ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 10 วันที่ 15 ธันวาคม 2500"
ล การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 10 วันที่ 15 ธันวาคม 2500 ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[การเลื� |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' ชาย ไชยชิต | |||
---- | |||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | |||
---- | ---- | ||
==ความเป็นมา== | ==ความเป็นมา== | ||
บรรทัดที่ 13: | บรรทัดที่ 13: | ||
==พรรคการเมืองที่ลงสมัคร== | ==พรรคการเมืองที่ลงสมัคร== | ||
<p>พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้ ประกอบด้วย [[พรรคสหภูมิ]] [[พรรคขบวนการสหพันธรัฐสากลนิยม]] [[พรรคอิสาน]] [[พรรคชาติสังคม]] [[พรรคปิตุภูมิ]] [[พรรคประชาราษฎร]] และ[[พรรคสหพันธ์ประชาธิปไตย]] ซึ่งเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในการส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้โดยเฉพาะ นอกจากนั้น ก็เป็นพรรคซึ่งเคยส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในครั้งที่ผ่านมาแล้ว นั่นคือ [[พรรคเสรีมนังคศิลา]] [[พรรคประชาธิปัตย์]] [[พรรคเสรีประชาธิปไตย]] [[พรรคเศรษฐกร]] [[พรรคธรรมาธิปัตย์]] [[พรรคกรรมกร]] [[พรรคชาวนา]] [[พรรคสังคมประชาธิปไตย]] [[พรรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศล]] [[พรรคชาตินิยม]] [[พรรคสหภราดร]] [[พรรคสังคมนิยม]] [[พรรคไฮด์ปาร์ค]] [[พรรคชาติประชาธิปไตย]] [[พรรคหนุ่มไทย]] [[พรรคสหพันธเกษตรกร]] [[พรรคราษฎร]] [[พรรคคนดี]] [[พรรคอิสระ]] [[พรรคประชาชน]] [[พรรคศรีอริยเมตไตร]] [[พรรคไทยมุสลิม]] และ[[พรรคสยามประเทศ]] </p> | <p>พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้ ประกอบด้วย [[พรรคสหภูมิ]] [[ขบวนการสหพันธ์รัฐสากลนิยม (พ.ศ. 2500)|พรรคขบวนการสหพันธรัฐสากลนิยม]] [[อิสาน|พรรคอิสาน]] [[พรรคชาติสังคม]] [[ปิตุภูมิ (พ.ศ. 2500)|พรรคปิตุภูมิ]] [[พรรคประชาราษฎร]] และ[[พรรคสหพันธ์ประชาธิปไตย]] ซึ่งเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในการส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้โดยเฉพาะ นอกจากนั้น ก็เป็นพรรคซึ่งเคยส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในครั้งที่ผ่านมาแล้ว นั่นคือ [[พรรคเสรีมนังคศิลา]] [[ประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2489–2494)|พรรคประชาธิปัตย์]] [[เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ.2542)|พรรคเสรีประชาธิปไตย]] [[เศรษฐกร (พ.ศ. 2498)|พรรคเศรษฐกร]] [[ธรรมาธิปัตย์|พรรคธรรมาธิปัตย์]] [[กรรมกร (พ.ศ. 2498)|พรรคกรรมกร]] [[ชาวนา (พ.ศ. 2498)|พรรคชาวนา]] [[พรรคสังคมประชาธิปไตย]] [[สงเคราะห์อาชีพและการกุศล (พ.ศ. 2498)|พรรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศล]] [[พรรคชาตินิยม]] [[พรรคสหภราดร]] [[พรรคสังคมนิยม]] [[พรรคไฮด์ปาร์ค]] [[ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2499)|พรรคชาติประชาธิปไตย]] [[พรรคหนุ่มไทย]] [[พรรคสหพันธเกษตรกร]] [[พรรคราษฎร]] [[คนดี (พ.ศ. 2499)|พรรคคนดี]] [[อิสระ (พ.ศ. 2499)|พรรคอิสระ]] [[พรรคประชาชน]] [[ศรีอารยเมตไตรย|พรรคศรีอริยเมตไตร]] [[พรรคไทยมุสลิม]] และ[[พรรคสยามประเทศ]] </p> | ||
บรรทัดที่ 33: | บรรทัดที่ 33: | ||
|width="80" |45 คน | |width="80" |45 คน | ||
|- | |- | ||
|[[พรรคประชาธิปัตย์]] ||39 คน | |[[ประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2489–2494)|พรรคประชาธิปัตย์]] ||39 คน | ||
|- | |- | ||
|[[พรรคเศรษฐกร]] ||6 คน | |[[เศรษฐกร (พ.ศ. 2498)|พรรคเศรษฐกร]] ||6 คน | ||
|- | |- | ||
|[[พรรคเสรีประชาธิปไตย]] ||5 คน | |[[พรรคเสรีประชาธิปไตย]] ||5 คน | ||
บรรทัดที่ 43: | บรรทัดที่ 43: | ||
|[[พรรคชาตินิยม]] ||1 คน | |[[พรรคชาตินิยม]] ||1 คน | ||
|- | |- | ||
|[[พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค]] ||1 คน | |[[ขบวนการไฮด์ปาร์ค (พ.ศ. 2499)|พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค]] ||1 คน | ||
|- | |- | ||
|[[พรรคอิสระ]] ||1 คน | |[[พรรคอิสระ]] ||1 คน | ||
บรรทัดที่ 54: | บรรทัดที่ 54: | ||
ด้วยเหตุที่การเลือกตั้งครั้งนี้ไม่มีพรรคใดได้เสียงข้างมากในสภา จึงทำให้การจัดตั้งรัฐบาลมีความยากลำบาก แม้ว่า[[พรรคสหภูมิ]]ซึ่งเป็นพรรคที่คณะทหารของ[[จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]สนับสนุนอยู่จะเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล แต่เพื่อให้การการจัดตั้งรัฐบาลเป็นไปด้วยความสะดวกยิ่งขึ้น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงได้จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาเอง เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ชื่อว่า “[[พรรคชาติสังคม]]” โดยมี[[จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]เป็น[[หัวหน้าพรรคการเมือง|หัวหน้าพรรค]] และมี [[ | ด้วยเหตุที่การเลือกตั้งครั้งนี้ไม่มีพรรคใดได้เสียงข้างมากในสภา จึงทำให้การจัดตั้งรัฐบาลมีความยากลำบาก แม้ว่า[[พรรคสหภูมิ]]ซึ่งเป็นพรรคที่คณะทหารของ[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]สนับสนุนอยู่จะเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล แต่เพื่อให้การการจัดตั้งรัฐบาลเป็นไปด้วยความสะดวกยิ่งขึ้น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงได้จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาเอง เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ชื่อว่า “[[พรรคชาติสังคม]]” โดยมี[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]เป็น[[หัวหน้าพรรคการเมือง|หัวหน้าพรรค]] และมี [[ประภาส จารุเสถียร|พลโท ประภาส จารุเสถียร]] เป็น[[เลขาธิการพรรคการเมือง|เลขาธิการพรรค]] | ||
==เหตุการณ์หลังจากการเลือกตั้ง== | ==เหตุการณ์หลังจากการเลือกตั้ง== | ||
หลังจากดำเนินการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งนี้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว | หลังจากดำเนินการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งนี้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว [[พจน์ สารสิน|นายพจน์ สารสิน]] ก็ได้ลาออกจากตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] แม้ว่าทางคณะทหารต้องการที่จะให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่นายพจน์ สารสินก็ได้ปฏิเสธโดยอ้างว่าตนมีภาระด้านอื่นอยู่มาก และเหตุการณ์ทางการเมืองก็กลับคืนสู่ความสงบเรียบร้อยแล้ว คณะรัฐประหารจึงต้องสรรหาตัวบุคคลผู้จะมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนนายพจน์ สารสิน โดย [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]เองได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง | ||
<p>เมื่อพิจารณาตัวบุคคลสำคัญในคณะรัฐประหารซึ่งมีอาวุโสรองลงมา คณะทหารก็มีความเห็นว่าผู้ที่เหมาะสมกว่าใครในเวลานั้นคือ [[ | <p>เมื่อพิจารณาตัวบุคคลสำคัญในคณะรัฐประหารซึ่งมีอาวุโสรองลงมา คณะทหารก็มีความเห็นว่าผู้ที่เหมาะสมกว่าใครในเวลานั้นคือ [[ถนอม กิตติขจร|พลโท ถนอม กิตติขจร]] ซึ่งนอกจากจะเป็นบุคลสำคัญในคณะรัฐประหารแล้ว ยังดำรงตำแหน่งรองหัวหน้า[[พรรคชาติสังคม]] ซึ่งได้รวบรวมสมาชิกสภาสังกัดพรรคสหภูมิและพรรคอื่น ๆ รวมทั้งที่ไม่ได้สังกัดพรรคมาเข้าร่วมเป็นสมาชิกได้ถึง 80 คน และเมื่อรวมกับเสียงสนับสนุนในหมู่[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่สอง]]ด้วยแล้วก็ทำให้พรรคชาติสังคมมีเสียงสนับสนุนในสภามากเพียงพอที่จะจัดตังรัฐบาลได้ โดยการจัดตั้งรัฐบาลของพลโทถนอม กิตติขจรได้รับความไว้วางใจด้วยคะแนนเสียง 162 ต่อ 40 เสียง ซึ่งการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่นี้เป็นการจัดสรรโควต้าตำแหน่งรัฐมนตรี ระหว่างคณะทหารและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคชาติสังคม และมีข้าราชประจำที่เคยร่วมเป็นรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลชั่วคราวก่อนการเลือกตั้งเข้ามาร่วมในคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ด้วย รัฐบาลของพลโทถนอม กิตติขจร อยู่ในตำแหน่งจนถึงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 [[รัฐประหาร พ.ศ. 2501|จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงได้เข้ายึดอำนาจและประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ สภาผู้แทนราษฎร และยุติบทบาทของพรรคการเมืองไทยลงโดยสิ้นเชิง]] </p> | ||
==อ้างอิง== | |||
กระทรวงมหาดไทย, '''รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เล่ม 2''', พระนคร : โรงพิมพ์กรมมหาดไทย, 2502 | กระทรวงมหาดไทย, '''รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เล่ม 2''', พระนคร : โรงพิมพ์กรมมหาดไทย, 2502 | ||
บรรทัดที่ 76: | บรรทัดที่ 75: | ||
สุจิต บุญบงการ, '''การพัฒนาการเมืองของไทย : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน''', กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | สุจิต บุญบงการ, '''การพัฒนาการเมืองของไทย : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน''', กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | ||
[[category:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|ก10การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 10 วันที่ 15 ธันวาคม 2500]] | [[category:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|ก10การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 10 วันที่ 15 ธันวาคม 2500]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:42, 1 สิงหาคม 2554
ผู้เรียบเรียง ชาย ไชยชิต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ความเป็นมา
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 10 เกิดขึ้นภายหลังการรัฐประหารของคณะทหารซึ่งนำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 รัฐบาลชุดใหม่ซึ่งมีนายพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ได้จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งแบบรวมเขต ภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 โดยมีหลักเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนจำนวนผู้แทนราษฎรต่อจำนวนประชาชนในแต่ละเขต คือ ประชาชน 1 แสนคน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ดังนั้น ในการเลือกตั้งครั้งนี้ จึงมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งสิ้น 160 คน ทั้งนี้ สภาผู้แทนราษฏรจะทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติตาม “ระบบสภาเดียว”
พรรคการเมืองที่ลงสมัคร
พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้ ประกอบด้วย พรรคสหภูมิ พรรคขบวนการสหพันธรัฐสากลนิยม พรรคอิสาน พรรคชาติสังคม พรรคปิตุภูมิ พรรคประชาราษฎร และพรรคสหพันธ์ประชาธิปไตย ซึ่งเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในการส่งผู้สมัครของพรรคลงแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้โดยเฉพาะ นอกจากนั้น ก็เป็นพรรคซึ่งเคยส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในครั้งที่ผ่านมาแล้ว นั่นคือ พรรคเสรีมนังคศิลา พรรคประชาธิปัตย์ พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรคเศรษฐกร พรรคธรรมาธิปัตย์ พรรคกรรมกร พรรคชาวนา พรรคสังคมประชาธิปไตย พรรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศล พรรคชาตินิยม พรรคสหภราดร พรรคสังคมนิยม พรรคไฮด์ปาร์ค พรรคชาติประชาธิปไตย พรรคหนุ่มไทย พรรคสหพันธเกษตรกร พรรคราษฎร พรรคคนดี พรรคอิสระ พรรคประชาชน พรรคศรีอริยเมตไตร พรรคไทยมุสลิม และพรรคสยามประเทศ
จำนวนผู้มีสิทธิและการออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ในการเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งประเทศจำนวนรวมทั้งสิ้น 9,911,118 คน ผลการเลือกตั้งพบว่า มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงจำนวน 4,370,587 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 40.10 ของจำนวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งหมด จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดระนอง มีจำนวนผู้มาใช้สิทธิรวมทั้งสิ้น 4,370,587 คน คิดเป็นร้อยละ 73.00 ของจำนวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งประเทศ ในขณะที่จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงน้อยที่สุดคือ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งมีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเพียง ร้อยละ 29.92
ผลการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 สามารถจำแนกสัดส่วนจำนวนผู้สมัครที่ได้รับเลือกตั้งจากแต่ละพรรคได้ดังนี้
พรรคการเมือง | จำนวนที่นั่ง |
---|---|
พรรคสหภูมิ | 45 คน |
พรรคประชาธิปัตย์ | 39 คน |
พรรคเศรษฐกร | 6 คน |
พรรคเสรีประชาธิปไตย | 5 คน |
พรรคเสรีมนังคศิลา | 4 คน |
พรรคชาตินิยม | 1 คน |
พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค | 1 คน |
พรรคอิสระ | 1 คน |
ผู้สมัครที่ไม่สังกัดพรรค | 58 คน |
รวมทั้งสิ้น | 160 คน |
ด้วยเหตุที่การเลือกตั้งครั้งนี้ไม่มีพรรคใดได้เสียงข้างมากในสภา จึงทำให้การจัดตั้งรัฐบาลมีความยากลำบาก แม้ว่าพรรคสหภูมิซึ่งเป็นพรรคที่คณะทหารของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์สนับสนุนอยู่จะเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล แต่เพื่อให้การการจัดตั้งรัฐบาลเป็นไปด้วยความสะดวกยิ่งขึ้น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงได้จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาเอง เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ชื่อว่า “พรรคชาติสังคม” โดยมีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าพรรค และมี พลโท ประภาส จารุเสถียร เป็นเลขาธิการพรรค
เหตุการณ์หลังจากการเลือกตั้ง
หลังจากดำเนินการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งนี้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นายพจน์ สารสิน ก็ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แม้ว่าทางคณะทหารต้องการที่จะให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่นายพจน์ สารสินก็ได้ปฏิเสธโดยอ้างว่าตนมีภาระด้านอื่นอยู่มาก และเหตุการณ์ทางการเมืองก็กลับคืนสู่ความสงบเรียบร้อยแล้ว คณะรัฐประหารจึงต้องสรรหาตัวบุคคลผู้จะมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนนายพจน์ สารสิน โดย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เองได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง
เมื่อพิจารณาตัวบุคคลสำคัญในคณะรัฐประหารซึ่งมีอาวุโสรองลงมา คณะทหารก็มีความเห็นว่าผู้ที่เหมาะสมกว่าใครในเวลานั้นคือ พลโท ถนอม กิตติขจร ซึ่งนอกจากจะเป็นบุคลสำคัญในคณะรัฐประหารแล้ว ยังดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าพรรคชาติสังคม ซึ่งได้รวบรวมสมาชิกสภาสังกัดพรรคสหภูมิและพรรคอื่น ๆ รวมทั้งที่ไม่ได้สังกัดพรรคมาเข้าร่วมเป็นสมาชิกได้ถึง 80 คน และเมื่อรวมกับเสียงสนับสนุนในหมู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่สองด้วยแล้วก็ทำให้พรรคชาติสังคมมีเสียงสนับสนุนในสภามากเพียงพอที่จะจัดตังรัฐบาลได้ โดยการจัดตั้งรัฐบาลของพลโทถนอม กิตติขจรได้รับความไว้วางใจด้วยคะแนนเสียง 162 ต่อ 40 เสียง ซึ่งการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่นี้เป็นการจัดสรรโควต้าตำแหน่งรัฐมนตรี ระหว่างคณะทหารและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคชาติสังคม และมีข้าราชประจำที่เคยร่วมเป็นรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลชั่วคราวก่อนการเลือกตั้งเข้ามาร่วมในคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ด้วย รัฐบาลของพลโทถนอม กิตติขจร อยู่ในตำแหน่งจนถึงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงได้เข้ายึดอำนาจและประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ สภาผู้แทนราษฎร และยุติบทบาทของพรรคการเมืองไทยลงโดยสิ้นเชิง
อ้างอิง
กระทรวงมหาดไทย, รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เล่ม 2, พระนคร : โรงพิมพ์กรมมหาดไทย, 2502
ฝ่ายพัฒนาการเมืองและการปกครอง สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย, อนุสารการเมือง, มีนาคม 2522
บุญทัน ดอกไธสง, การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์, การเมืองและพรรคการเมืองของไทยนับแต่ยุคแรกถึงปัจจุบัน, พระนคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2511
สุจิต บุญบงการ, การพัฒนาการเมืองของไทย : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531