดยที่พระองค์เองยังเป็นที่ระแวงสงสัยอยู่ร่ำไป จึงจะเป็นการดีกว่าหากจะทรง'''ปลีกพระองค์เองออกจากราชบัลลังก์''' เพื่อที่'''สถาบันพระมหากษัตริย์'''จักได้คงอยู่และในภายหน้ามีโอกาสหล่อหลอมระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญให้เป็นหนทางแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างแนวคิดสถาบันพระมหากษัตริย์กับแนวคิดระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็นที่พิสูจน์แล้วในหลายประเทศว่าสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งกับระบอบประชาธิปไตย แต่สามารถที่จะมีคุณูปการต่อระบอบนั้นได้หลายประการ
[[Category:พระปกเกล้าศึกษา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:44, 19 พฤษภาคม 2560

ผู้เรียบเรียง : รองศาสตราจารย์ ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุมพล

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิ เตชานันท์


 

พระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติ: บทวิเคราะห์

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ (ซึ่งตามปฏิทินปัจจุบันเป็น พ.ศ. ๒๔๗๘) ด้วยเหตุต่างๆ ในที่นี้ขอเสนอบทวิเคราะห์องค์พระราชหัตถเลขาแต่เพียงโดยสังเขป

เริ่มที่ข้อความย่อหน้าที่ ๒ หน้า ๕ ที่ว่า “ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใดคณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาราษฎร”

หลายคนอ่านแค่นี้แล้วเข้าใจไปว่า ทรงสละพระราชอำนาจในวาระที่ทรงสละราชสมบัติ ซึ่งจริงๆ แล้ว ทรงสละพระราชอำนาจสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเกือบ ๓ ปีก่อนหน้านั้นแล้ว คือเมื่อมีการ “ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง” เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ และทรงรับเป็น “พระเจ้าแผ่นดินปกครองตามพระธรรมนูญ” ซึ่งหมายความว่าไม่ทรงมีอำนาจการบริหารราชการแผ่นดินอยู่ในพระหัตถ์อีกต่อไปแล้ว

ดังนั้น ข้อความที่คัดมาข้างต้นจึงเป็นการทรงย้อนไปกล่าวถึงเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ว่าได้ทรงสละพระราชอำนาจให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป เพื่อประกอบการทรงอธิบายเหตุผลว่า เหตุใดจึงต้องสละราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๔๗๗

คำอธิบายของพระองค์โดยสรุปอยู่ที่ย่อหน้าที่ ๑ ของหน้าเดียวกัน ใจความดังต่อไปนี้

“ข้าพเจ้าเห็นว่าคณะรัฐบาลและพวกพ้อง ใช้วิธีการปกครองซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักการของเสรีภาพในตัวบุคคลและหลักความยุตติธรรมตามความเข้าใจและยึดถือของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่สามารถที่จะยินยอมให้ผู้ใดคณะใดใช้วิธีการปกครองอย่างนั้น ในนามของข้าพเจ้าต่อไปได้”

กล่าวคือเมื่อทรงสละพระราชอำนาจ (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕) แล้วทรงพบว่า “รัฐบาลและพวกพ้อง” ทำการปกครองในพระปรมาภิไธย (ในนาม) ของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ (องค์พระประมุข) ในรูปแบบที่ผิด “หลักการของเสรีภาพในตัวบุคคล” และ “หลักความยุติธรรม” (ตามที่ทรงเข้าพระราชหฤทัย)

ตรงนี้อธิบายขยายความได้ว่า สองหลักนี้มีความเชื่อมโยงกันเป็นหลักของระบอบรัฐธรรมนูญแบบเสรีนิยม กล่าวคือ ถือว่ามนุษย์แต่ละคนมีเสรีภาพ (freedom) มาแต่กำเนิด ด้วยเหตุผลที่ว่ามนุษย์แตกต่างจากสัตว์เดียรัจฉาน ตรงที่ คิดเป็น ใช้เหตุผลเป็น และจึงสร้างสรรค์เป็น (ส่วนจะคิดหรือใช้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง)

เสรีภาพนี้จึงต้องได้รับความคุ้มครองจากการถูกริดรอนโดยการใช้อำนาจจากมนุษย์คนอื่นโดยเฉพาะยิ่งจากผู้ปกครอง จึงเป็นที่มาของแนวคิด การปกครองโดยหลักนิติธรรม (the rule of law) การปกครองโดยหลักนิติธรรมนี้พูดง่ายๆ ก็คือสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการปกครอง (การใช้อำนาจ) ตามอำเภอใจของผู้ปกครอง (arbitrary rule) เท่ากับว่าผู้ปกครองจะต้องทำการตัดสินใจตามกฎเกณฑ์หรือหลักการที่ใช้บังคับทั่วไปกับบุคคลทุกผู้ทุกนามอย่างไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ไม่เลือกปฏิบัติ กล่าวคือการตัดสินใจต้องเป็นกลางไม่โอนเอียงเข้ากับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และใช้กับทุกกรณี

หากการปกครองเป็นเช่นนี้ได้แล้ว ทุกคนก็จะมี “ความเสมอภาคกันในสายตาของกฎหมาย (equality before the law)” และมีเสรีภาพ คือปราศจากความหวาดกลัวว่าจะมีการใช้อำนาจตามอำเภอใจของผู้ปกครอง (freedom from fear) กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการปกครองที่ปวงประชาได้รับการปกป้อง (demo-protection) แนวคิด “การปกครองโดยหลักนิติธรรม” นี้เองเป็นที่มาของแนวคิด ระบอบรัฐธรรมนูญ (constitutionalism) ซึ่งต้องบอกว่ายังไม่ถึงกับเป็นประชาธิปไตย

คราวนี้มาดูย่อหน้าที่ ๓ หน้า ๔ ซึ่งแยกแยะได้เป็นสองตอน

ตอนแรกมีว่า “บัดนี้ข้าพเจ้าเห็นว่าความประสงค์ของข้าพเจ้าที่จะให้ราษฎรมีสิทธิออกเสียงในนโยบายของประเทศโดยแท้จริงไม่เป็นผลสำเร็จ”

เท่ากับว่าทรงนำเรื่องประชาธิปไตยหรืออำนาจอธิปไตยของปวงประชาเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรง หมายความว่า นอกจากประชาชนจะต้องมีเสรีภาพที่มีการปกครองในหลักนิติธรรม (ในระบอบรัฐธรรมนูญ) เป็นประกันแล้ว ยังต้องมีสิทธิทางการเมือง คือที่จะมีส่วนร่วมในการชี้ว่านโยบายของประเทศจะเป็นเช่นใดด้วย

อธิบายเพิ่มเติมตามศาสตราจารย์จีโอวานี ซาตอรี่ (Giovanni Sartori) นักรัฐศาสตร์ชั้นนำชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลีได้ว่า สองเสาหลัก (เสาเข็ม) ของประชาธิปไตยนั้น คือการปกครองโดยหลักนิติธรรม (the rule of law หรือ demo-protection) ประการหนึ่งและอำนาจอธิปไตยของปวงชนหรือ อำนาจของปวงชน (demo-power) อีกประการหนึ่ง (Sartori 2001)

ซาตอรีตั้งปุจฉาชวนคิดไว้ต่อไปว่า “หากคุณต้องเลือกระหว่างการอยู่ในประเทศที่ demoprotection อย่างเดียวกับประเทศที่มี demo-power อย่างเดียว คุณจะเลือกอยู่ที่ไหน?” เขาวิสัชนาว่าเขาจะเลือกอย่างแรก และไขปริศนาไว้ด้วยว่า เพราะหากปวงประชาไม่ได้รับการปกป้องจากการใช้อำนาจตามอำเภอใจเสียแล้วไซร้ ปวงประชานั้นจะมีหนทางใดเล่าที่จะ (ใช้ความคิดปรึกษากัน รวมตัวกัน) สร้างอำนาจปวงประชาขึ้นมาได้ ดังนั้น การปกป้องปวงประชา หรือการปกครองโดยหลักนิติธรรม (หรือระบอบรัฐธรรมนูญ) จึงเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นของการที่จะมีประชาธิปไตย และจึงเป็นเสาหลักหนึ่งขาดไม่ได้ของระบอบประชาธิปไตย แต่มีเสานี้เสาเดียวก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นระบอบประชาธิปไตย ต้องมีอีกเสาหนึ่งคือ อำนาจของปวงประชา

ส่วนที่ว่าแต่ละประเทศจะจัดการให้มีทั้ง ๒ เสาบนสภาพจริงตลอดจนชีวิตวัฒนธรรมของแต่ละประเทศนั้น คนในประเทศนั้นๆ ต้องคิดอ่านกันให้ดี สำหรับองค์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นได้ทรงเอาพระราชหฤทัยใส่ในเรื่องปัญหาการปรับใช้อยู่ไม่น้อย เห็นได้จากพระราชบันทึก Problems of Siam (พ.ศ. ๒๔๖๙) และ Democracy in Siam (พ.ศ. ๒๔๗๐) หรือแม้แต่ในพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตินี้เอง ดังความในย่อหน้าที่ ๓ ตอนหลังที่ว่า

“และเมื่อข้าพเจ้ารู้สึกว่าบัดนี้เปนอันหมดหนทางที่ข้าพเจ้าจะช่วยเหลือหรือให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนได้ต่อไปแล้ว ข้าพเจ้าจึงของสละราชสมบัติและออกจากตำแหน่งพระมหากษัตริย์แต่บัดนี้เปนต้นไป”

ข้อความนี้ไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจ แต่ว่าน่าสนใจเพราะว่าทรงย้อนไปอ้างถึงพระราชภาระของพระมหากษัตริย์สยามตามคติธรรมราชาที่จะต้องทรง “ปกป้องปวงประชา” ดังความในพระปฐมบรมราชโองการของพระองค์ เมื่อทรงบรมราชาภิเษก ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘ ที่ว่า

“บัดนี้เราทรงราชภาระ ครองแผ่นดินโดยธรรมสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์สุขเกื้อกูลและสุขแห่งมหาชน เราแผ่ราชอาณาเหนื่อท่านทั้งหลายกับโภคสมบัติ เป็นที่พึ่งจัดการปกครองกันอันเป็นธรรมสืบไป ท่านทั้งหลายจงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญฯ”

พึงสังเกตว่าได้ทรงสัญญาไว้ว่าจะทรง “จัดการปกครองป้องกันอันเป็นธรรม” แต่เมื่อได้ทรง “เต็มใจ” สละพระราชอำนาจแล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ดังนั้นใน พ.ศ. ๒๔๗๗ ขณะที่จะทรงสละพระราชสมบัติจึงไม่ทรงมีพระราชอำนาจในการจัดการปกครองแล้ว เพราะได้ทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ ทรงมีแต่สิ่งที่เรียกว่า “พระราชสิทธิ” ของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญตามธรรมเนียมของระบอบนั้นในตะวันตก เช่นอังกฤษ ที่จะทรงรับปรึกษาหารือที่จะพระราชทานกำลังใจและที่จะทรงร้องขอตักเตือนผู้ที่กระทำการปกครองจริงๆ ซึ่งพระองค์ก็ได้ทรงใช้พระราชสิทธิ “ร้องขอ” ระหว่างพระองค์กับคณะผู้แทนรัฐบาลจากกรุงเทพฯ

เท่ากับว่าทรงรู้สึกว่าทรงล้มเหลวในอันที่จะทรงช่วยประคับประคองการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบอบรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย และที่สำคัญไม่อาจที่จะทรงทำหน้าที่ของธรรมราชาในการปกป้องปวงประชาดังที่ทรงสัญญาไว้แต่ครั้งที่ทรงขึ้นสู่ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ จึงทรงสำนึกว่าต้องทรงรับผิดชอบ ด้วยการทรงลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งก็คือสละราชสมบัติ

พึงสังวรว่าทรงสละราชสมบัติที่ทรงเข้าสู่ในฐานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิ ไม่ใช่ตามรัฐธรรมนูญ จึงทรงสำนึกว่าต้องทรงรับผิดชอบกับการที่ทรงยินยอมเปลี่ยนพระราชสถานะแล้ว การณ์ปรากฏภายหลังว่าไม่อาจทรงรักษาสัญญาไว้ได้ จะใช้ตามภาษาปัจจุบันว่าทรง “ตรวจสอบ” พระองค์เองก็ได้ แต่ในการนั้นได้ทรงเน้นย้ำถึงหลักการของระบอบประชาธิปไตย ๒ หลักไว้ให้เราคนรุ่นหลังได้เรียนรู้ทำความเข้าใจ

เอกสารอีกชิ้นหนึ่งที่สนับสนุนการตีความเช่นนี้ก็คือ สำเนาแปลโทรเลขซึ่งส่งมาจากอังกฤษหลังจากที่ทรงสละราชสมบัติแล้วไม่กี่วัน อัญเชิญพระราชกระแสมายัง “บรรดาข้าราชการในพระราชสำนัก” ความตอนหนึ่งว่า

“ข้าพเจ้าขอให้ทุกคนจงให้อภัยแก่ข้าพเจ้า ถ้าอภัยให้ได้ ในการที่ได้ละทิ้งไปเสียในเวลานี้แต่ข้าพเจ้ารู้สึกว่า จำเป็นต้องต่อสู้เพื่อสิ่งที่ข้าพเจ้าคิดเห็นว่า ถูกและเป็นความยุตติธรรม ข้าพเจ้าไม่สามารถจะทำตนให้ต่ำลง และครองชีวิตอยู่ได้ตลอดไปด้วยความอัปประยศเพื่อว่าจะได้ครอบครองราชย์สมบัติสืบไป...”

 

บรรณานุกรม

Sartori, Giovanni. 2001. How far can free government travel? in Larry Diamond and Marc G. Plattner (eds.). The Global Divergence of Democracy. Baltimore and London: Johns Hopkins University Press. Pages 52-62.

เพื่อเป็นการสรุปบทวิเคราะห์ของผู้เขียนซึ่งได้นำเสนอไว้ในเนื้อหา เรื่อง พระราชปณิธาน , อภิรัฐมนตรีสภา , แนวทางการปรับเปลี่ยนระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ , สู่การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น , สู่การปกครองในระบบรัฐสภา : สภากรรมการองคมนตรี อันเป็นบทวิเคราะห์ที่พยายาม “อ่าน” ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงคิดอะไร ทำอะไร ไม่ทำอะไร เพราะเหตุใด เป็นหลัก หรือที่เรียกว่า แบบ empathetic หรือแบบ “จากข้างใน” (inside out) บุคคลที่เรากำลังศึกษา ขอนำเสนอ ดังนี้:

องค์ประชาธิปกราชันกับการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ Absolute monarchy, like democracy, may become harmful at any time, because both principles rely on the perfection of human nature, a very frail thing to depend on. A sound democracy depends on the soundness of the people, and a benevolent absolute monarchy depends on the qualities of the King.

King Prajadhipok (then ‘absolute’), ‘Democracy in Siam’, 1927

'ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นก็เหมือนกับระบอบประชาธิปไตยในข้อที่ว่า อาจเป็นภัยอันตรายขึ้นเมื่อใดก็ได้ เพราะหลักการของทั้งสองระบอบนี้ขึ้นอยู่กับความประเสริฐสุดของธรรมชาติของมนุษย์ อันเป็นสิ่งที่อ่อนแอเหลือเกินที่จะพึ่งพาอาศัยได้ ระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงนั้นก็ขึ้นอยู่กับจิตใจอันมั่นคงของประชาชน และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีแต่ความกรุณานั้นก็ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติเฉพาะพระองค์ของพระเจ้าแผ่นดิน'

คำแปล โดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช “ข้าวไกลนา” สยามรัฐรายวัน ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๙๑๔๖ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๑๙.

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(ทรงครองราชย์ฯ พ.ศ.๒๔๖๘-พ.ศ.๒๔๗๗) ทรงมีพระราชปณิธานมาตั้งแต่ทรงรับราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์แล้วว่า จะทรงสถาปนาระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ(Constitutional Monarchy) ขึ้นในสยาม และได้ทรงวางพระองค์มั่นในพระราชปณิธานนี้ตลอดรัชกาลของพระองค์ ด้วยพระราชมานะอดทนท่ามกลางอุปสรรคและสภาพการณ์ที่ไม่เอื้ออำนวยต่างๆ

แม้ว่าในฐานะปัญญาชน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงมีความสงสัยตามแบบฉบับที่ดีของปัญญาชนว่าประชาธิปไตยนั้นเป็นของดีจริงหรือไม่และเหมาะสมสำหรับที่จะใช้ในสยามหรือไม่ก็ตาม แต่พระองค์ได้สรุปว่าสัญญาณแห่งกาลเวลามีให้เห็นเด่นชัดว่าสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ อัตตาธิปไตย (autocracy) นับวันจะล้าสมัย และประชาธิปไตยกำลังเป็นที่ใฝ่หาของผู้คน ดังนั้นในฐานะที่ต้องทรงเป็นผู้ปฏิบัติ จึงทรงกำหนดเป็นพระราชพันธกิจ(รับสั่งว่า “เหมือนสวรรค์สั่ง”) ที่จะต้องทรงอำนวยให้ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญได้วิวัฒน์ขึ้นในสยาม เพื่อที่จะได้เป็นหนทางหลีกเลี่ยงความขัดแย้งระหว่างการมีสถาบันพระมหากษัตริย์กับการมีระบอบประชาธิปไตย และในการนั้นรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ซึ่งอยู่คู่มากับสยามแต่โบราณกาล(ซึ่งก็ไม่แปลกในเมื่อทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้สืบราชสันตติวงศ์)

ในพระราชสถานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระองค์ได้ทรงจัดวางยุทธศาสตร์การปฏิรูปการปกครอง ซึ่งมีลักษณะของการผสมผสานสิ่งที่มีมาแต่ก่อนกับสิ่งใหม่ ด้วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เพื่อที่จะได้หลีกเลี่ยงความระส่ำระสายจนเกินจำเป็น และการเสียเลือดเนื้อ

ยุทธศาสตร์ของพระองค์ค่อยๆปรากฏขึ้นเป็นระบบ ซึ่งพอจะประมวลได้ดังต่อไปนี้

ในอันที่จะจำกัดการที่พระมหากษัตริย์จะทรงใช้อำนาจกระทำการตามอำเภอพระราชหฤทัยหรือที่ไม่ฉลาดสุขุมรอบคอบ องค์ประชาธิปก ผู้ทรงยอมรับว่าพระองค์เองทรงขาดประสบการณ์ ได้ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภาขึ้นประกอบด้วยเจ้านายชั้นบรมวงศ์ผู้ทรงประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินส่วนต่างๆ เป็นที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์

ในอันที่จะให้สภานิติบัญญัติได้วิวัฒน์ขึ้นต่อไป พระองค์ได้ทรงปรับองค์กรที่มีมาแต่ในอดีตแต่บัดนั้นมีบทบาทน้อย เป็นสภากรรมการองคมนตรี มีสมาชิกจำนวน 40 คนที่คัดสรรจากบรรดาองคมนตรีที่มีอยู่เดิม เพื่อให้บรรดาชนชั้นนำได้ฝึกหัดวิธีการของการปรึกษาหารือในประเด็นนโยบายและกฎหมายในแบบของรัฐสภา(Parliament)และเป็นองค์กรทัดทานการใช้ พระราชอำนาจในทางที่ผิดอีกโสตหนึ่งด้วย

ควบคู่กับการปฏิรูปจากเบื้องบนสู่ระบอบประชาธิปไตยทรงดำเนินการให้มีการปฏิรูป จากเบื้องล่างด้วยพร้อมกันไปเพื่อให้สอดประสานกันในที่สุด ด้วยการให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ วิธีการปกครองท้องถิ่นแบบเทศบาล แล้วยกร่างพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนพลเมืองได้เรียนรู้วิธีการปกครองตนเองและบริหารกิจการสาธารณะในระดับท้องถิ่น จะได้เป็นการเตรียมตัวให้พร้อมที่จะใช้สิทธิของตนในการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรที่มีความเหมาะสมเป็นประโยชน์แท้แก่ตน เข้าสู่รัฐสภาในระดับชาติต่อไป ทั้งนี้เพื่อความเป็นปึกแผ่นมั่นคงของระบอบประชาธิปไตยที่จะมีขึ้น

อีกสิ่งหนึ่งที่ได้ทรงดำเนินการ แต่มักไม่ได้รับการผูกโยงเข้ากับเรื่องของการปฏิรูปการปกครองสู่ระบอบรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ก็คือ การเริ่มนำระบบคุณธรรม (Merit system) มาใช้ในการบริหารงานบุคคลในระบบราชการ เพื่อที่จะให้ผู้มีความรู้ความสามารถได้เข้าสู่และมีความเจริญก้าวหน้าในระบบราชการ แทนที่จะเป็นผู้ที่มีเส้นมีสายมีผู้อุปถัมภ์(patronage system) และเพื่อที่ระบบราชการจะได้เป็นองค์กรของนักวิชาชีพผู้มีเกียรติภูมิทำหน้าที่นำนโยบายไปปฏิบัติ โดยไม่ห่วงหน้าพะวงหลังว่าจะถูกใจผู้อุปถัมภ์ของตนหรือไม่ ปรากฏเป็นพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๔๗๑ ทั้งนี้ ระบบราชการเช่นที่ว่านี้จะเป็นกลไกที่สำคัญไม่น้อยในระบอบรัฐธรรมนูญที่จะมีขึ้น

เค้าโครงการหรือแผนการปฏิรูปการปกครองของพระองค์ยังรวมถึงการวางกรอบกติกาของการเมืองการปกครอง กล่าวคือได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาเพื่อพิจารณา ๒ ฉบับ (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ ฉบับหนึ่งและเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๔ อีกฉบับหนึ่ง) โดยฉบับหลังได้วางโครงสร้างการปกครองแบบหลอมอำนาจ (Fusion of powers) คล้ายของอังกฤษซึ่งมีระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาไว้ เพื่อให้มีรัฐสภาจากการเลือกตั้งในอนาคต

ในช่วง ๗ ปี ที่ทรงดำรงพระราชสถานะพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ยุทธศาสตร์ของพระองค์ได้ดำเนินไปอย่างที่กล่าวได้ว่าไม่ทันพระทัยองค์ประชาธิปกราชันเอง ด้วยพระองค์ทรงมีพระราชดำริที่ทันสมัยกว่า และทรงกังวลพระราชหฤทัยเกี่ยวกับความเหมาะสมแก่กาล (timeliness) ยิ่งกว่าบรรดาที่ปรึกษาของพระองค์ผู้ทรงเป็นเจ้านายและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่รวมทั้งชาวต่างประเทศ ผู้ซึ่งมีความระมัดระวัง ละเอียดถี่ถ้วนและอนุรักษนิยม ทั้งนี้เพราะ แม้ว่าองค์ประชาธิปกจะทรงตระหนักดีว่าพระองค์ทรงอยู่ในฐานะต้องรับผิดชอบแต่พระองค์เดียวโดยแท้ พระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยกว้างหรือ “liberal อย่างเอก” จึงทรงมีแนวโน้มที่จะทรงยอมตามความเห็นข้างมากในอภิรัฐมนตรีสภาและเสนาบดีสภาแทนที่จะทรงใช้พระราชอำนาจสิทธิขาดให้เป็นไปตามพระราชหฤทัย จึงพึงตั้งข้อสังเกตว่า ดูเหมือนว่าพระองค์มิได้ทรงพิจารณาใช้วิธีการทางเลือกของการทรงเป็น “นายกรัฐมนตรีที่แข็ง” (“Strong Prime Minister”) ดำเนินการชี้นำที่ประชุมองค์กรทั้งสอง

และแล้ว วิกฤตการณ์การคลังในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำอย่างยิ่งทั่วโลก (The Great Depression) ได้นำมาซึ่งความไม่ลงรอยกันไม่น้อยในคณะรัฐบาลของพระองค์ อันเป็นปรากฏการณ์ซึ่งเป็นที่ทราบกันแพร่หลายในหมู่สาธารณชนผู้มีการศึกษา พร้อมๆกันไปกับการที่รัฐบาลได้ออกมาตรการแก้ไขปัญหางบประมาณขาดดุลเป็นการปลดข้าราชการออก ปรับลดงบประมาณรายจ่ายอีกครั้งรวมทั้งนำภาษีประเภทใหม่ๆมาใช้ ยังความไม่พอใจแก่คนชั้นกลางซึ่งแม้จะมีจำนวนน้อยแต่ส่วนใหญ่เป็น ‘มนุษย์เงินเดือน’ กล่าวคือข้าราชการ และจึงมีบางส่วนของบรรดาคนชั้นกลางผู้เสียประโยชน์นี้สำแดงความเสื่อมศรัทธาในรัฐบาล โดยการเน้นย้ำถึงความทุกข์ยากของประชาชนพลเมืองทั่วไปเป็นเหตุผลสนับสนุนความเสื่อมศรัทธาของตน ในภาวะนั้น ร่างพระราชบัญญัติเทศบาล ซึ่งไปติดอยู่ที่กรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือคณะกรรมการกฤษฎีกา) เป็นเวลาหนึ่งปีกว่าและร่างรัฐธรรมนูญจึงไม่ได้ประกาศใช้ เป็นอันว่าทรงปฏิรูปได้ไม่ทันกาล

คณะราษฎรซึ่งประกอบด้วยข้าราชการทหารและพลเรือนจำนวนหนึ่ง ได้เข้ายึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิ์ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕

ดังที่ได้ทรงคาดไว้ตั้งแต่ปีแรกๆของรัชกาล ความเหมาะแก่กาลหรือจังหวะเวลา เป็นสิ่งที่ยากแก่การคาดคะเนจริงๆ แม้ว่าองค์ประชาธิปกอาจทรงเป็นบุคคลที่สามารถคาดคะเนได้ดีที่สุดในขณะนั้น

โดยที่เข้าพระราชหฤทัยว่าความประสงค์ของคณะราษฎรเป็นไปในทิศทางของระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) ซึ่งเป็นประชาธิปไตยประเภทหนึ่ง เช่นเดียวกับของพระองค์ และด้วยพระราชหฤทัยใฝ่ที่จะหลีกเลี่ยงความรุนแรงและการเสียเลือดเนื้อ อีกทั้ง ที่สำคัญ ที่จะรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ในการนั้น ทรงหวังว่าจะทรงมีโอกาสที่จะช่วยให้ระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยอันเป็นเป้าหมายนั้น มีเนื้อหาสาระดังที่ถูกที่ควร ทั้งนี้พึงสังเกตว่าพระองค์และคณะราษฎรเห็นต้องกันอยู่แน่ๆอย่างหนึ่ง ว่าประชาชนยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง จำเป็นต้องมีช่วงเวลาของการเรียนรู้

หากแต่ สำหรับคณะราษฎรและตามนัยของรัฐธรรมนูญฉบับ ‘ถาวร’ พ.ศ.๒๔๗๕ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรที่คณะราษฎรเป็นผู้คัดสรรได้พิจารณาผ่านออกมาบังคับใช้ กระบวนการทั้งหมดจะถูกกำกับโดยคณะราษฎรเป็นเวลา ๑๐ ปี โดยที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงมีส่วนเสียงเพียงน้อยนิด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ พระมหากษัตริย์จักทรงเป็นเพียง ‘ตัวเชิด’ (ออกโรงแทน) โดยมีคณะราษฎรเป็นผู้ที่ทำการปกครองจริงๆในนามของ’ราษฎร’หรือประชาชน

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงมีแนวคิดเกี่ยวกับว่าอะไรคือระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญอยู่ในพระราชหฤทัยเป็นอีกลักษณะหนึ่ง ด้วยเหตุที่ทรงคุ้นเคยกับระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา(Parliamentary democracy) ในอังกฤษ พระองค์จึงทรงถือว่าโดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญทรงมีสิ่งที่ในอังกฤษเรียกว่า “พระราชสิทธิสามประการ” (the trinity of rights) กล่าวคือ ที่จะทรงรับปรึกษา ที่จะทรงแนะนำหรือพระราชทานกำลังใจ และที่จะทรงเตือนสติ เพื่อที่จะได้ทรงมีอิทธิพลต่อผู้ที่ทำการปกครองจริงๆ นอกจากนั้นในระบบของอังกฤษ ประมุขของรัฐผู้เป็นกษัตริย์นั้นยังทรงมีพระราชอำนาจเผื่อไว้ (reserve powers) ใช้ในฐานะคล้าย ‘กรรมการ’ ในการแข่งขันทางการเมือง ในภาวการณ์ที่ติดขัดไม่ชัดเจนว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายชนะ คือในการที่จะทรงอนุญาตให้รัฐบาลยุบสภาหรือไม่ ซึ่งหากไม่ ย่อมเป็นการบีบให้นายกรัฐมนตรีลาออกและทรงแต่งตั้งผู้อื่นที่จะสามารถตั้งรัฐบาลที่มีเสถียรภาพได้เข้ามาเป็นนายกฯแทน หรือในกรณีที่ผลการเลือกตั้งและสภาฯ ไม่ชัดเจนว่าจะให้ผู้ใดเป็นนายกฯ อีกทั้งทรงมีพระราชอำนาจที่จะทรงยับยั้งร่างกฎหมาย (legislative veto) เพื่อเป็นการเตือนสติรัฐสภาและรัฐบาลอย่างจริงจังให้ฉุกคิดพิจารณาใหม่ว่าร่างกฎหมายนั้นเหมาะสมแก่ประเทศหรือไม่ เหล่านี้นับเป็นภารกิจหน้าที่เชิงรัฐธรรมนูญขององค์พระประมุขตามธรรมเนียมปฏิบัติในระบบและระบอบนั้น แม้ว่าอาจมีความจำเป็นต้องทรงใช้ไม่บ่อยนัก

ดังนี้เอง จุดยืนแบบปฏิบัตินิยมของคณะราษฎรกับความเข้าพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เกี่ยวกับว่าอะไรคือ ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ จึงแตกต่างกันอย่างชัดเจน หากแต่มิได้มีการถกแถลงกันให้เห็นตรงกัน จึงได้นำไปสู่ความขัดแย้งที่หนักหน่วงในกาลต่อมาอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก

ในขณะเดียวกัน องค์ประชาธิปกทรงตระหนักดียิ่งจากการทรงศึกษาประวัติศาสตร์โลกว่า ในฐานะที่ทรงเป็นพระราชาผู้ถูกลดอำนาจลงโดยการยึดอำนาจไปจากพระองค์ พระองค์เองจะรอดพ้นไปได้ยากยิ่งจากความเคลือบแคลงสงสัยว่าต้องพระราชประสงค์จะกลับไปสู่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือว่าทรงลำเอียงทางการเมือง ด้วยเหตุนี้ จึงทรงยกประเด็นของการสละราชสมบัติขึ้นมารับสั่งภายใน ๖ วันของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโดยที่ทรงถือว่าการยอมรับในเกียรติคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการที่สถาบันนั้นจักทำหน้าที่เชิงรัฐธรรมนูญ (แบบที่กล่าวไว้ข้างต้น) ได้อย่างมีประสิทธิผล จึงรับสั่งไว้ด้วยว่า หากปรากฏว่าคณะราษฎรยังคงนำความเสื่อมความนิยมมาสู่พระองค์แล้ว พระองค์ก็จะสละราชสมบัติ

ในการทรงมีพระราชมานะพยายามอย่างทรง “รู้หน้าที่” ต่อไป เพื่อที่จะปกปักรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ และเพื่ออำนวยให้เป็นประชาธิปไตยได้วิวัฒน์ขึ้นนั้น องค์ประชาธิปกทรงมีความระมัดระวังเป็นส่วนมากในการทรงประกอบกิจหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ กล่าวคือในช่วงที่พระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี พระองค์ได้ทรงใช้พระราชสิทธิสามประการที่จะทรงมีอิทธิพลต่อนายกรัฐมนตรี ซึ่งรับสั่งไว้เองในภายหลังว่า ไม่ได้สำเร็จทุกครั้งไป ไม่มีแม้แต่ครั้งเดียวที่ทรงแพร่งพรายให้ทราบกันโดยทั่วไปว่า พระองค์กับพระยามโนฯมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง จนกระทั่งหลังจากที่พระยามโนฯได้ถูกรัฐประหารและพ้นจากตำแหน่งไปแล้ว

ส่วนในเรื่องของรัฐธรรมนูญฉบับ “ถาวร” แม้ว่ามีผู้เสนอว่าพระองค์เข้าพระราชหฤทัยผิดว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ดี (โดยไม่ทรงละเอียดถี่ถ้วนพอหรือเพราะไม่เข้าพระราชหฤทัย) ก็ตาม แต่ก็อาจมองอีกแบบหนึ่งได้ว่าพระองค์ทรงระมัดระวังวางพระองค์อยู่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญในภาวะที่ “เข้าด้ายเข้าเข็ม” นั้น จึงมิได้ทรงยืนยันให้มีการแก้ไขแก่นสาระของร่างรัฐธรรมนูญซึ่งกำหนดให้พระมหากษัตริย์แทบจะไม่มีพระราชอำนาจจริงใดๆ

การมองเช่นนี้สอดคล้องกับพระอรรถาธิบายของพระองค์เองดังที่ได้ทรงไว้ภายหลัง (เมื่อใกล้จะทรงสละราชสมบัติ) ว่าได้ตัดสินพระราชหฤทัยที่จะไม่ให้เกิดความขัดแย้งจนแตกหักในวาระนั้น(ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๕) ซึ่งยังเป็นช่วงแรกๆของการเปลี่ยนผ่านระบอบ นอกจากนั้นยังอาจกล่าวได้ด้วยว่า อาจทรงวางพระราชหฤทัยว่ายังทรงมีพระราชสิทธิสามประการที่จะอำนวยให้ทรงมีอิทธิพลได้บ้าง

ต่อมา หลังจากที่ได้ “พระราชทาน” รัฐธรรมนูญฉบับ “ถาวร” เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.. ๒๔๗๕ แล้ว พระองค์ได้ทรงใช้พระราชสิทธิสามประการในประเด็นการขอตั้งพรรคการเมืองและประเด็นเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม(ปรีดี พนมยงค์) ในเรื่องแรก ดูจะเป็นว่า พระองค์และพระยามโนฯนายกรัฐมนตรี มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ยังไม่ถึงเวลาที่จะมีการแข่งขันทางการเมืองในระบบพรรคและไม่ควรมีพรรคการเมืองที่มีข้าราชการประจำ ทหารและพลเรือน เป็นสมาชิก ดังนั้น พระองค์ในฐานะพระประมุขจึงสามารถแสดงและได้ทรงแสดงความคิดเห็นของพระองค์ได้ตามระบอบรัฐธรรมนูญ เพราะเป็นการพระราชทานกำลังใจแก่นายกรัฐมนตรีตามที่ทรง(คิดว่าทรง) มีพระราชสิทธิ แต่กระนั้นก็ยังมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าทรงลำเอียงเข้าข้างนายกรัฐมนตรี

ส่วนในประเด็นปัญหาเค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น พระองค์และพระยามโนฯก็มีความเห็นสอดคล้องกันว่าเค้าโครงการฯนั้นไม่เหมาะสมที่จะเป็นนโยบายของรัฐบาล หากแต่ว่าการที่ได้พระราชทานบทพระราชวิจารณ์เค้าโครงการฯนั้นแก่พระยามโนฯได้ทำให้ทรงตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะทรงถูกใช้ ให้เป็นประโยชน์ในการแข่งขันทางการเมือง ซึ่งก็เป็นเช่นนั้นเมื่อพระยามโนฯได้ใช้พระราชวิจารณ์ (ซึ่งทรงเน้นย้ำว่าเป็นความคิดเห็นส่วนพระองค์) ไปในทางที่ทำให้ตนได้เปรียบทางการเมือง อีกทั้ง ในพระราชบันทึกในภายหลัง ทรงอ้างว่าพระยามโนฯยังได้ดำเนินการไปไกลกว่าที่พระราชทานคำแนะนำและทรงเตือนสติแก่เขาไว้ ในกรณีของการออกพระราชกฤษฎีกา “ปิดสภา”และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราจนกว่าจะมีการเลือกตั้งทางอ้อมสู่กึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรต่อไป แต่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ ก็ต้องทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อนายกรัฐมนตรียืนยัน

กล่าวเฉพาะเรื่องของการที่ได้ทรงวิจารณ์เค้าโครงการเศรษฐกิจอย่างแข็งขันนั้น ข้อความต่อท้ายบทพระราชวิจารณ์ที่ว่า หากเค้าโครงการนี้ได้นำมาใช้ “จะนำมาซึ่งความเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า จนกลายเป็นความหายนะถึงแก่ความพินาศแห่งประเทศและชาติบ้านเมือง” พร้อมกับคำทรงแนะนำว่าหากคิดจะนำมาใช้ ให้จัดการให้ประชาชนออกความเห็นอย่างเป็นอิสระจริงๆ เสียก่อน จึงเป็นการแสดงให้เห็นว่า ทรงเห็นว่าเรื่องนี้ได้กลายเป็นเรื่องการชาติยิ่งกว่าการเมือง จึงเป็นเรื่องที่ประมุขของชาติจะต้องกระทำการบางอย่าง อีกทั้งหากอนุโลมตามอังกฤษ ก็วิเคราะห์ได้ว่ากำลังทรงปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ “ผู้พิทักษ์รัฐธรรมนูญ”คือตัวระบอบนั้น ในสภาพการณ์ที่สยามในเวลานั้นยังไม่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้งแต่อย่างใด (เมื่อพ.ศ.๒๕๓๘ นี้เอง Vernon Bogdanor นักวิชาการชาวอังกฤษยังคงวิเคราะห์ไว้ในกรณีของอังกฤษที่มีสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งเป็นสภาหลักของรัฐสภา ว่า “กษัตริย์ทรงมีสิทธิที่จะทรงใช้พระวิจารณญาณของพระองค์เองในการทรงประกอบพระราชภารกิจของ “ผู้พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” -constitutional guardian- เพื่อที่จะทรงทำให้แน่ใจได้ว่าค่านิยมต่างๆซึ่งเป็นรากฐานแห่งระบอบรัฐธรรมนูญได้รับการอนุรักษ์ไว้”) หากแต่ว่า สำหรับภาคส่วนของคณะราษฎรที่หวงแหนความได้เปรียบทางการเมืองของเขาอยู่ ย่อมไม่สามารถที่จะเข้าใจได้ว่าพระองค์กำลังทรงใช้สิทธิเชิงรัฐธรรมนูญของพระมหากษัตริย์ แต่เชื่อว่าทรงลำเอียงทางการเมืองอย่างชัดแจ้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพระราชวิจารณ์ได้รับการเผยแพร่

ในกาลต่อมา ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรฝ่ายทหารได้ทำการรัฐประหารล้มรัฐบาลพระยามโนฯ ยังผลเป็นภาวการณ์ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่อาจทรงมีทางเลือก นอกจากจะทรงยอมต่อการที่ได้มีการใช้กำลังทหารเข้าเปลี่ยนแปลงรัฐบาล อีกทั้งเมื่อพระยาพหลฯวางหมากโดยขอลาออกจากการเป็นนายกฯ โดยอ้างว่าตนเป็นผู้บัญชาการทหารบกอยู่ด้วย อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมพระเกียรติยศ ก็ไม่ทรงกล่าวถึงหลักการของระบอบรัฐธรรมนูญที่ว่าทหารไม่พึงมีตำแหน่งทางการเมือง และทรงต้องยอมให้ พระยาพหลฯ ยังคงควบ ๒ ตำแหน่งต่อไป

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตกอยู่ในภาวะคับขันยิ่งขึ้นอีกในเดือนตุลาคมถัดมา เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชได้ทรงฝ่าฝืนคำทรงตักเตือนโดยได้ทรงนำกำลังทหารมาประชิดพระนคร เพื่อขู่ให้รัฐบาลพระยาพหลฯลาออก แต่เมื่อฝ่ายรัฐบาลได้ต่อสู้ จึงได้รบกัน ยังความสูญเสียแก่ทั้งสองฝ่าย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเกรงและทรงตักเตือนอยู่แล้วว่า หากมีเจ้านายพระองค์ใดทำเช่นนั้นย่อมจะนำมาซึ่งความหายนะของสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้ทรงเลือกที่จะเน้นสาระของบทบาทของพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ แทนที่จะทรงแสดงความสนับสนุนรัฐบาลพระยาพหลฯโดยอัตโนมัติตามนัยแห่งตัวรัฐธรรมนูญ กล่าวคือมีพระราชกระแสขอให้ทั้งสองฝ่ายไปเฝ้าฯที่วังไกลกังวล หัวหิน ที่ประทับในขณะนั้น เพื่อที่พระองค์จะได้ทรงเป็น ‘คนกลาง’ ในการที่จะได้เจรจากันเพื่อให้เกิดความสงบในแผ่นดิน หากแต่ไม่ทรงได้รับการตอบสนองแต่อย่างใด จากนั้นองค์ประชาธิปกจึงได้ตัดสินพระราชหฤทัยวางพระองค์อยู่เหนือการเมืองด้วยการเสด็จพระราชดำเนินด้วยเรือเล็กใช้เวลา ๒ วันครึ่ง จากหัวหินไปประทับที่สงขลา เพื่อให้องค์พระมหากษัตริย์ห่างไกลและเป็นต่างหากจากความขัดแย้งรุนแรงนั้น แม้กระนั้นก็มิอาจทรงหลีกเลี่ยงการถูกกล่าวหาจากทั้งสองฝ่ายว่าไม่ทรงเข้าข้างฝ่ายตนได้

หลังจากนั้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๖ เมื่อได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยทางอ้อมสู่กึ่งหนึ่งของสภาประเภทเลือกตั้งกึ่งหนึ่งแต่งตั้งกึ่งหนึ่งแล้ว รัฐบาลได้ทูลเกล้าฯ ถวายรายนามของผู้ที่ตนเห็นควรเป็นสมาชิกประเภทแต่งตั้งจำนวนเท่ากันกับที่จะต้องแต่งตั้ง ให้ทรงลงพระปรมาภิไธย ซึ่งเป็นการปิดโอกาสมิให้พระมหากษัตริย์ทรงมีส่วนเสียงใดๆในกระบวนการนั้น เว้นแต่การทรงลงพระปรมาภิไธย แม้จะไม่พอพระราชหฤทัยมาก องค์ประชาธิปกก็ยังทรงดำรงพระองค์ต่อไปในเส้นทางแห่งพระราชปณิธานของพระองค์แม้ว่าหนทางจะตีบตันเพียงใดก็ตาม เพราะยังไม่ถึงที่สุด

ครั้นวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คือหนึ่งเดือนต่อมา(นับศักราชตามเดิม) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี คู่พระบารมี ไปประพาสประเทศต่างๆในยุโรป ๙ ประเทศซึ่งมีส่วนที่เป็นทางการ ใน ๘ ประเทศ และเพื่อที่จะทรงเข้ารับการผ่าตัดต้อกระจกในพระเนตรซ้ายอีกครั้ง หลังจากนั้นได้ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษต่อไป และทรงเปิดการเจรจากับรัฐบาลที่กรุงเทพฯเกี่ยวกับเงื่อนไขของการที่จะทรงอยู่ในราชสมบัติต่อไป

เมื่อประทับอยู่ห่างไกลจากความเสี่ยงที่จะทรงตกเป็น “องค์ประกัน” ของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดที่ต่อสู้แย่งชิงอำนาจกัน จึงทรงมีอิสรภาพพอที่จะทรงตัดสินพระราชหฤทัยได้ ในวาระนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯทรงชัดเจนในพระราชหฤทัยแล้วว่ารัฐบาลไม่ได้ยอมรับว่าทรงมีพระราชสิทธิสามประการ นอกจากนั้นทรงทราบว่ารัฐบาลกำลังมีมาตรการต่างๆ เชิงอำนาจนิยมซึ่งขัดต่อวิธีการการปกครองโดยหลักนิติธรรม (The rule of law) เช่น ได้ตั้งอัยการพิเศษและศาลพิเศษพิจารณาคดี “กบฏบวรเดช” แทนศาลยุติธรรม อีกทั้งกำลังมีแนวโน้มของการเป็นคณาธิปไตย (oligarchy) หรือเผด็จการโดยคณะบุคคล ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบประชาธิปไตย พระองค์จึงทรงท้วงติงตรงๆและพร้อมกันนั้นทรงแสดงพระราชดำริอย่างแข็งขันว่าจะทรงสละราชสมบัติ เพื่อที่จะทรงทดสอบสถานการณ์เป็นขั้นสุดท้ายว่าควรหรือไม่ที่จะทรงสละราชสมบัติจริงๆ

ในเมื่อพระราชสิทธิไม่ได้รับการยอมรับและด้วยความเข้าพระราชหฤทัยเช่นที่ทรงมีเกี่ยวกับระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ องค์ประชาธิปกจึงต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงทดสอบพระราชอำนาจที่พระมหากษัตริย์ต้องทรงมีเผื่อไว้นั้น คณะราษฎรและรัฐบาลจะให้ทรงมีหรือไม่ ดังนี้เอง พระองค์จึงได้ทรงตั้งข้อเรียกร้องที่จะให้พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายมีความเป็นจริงเป็นจังขึ้นกว่าที่ได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และในเมื่อปวงชนยังไม่มีอำนาจอธิปไตยเต็มที่ พระมหากษัตริย์จึงควรที่จะได้มีอำนาจ ‘รักษาการ’ แทนปวงชนในการมีส่วนเสียงในการเลือกสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทแต่งตั้ง อีกทั้งหากจะทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญจริงๆแล้ว ก็ชอบที่จะมีการปกครองโดยหลักนิติธรรมสถิตอยู่เป็นมั่นเหมาะ พร้อมกันไป เพราะหลักนิติธรรมคือรากฐานของระบอบรัฐธรรมนูญ และประชาราษฎรก็ควรที่จะยังคงมีสิทธิของเขาตามจารีตประเพณีในอันที่จะถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษได้โดยตรง อันอาจนำมาซึ่งความเป็นธรรมเหนือความยุติธรรมตามกฎหมาย(ที่อาจมิได้เป็นไปโดยหลักนิติธรรม)ด้วย นอกจากนั้นได้พระราชทานคำแนะนำเป็นมั่นเหมาะให้ดำเนินการลดโทษ “นักโทษการเมือง” และ (ในเมื่อชัดเจนแล้วว่าคณะราษฎรเป็นพรรคการเมืองโดยพฤตินัย) ให้เปิดโอกาสให้มีพรรคการเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อที่จะได้กลับเข้าสู่บรรยากาศของการแข่งขันทางการเมืองโดยสันติ ประชาธิปไตยจะได้มีโอกาสวิวัฒน์ขึ้นต่อไป

เมื่อ “คำขอร้อง” แทบทุกข้อของพระองค์ได้รับการปฏิเสธ องค์ประชาธิปกจึงตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ (พ.ศ.๒๔๗๘ ตามปฏิทินปัจจุบัน) โดยมีพระราชหัตถเลขามาจากประเทศอังกฤษ ทรงทำเช่นนี้หลังจากที่ได้ทรงพยายามอย่างสุดพละกำลังความสามารถแล้วในอันที่จะอำนวยให้ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญในกระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยได้วิวัฒน์ขึ้น หากแต่ทรงพิสูจน์ได้แล้วว่าทรงกระทำการไม่สำเร็จ

อีกทั้งโดยที่พระองค์เองยังเป็นที่ระแวงสงสัยอยู่ร่ำไป จึงจะเป็นการดีกว่าหากจะทรงปลีกพระองค์เองออกจากราชบัลลังก์ เพื่อที่สถาบันพระมหากษัตริย์จักได้คงอยู่และในภายหน้ามีโอกาสหล่อหลอมระบบพระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญให้เป็นหนทางแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างแนวคิดสถาบันพระมหากษัตริย์กับแนวคิดระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็นที่พิสูจน์แล้วในหลายประเทศว่าสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งกับระบอบประชาธิปไตย แต่สามารถที่จะมีคุณูปการต่อระบอบนั้นได้หลายประการ