ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันอภิวัฒน์"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ย่ำรุ่งวันที่ ๒๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ วันแห่งการอภิวัฒน์สยาม  คณะราษฎรได้กระทำการยึดอำนาจ ล้มล้างการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
ย่ำรุ่งวันที่ [[๒๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๕]] วันแห่งการอภิวัฒน์สยาม  [[คณะราษฎร]]ได้กระทำการยึดอำนาจ ล้มล้างการปกครอง[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]]


ณ เวลานั้น ทหารเกือบ ๒,๐๐๐ นาย ได้มารวมตัวกันที่ด้านหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม โดยเข้าใจว่าเป็นการซ้อมรบ ขณะที่บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร ได้อ่านประกาศคณะราษฎรบ่งบอกถึงการยึดอำนาจการปกครองได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว
ณ เวลานั้น ทหารเกือบ ๒,๐๐๐ นาย ได้มารวมตัวกันที่ด้านหน้า[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] โดยเข้าใจว่าเป็นการซ้อมรบ ขณะที่บริเวณ[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]] [[นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]] [[หัวหน้าคณะราษฎร]] ได้อ่าน[[ประกาศคณะราษฎร]]บ่งบอกถึงการยึดอำนาจการปกครองได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว
ท่ามกลางความวุ่นวายใจกลางพระนคร ณ เวลานั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ ฯ แปรพระราชฐาน ณ วังไกลกังวลและทรงทราบเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองในช่วงเช้าวันเดียวกัน  
ท่ามกลางความวุ่นวายใจกลางพระนคร ณ เวลานั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ ฯ แปรพระราชฐาน ณ วังไกลกังวลและทรงทราบเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองในช่วงเช้าวันเดียวกัน  
ในวันนั้น คณะราษฏร ได้ส่งโทรเลขไปกราบบังคมทูลให้ทรงทราบเรื่องที่ได้ยึดอำนาจ และขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดยเชิญให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จพระราชดำเนินกลับมาดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยนาวาตรีหลวงศุภชลาศัย ได้นำเรือรบหลวงสุโขทัยมารับเสด็จกลับพระนคร  
ในวันนั้น คณะราษฏร ได้ส่งโทรเลขไปกราบบังคมทูลให้ทรงทราบเรื่องที่ได้ยึดอำนาจ และขอ[[พระราชทานรัฐธรรมนูญ]] โดยเชิญให้[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเสด็จพระราชดำเนินกลับมาดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ โดย[[นาวาตรีหลวงศุภชลาศัย]] ได้นำเรือรบหลวงสุโขทัยมารับเสด็จกลับพระนคร  
ด้วยพระราชประสงค์ที่ไม่ต้องการให้เกิดการต่อสู้กันจนเสียเลือดเนื้อ  เกิดการจลาจล สร้างความเสียหายแก่บ้านเมือง อีกทั้งเพื่อให้นานาประเทศยอมรับรองการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ตามรัฐธรรมนูญ
ด้วยพระราชประสงค์ที่ไม่ต้องการให้เกิดการต่อสู้กันจนเสียเลือดเนื้อ  เกิดการจลาจล สร้างความเสียหายแก่บ้านเมือง อีกทั้งเพื่อให้นานาประเทศยอมรับรองการจัดตั้ง[[รัฐบาล]]ใหม่ตาม[[รัฐธรรมนูญ]]
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยอมรับที่จะเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ  
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยอมรับที่จะเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ  
 
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:37, 10 กุมภาพันธ์ 2559

ย่ำรุ่งวันที่ ๒๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ วันแห่งการอภิวัฒน์สยาม คณะราษฎรได้กระทำการยึดอำนาจ ล้มล้างการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย

ณ เวลานั้น ทหารเกือบ ๒,๐๐๐ นาย ได้มารวมตัวกันที่ด้านหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม โดยเข้าใจว่าเป็นการซ้อมรบ ขณะที่บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร ได้อ่านประกาศคณะราษฎรบ่งบอกถึงการยึดอำนาจการปกครองได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว

ท่ามกลางความวุ่นวายใจกลางพระนคร ณ เวลานั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ ฯ แปรพระราชฐาน ณ วังไกลกังวลและทรงทราบเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองในช่วงเช้าวันเดียวกัน

ในวันนั้น คณะราษฏร ได้ส่งโทรเลขไปกราบบังคมทูลให้ทรงทราบเรื่องที่ได้ยึดอำนาจ และขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดยเชิญให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จพระราชดำเนินกลับมาดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยนาวาตรีหลวงศุภชลาศัย ได้นำเรือรบหลวงสุโขทัยมารับเสด็จกลับพระนคร ด้วยพระราชประสงค์ที่ไม่ต้องการให้เกิดการต่อสู้กันจนเสียเลือดเนื้อ เกิดการจลาจล สร้างความเสียหายแก่บ้านเมือง อีกทั้งเพื่อให้นานาประเทศยอมรับรองการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ตามรัฐธรรมนูญ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยอมรับที่จะเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ

แม้ว่าปัญหาความยุ่งยากทางการเมืองการปกครองของประเทศจะทำให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ทรงสบายพระราชหฤทัย แต่พระองค์ก็ทรงเห็นแก่ความสงบของบ้านเมืองมากกว่าสิ่งอื่นใด

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖