ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
----
----


= เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 =
= '''1. ความเป็นมาและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' =
</div> <div>
== '''1. ความเป็นมาและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐''' ==
</div>  
</div>  
[[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]]เป็นกฎหมายแม่บทที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและรัฐ [[สิทธิเสรีภาพ|สิทธิเสรีภาพ]]และหน้าที่ของบุคคล องค์กรต่าง ๆ ของรัฐ ดังนั้น การมีรัฐธรรมนูญ หรือการปรับแก้ไขรัฐธรรมนูญในแต่ละฉบับจึงย่อมล้วนแต่มีเจตนารมณ์ของแต่ละฉบับที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวการณ์และกาลสมัยอันเหมาะสมของห้วงเวลานั้น ๆ กล่าวได้ว่าเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญจึงเป็นหลักการอันเป็นรากฐานที่มาแห่งเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560]] นั้น ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุหลัก ๆ ที่สำคัญโดยปรากฎอยู่ในคำปรารภของรัฐธรรมนูญ ดังนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; [[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]]เป็นกฎหมายแม่บทที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและรัฐ [[สิทธิเสรีภาพ|สิทธิเสรีภาพ]]และหน้าที่ของบุคคล องค์กรต่าง ๆ ของรัฐ ดังนั้น การมีรัฐธรรมนูญ หรือการปรับแก้ไขรัฐธรรมนูญในแต่ละฉบับจึงย่อมล้วนแต่มีเจตนารมณ์ของแต่ละฉบับที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวการณ์และกาลสมัยอันเหมาะสมของห้วงเวลานั้น ๆ กล่าวได้ว่าเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญจึงเป็นหลักการอันเป็นรากฐานที่มาแห่งเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560]] นั้น ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุหลัก ๆ ที่สำคัญโดยปรากฎอยู่ในคำปรารภของรัฐธรรมนูญ ดังนี้


1.1 ปัญหาการปกครองที่ขาดเสถียรภาพหรือราบรื่นเรียบร้อย อันส่งผลให้เกิดความขัดแย้งก่อวิกฤตทางรัฐธรรมนูญอันยากที่จะหาทางออกได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.1 ปัญหาการปกครองที่ขาดเสถียรภาพหรือราบรื่นเรียบร้อย อันส่งผลให้เกิดความขัดแย้งก่อวิกฤตทางรัฐธรรมนูญอันยากที่จะหาทางออกได้


1.2 ปัญหาที่ขาดความยำเกรงต่อกฎเกณฑ์การปกครองบ้านเมือง ส่งผลต่อการทุจริตฉ้อฉลหรือบิดเบือนอำนาจ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.2 ปัญหาที่ขาดความยำเกรงต่อกฎเกณฑ์การปกครองบ้านเมือง ส่งผลต่อการทุจริตฉ้อฉลหรือบิดเบือนอำนาจ


1.3 ปัญหาการขาดความตระหนัก[[สำนึกรับผิดชอบ|สำนึกรับผิดชอบ]]ต่อประเทศชาติและประชาชนส่งผลต่อการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นผล
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.3 ปัญหาการขาดความตระหนัก[[สำนึกรับผิดชอบ|สำนึกรับผิดชอบ]]ต่อประเทศชาติและประชาชนส่งผลต่อการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นผล


1.4 ปัญหาเกิดจากกฎเกณฑ์การเมืองการปกครองที่มีอยู่ขาดความเหมาะสมแก่สภาวการณ์บ้านเมืองและกาลสมัย โดยเฉพาะให้ความสำคัญแก่รูปแบบและวิธีการยิ่งกว่าหลักการพื้นฐานในระบอบประชาธิปไตย ส่งผลให้ไม่อาจนำกฎเกณฑ์ที่มีอยู่นั้นมาใช้บังคับแก่พฤติกรรมของบุคคลและสถานการณ์ในยามวิกฤติที่มีรูปแบบและวิธีการที่แตกต่างไปจากเดิมได้เป็นผล
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.4 ปัญหาเกิดจากกฎเกณฑ์การเมืองการปกครองที่มีอยู่ขาดความเหมาะสมแก่สภาวการณ์บ้านเมืองและกาลสมัย โดยเฉพาะให้ความสำคัญแก่รูปแบบและวิธีการยิ่งกว่าหลักการพื้นฐานในระบอบประชาธิปไตย ส่งผลให้ไม่อาจนำกฎเกณฑ์ที่มีอยู่นั้นมาใช้บังคับแก่พฤติกรรมของบุคคลและสถานการณ์ในยามวิกฤติที่มีรูปแบบและวิธีการที่แตกต่างไปจากเดิมได้เป็นผล


ด้วยเหตุปัญหาดังกล่าว [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557_แก้ไขเพิ่มเติม_(ฉบับที่_1)_พุทธศักราช_2558]] จึงได้กำหนดให้มี[[คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ]]ขึ้นมาทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อนำมาใช้เป็นหลักในการปกครองและเป็นแนวทางในการจัดทำ[[กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ]]และกฎหมายอื่น โดยกำหนดกลไกเพื่อจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศขึ้นใหม่ ด้วยประเด็นและหลักการที่สำคัญ ดังต่อไป
ด้วยเหตุปัญหาดังกล่าว รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) พุทธศักราช 2558&nbsp;จึงได้กำหนดให้มี[[คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ|คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ]]ขึ้นมาทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อนำมาใช้เป็นหลักในการปกครองและเป็นแนวทางในการจัดทำ[[กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ|กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ]]และกฎหมายอื่น โดยกำหนดกลไกเพื่อจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศขึ้นใหม่ ด้วยประเด็นและหลักการที่สำคัญ ดังต่อไป


(1) การปฏิรูปการศึกษาและการบังคับใช้กฎหมายและเสริมสร้างความเข้มแข็งของ[[ระบบคุณธรรม]]และจริยธรรม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (1) การปฏิรูปการศึกษาและการบังคับใช้กฎหมายและเสริมสร้างความเข้มแข็งของ[[ระบบคุณธรรม|ระบบคุณธรรม]]และจริยธรรม


(2) การจัดโครงสร้างของหน้าที่และอำนาจขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญและสร้างสัมพันธภาพให้กับองค์กรต่าง ๆ อาทิ การสร้างสัมพันธภาพที่เหมาะสมระหว่าง[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]กับ[[ฝ่ายบริหาร]] การให้สถาบันศาลและ[[องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ|องค์กรอิสระ]]อื่นซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุจริต เที่ยงธรรมและมีส่วนในการป้องกันหรือแก้ไขวิกฤตของประเทศตามความจำเป็นและความเหมาะสม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) การจัดโครงสร้างของหน้าที่และอำนาจขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญและสร้างสัมพันธภาพให้กับองค์กรต่าง ๆ อาทิ การสร้างสัมพันธภาพที่เหมาะสมระหว่าง[[ฝ่ายนิติบัญญัติ|ฝ่ายนิติบัญญัติ]]กับ[[ฝ่ายบริหาร|ฝ่ายบริหาร]] การให้สถาบันศาลและ[[องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ|องค์กรอิสระ]]อื่นซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุจริต เที่ยงธรรมและมีส่วนในการป้องกันหรือแก้ไขวิกฤตของประเทศตามความจำเป็นและความเหมาะสม


(3) การจัดให้มีการรับรอง ปกป้อง และคุ้มครอง[[สิทธิเสรีภาพ]]ของปวงชนชาวไทยให้ชัดเจนและครอบคลุมอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยยึดถือการมีสิทธิเสรีภาพเป็นหลัก การจำกัดตัดสิทธิเสรีภาพเป็นข้อยกเว้น แต่ทั้งนี้การใช้สิทธิเสรีภาพจะต้องตั้งอยู่ภายใต้หลักกฎเกณฑ์เพื่อคุ้มครองส่วนรวม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) การจัดให้มีการรับรอง ปกป้อง และคุ้มครอง[[สิทธิเสรีภาพ|สิทธิเสรีภาพ]]ของปวงชนชาวไทยให้ชัดเจนและครอบคลุมอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยยึดถือการมีสิทธิเสรีภาพเป็นหลัก การจำกัดตัดสิทธิเสรีภาพเป็นข้อยกเว้น แต่ทั้งนี้การใช้สิทธิเสรีภาพจะต้องตั้งอยู่ภายใต้หลักกฎเกณฑ์เพื่อคุ้มครองส่วนรวม


(4) การกำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชนเฉกเช่นเดียวกับการที่ประชาชนมีหน้าที่ต่อรัฐ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) การกำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชนเฉกเช่นเดียวกับการที่ประชาชนมีหน้าที่ต่อรัฐ


(5) การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ขาด[[คุณธรรม]] [[จริยธรรม]]และ[[ธรรมาภิบาล]]เข้ามามีอำนาจในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อำนาจตามอำเภอใจ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (5) การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ขาด[[คุณธรรม|คุณธรรม]] [[จริยธรรม|จริยธรรม]]และ[[ธรรมาภิบาล|ธรรมาภิบาล]]เข้ามามีอำนาจในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อำนาจตามอำเภอใจ


(6) การกำหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (6) การกำหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


(7) การกำหนดกลไกอื่น ๆ ตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้ระบุไว้อันเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศตาม[[แนวนโยบายแห่งรัฐ]]และ[[ยุทธศาสตร์ชาติ]]เพื่อให้ผู้ที่เข้ามาบริหารประเทศจะได้กำหนดนโยบายและวิธีการที่เหมาะสมต่อไป
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (7) การกำหนดกลไกอื่น ๆ ตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ได้ระบุไว้อันเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศตาม[[แนวนโยบายแห่งรัฐ|แนวนโยบายแห่งรัฐ]]และ[[ยุทธศาสตร์ชาติ|ยุทธศาสตร์ชาติ]]เพื่อให้ผู้ที่เข้ามาบริหารประเทศจะได้กำหนดนโยบายและวิธีการที่เหมาะสมต่อไป


(8) การสร้างกลไกในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็นอย่างร่วมมือร่วมใจกัน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (8) การสร้างกลไกในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็นอย่างร่วมมือร่วมใจกัน


(9) การลดเงื่อนไขความขัดแย้งโดยอาศัยความร่วมมือของประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของภาครัฐตามแนวทาง[[ประชารัฐ]]ภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะสังคมไทยเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุขบนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคีปรองดอง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (9) การลดเงื่อนไขความขัดแย้งโดยอาศัยความร่วมมือของประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของภาครัฐตามแนวทาง[[ประชารัฐ|ประชารัฐ]]ภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะสังคมไทยเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุขบนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคีปรองดอง


(10) การนำหลักความสุจริต [[หลักสิทธิมนุษยชน]]และหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าอย่างมีขั้นตอนเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (10) การนำหลักความสุจริต [[หลักสิทธิมนุษยชน|หลักสิทธิมนุษยชน]]และหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าอย่างมีขั้นตอนเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
<div>
<div>
== '''2. สาระสำคัญและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' ==
= '''2. สาระสำคัญและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' =
</div>  
</div>  
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดหลักการและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ภายใต้เจตนารมณ์อันสำคัญ คือ เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดโครงสร้างทางการเมืองการปกครองและการบริหารประเทศโดยอาศัยกลไกผ่านทางการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ การเปลี่ยนแปลงที่มาของฝ่ายบริหาร การปรับปรุงโครงสร้างของ[[รัฐสภา]]และที่มาของ[[วุฒิสภา]] เป็นต้น &nbsp;ทั้งนี้ เป็นไปเพื่อมุ่งหมายใน[[การปฏิรูปประเทศ]]ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนำไปสู่ประโยชน์สุขและความเจริญก้าวหน้าของประเทศอย่างแท้จริง โดยการปฏิรูปประเทศในแต่ละด้านจะมีการระบุให้มีคณะกรรมการพร้อมอำนาจในการดำเนินการต่าง ๆ อันนำไปสู่การปฏิรูปประเทศอย่างจริงจัง กล่าวได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ครั้งแรกของรัฐธรรมนูญที่มีการบัญญัติไว้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้การปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ นั้นเป็นที่ยอมรับในทางสากล สอดคล้องกับประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย รวมถึงเพื่อแก้ไขปัญหาของประเทศ สร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นภายในประเทศโดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก จึงกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นี้ มีบทบัญญัติ หลักการหลายส่วนที่แตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนขององค์อำนาจหลัก อันได้แก่ อำนาจฝ่ายบริหาร อำนาจฝ่ายนิติบัญญัติและอำนาจ[[ฝ่ายตุลาการ]] รวมทั้งองค์กรอิสระ นอกจากนี้ได้มีการเพิ่มเติมในส่วนของหมวดที่ 5 [[หน้าที่ของรัฐ]] หมวดที่ 16 การปฏิรูปประเทศ อันไม่เคยปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับใดมาก่อน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดหลักการและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ภายใต้เจตนารมณ์อันสำคัญ คือ เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดโครงสร้างทางการเมืองการปกครองและการบริหารประเทศโดยอาศัยกลไกผ่านทางการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ การเปลี่ยนแปลงที่มาของฝ่ายบริหาร การปรับปรุงโครงสร้างของ[[รัฐสภา|รัฐสภา]]และที่มาของ[[วุฒิสภา|วุฒิสภา]] เป็นต้น &nbsp;ทั้งนี้ เป็นไปเพื่อมุ่งหมายใน[[การปฏิรูปประเทศ|การปฏิรูปประเทศ]]ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนำไปสู่ประโยชน์สุขและความเจริญก้าวหน้าของประเทศอย่างแท้จริง โดยการปฏิรูปประเทศในแต่ละด้านจะมีการระบุให้มีคณะกรรมการพร้อมอำนาจในการดำเนินการต่าง ๆ อันนำไปสู่การปฏิรูปประเทศอย่างจริงจัง กล่าวได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ครั้งแรกของรัฐธรรมนูญที่มีการบัญญัติไว้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้การปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ นั้นเป็นที่ยอมรับในทางสากล สอดคล้องกับประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย รวมถึงเพื่อแก้ไขปัญหาของประเทศ สร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นภายในประเทศโดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก จึงกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นี้ มีบทบัญญัติ หลักการหลายส่วนที่แตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนขององค์อำนาจหลัก อันได้แก่ อำนาจฝ่ายบริหาร อำนาจฝ่ายนิติบัญญัติและอำนาจ[[ฝ่ายตุลาการ|ฝ่ายตุลาการ]] รวมทั้งองค์กรอิสระ นอกจากนี้ได้มีการเพิ่มเติมในส่วนของหมวดที่ 5 [[หน้าที่ของรัฐ|หน้าที่ของรัฐ]] หมวดที่ 16 การปฏิรูปประเทศ อันไม่เคยปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับใดมาก่อน


สำหรับในบทความดังกล่าวนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะเจตนารมณ์ที่มาของส่วนที่มีเพิ่มเติมขึ้นอันแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ คือ หมวดที่ 5 หน้าที่ของรัฐ และหมวดที่ 6 การปฏิรูปประเทศเท่านั้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับในบทความดังกล่าวนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะเจตนารมณ์ที่มาของส่วนที่มีเพิ่มเติมขึ้นอันแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ คือ หมวดที่ 5 หน้าที่ของรัฐ และหมวดที่ 6 การปฏิรูปประเทศเท่านั้น


'''หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ''' หมวดนี้ได้บัญญัติขึ้นมาใหม่ในรัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 ด้วยเหตุผลที่ว่า รัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ จะกำหนดในลักษณะที่เป็นนามธรรมอันไม่เกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเพื่อเป็นหลักประกันให้แก่ประชาชนว่า รัฐต้องดำเนินการตามหน้าที่ที่ได้กำหนดไว้อย่างเต็มกำลังความสามารถทางการเงินการคลังของรัฐ เพื่อให้สิทธิของประชาชนเกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง เป็นที่น่าสังเกตว่าในหมวดนี้ จะมีการบัญญัติเป็นถ้อยคำที่กำหนดให้ “รัฐต้อง...” อันเป็นนัยสำคัญว่า เป็นการบังคับให้รัฐต้องปฏิบัติ หากรัฐไม่ปฏิบัติจะทำให้ประชาชนใช้สิทธิที่จะเร่งรัดให้รัฐดำเนินการ หรือใช้สิทธิฟ้องร้องให้หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติได้ สำหรับหน้าที่ของรัฐที่สำคัญ เช่น
'''หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ''' หมวดนี้ได้บัญญัติขึ้นมาใหม่ในรัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 ด้วยเหตุผลที่ว่า รัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ จะกำหนดในลักษณะที่เป็นนามธรรมอันไม่เกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเพื่อเป็นหลักประกันให้แก่ประชาชนว่า รัฐต้องดำเนินการตามหน้าที่ที่ได้กำหนดไว้อย่างเต็มกำลังความสามารถทางการเงินการคลังของรัฐ เพื่อให้สิทธิของประชาชนเกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง เป็นที่น่าสังเกตว่าในหมวดนี้ จะมีการบัญญัติเป็นถ้อยคำที่กำหนดให้ “รัฐต้อง...” อันเป็นนัยสำคัญว่า เป็นการบังคับให้รัฐต้องปฏิบัติ หากรัฐไม่ปฏิบัติจะทำให้ประชาชนใช้สิทธิที่จะเร่งรัดให้รัฐดำเนินการ หรือใช้สิทธิฟ้องร้องให้หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติได้ สำหรับหน้าที่ของรัฐที่สำคัญ เช่น


(1) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ปกป้องรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช และ[[อำนาจอธิปไตย|อธิปไตย]]ของรัฐ โดยจัดให้มีการทหาร การทูต การข่าวกรองที่มีประสิทธิภาพเพื่อรักษาประโยชน์และมั่นคงแห่งชาติ[[#_ftn1|[1]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (1) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ปกป้องรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช และ[[อำนาจอธิปไตย|อธิปไตย]]ของรัฐ โดยจัดให้มีการทหาร การทูต การข่าวกรองที่มีประสิทธิภาพเพื่อรักษาประโยชน์และมั่นคงแห่งชาติ[[#_ftn1|[1]]]


(2) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ดำเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด[[#_ftn2|[2]]] ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการปฏิรูปกฎหมายมีผลต่อการนำไปใช้อย่างจริงจรังและเข้มงวด
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ดำเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด[[#_ftn2|[2]]] ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการปฏิรูปกฎหมายมีผลต่อการนำไปใช้อย่างจริงจรังและเข้มงวด


(3) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ให้บริการและส่งเสริมงานด้านสาธารณสุขที่มีคุณภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี มีการควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาการแพทย์แผนไทย[[#_ftn3|[3]]] เจตนารมณ์ที่กำหนดไว้เช่นนี้ เพื่อต้องการให้สอดคล้องกับสิทธิของบุคคลที่จะได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างเสมอภาคและได้มาตรฐาน เป็นผลให้ประชาชนมีสุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์อันเป็นปัจจัยหนึ่งจะก่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน จึงเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องสร้างหลักประกันด้านการบริการทางสุขภาพอย่างทั่วถึง นอกจากนี้รัฐธรรมนูญได้กำหนดเพิ่มเติมครอบคลุมถึงการพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทยอันเป็นการสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สุงสุดและมีความยั่งยืนต่อไป
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ให้บริการและส่งเสริมงานด้านสาธารณสุขที่มีคุณภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี มีการควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาการแพทย์แผนไทย[[#_ftn3|[3]]] เจตนารมณ์ที่กำหนดไว้เช่นนี้ เพื่อต้องการให้สอดคล้องกับสิทธิของบุคคลที่จะได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างเสมอภาคและได้มาตรฐาน เป็นผลให้ประชาชนมีสุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์อันเป็นปัจจัยหนึ่งจะก่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน จึงเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องสร้างหลักประกันด้านการบริการทางสุขภาพอย่างทั่วถึง นอกจากนี้รัฐธรรมนูญได้กำหนดเพิ่มเติมครอบคลุมถึงการพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทยอันเป็นการสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สุงสุดและมีความยั่งยืนต่อไป


(4) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่จัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงโดยยึดถือประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นหลัก[[#_ftn4|[4]]] เดิมหลักการจัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ แต่ในฉบับ ปี 2560 ได้ดำเนินการแก้ไขให้มีความชัดเจนและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในกรณีที่รัฐให้เอกชนดำเนินการทางธุรกิจจะมีการควบคุมดูแลมิให้เอกชนมีการเรียกเก็บค่าบริการที่สูงเกินสมควรจนก่อเกิดเป็นภาระแก่ประชาชน เพราะจะเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและการพัฒนาประเทศในระยะยาวได้ ดังนั้น ในส่วนนี้จึงได้มีการกำหนดหลักการคุ้มครองการนำทรัพย์สินของรัฐไปหาประโยชน์อันอาจส่งผลให้รัฐเกิดความเสียหายได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่จัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงโดยยึดถือประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นหลัก[[#_ftn4|[4]]] เดิมหลักการจัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ แต่ในฉบับ ปี 2560 ได้ดำเนินการแก้ไขให้มีความชัดเจนและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในกรณีที่รัฐให้เอกชนดำเนินการทางธุรกิจจะมีการควบคุมดูแลมิให้เอกชนมีการเรียกเก็บค่าบริการที่สูงเกินสมควรจนก่อเกิดเป็นภาระแก่ประชาชน เพราะจะเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและการพัฒนาประเทศในระยะยาวได้ ดังนั้น ในส่วนนี้จึงได้มีการกำหนดหลักการคุ้มครองการนำทรัพย์สินของรัฐไปหาประโยชน์อันอาจส่งผลให้รัฐเกิดความเสียหายได้


(5) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องดูแล อนุรักษ์ ฟื้นฟู คุ้มครอง ศิลปะ วัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด[[#_ftn5|[5]]] จะเห็นได้ว่าในส่วนนี้มีการกำหนดเพิ่มเติมอันแตกต่างจากฉบับก่อน ๆ โดยกำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการรับรองสิทธิและมีการส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน [[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย ทั้งรัฐยังจะต้องจัดให้มีพื้นที่สาธารณะสำหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมประเพณีอันดีงามเพื่อให้ประชาชน ชุมชนและหน่วยงานของรัฐจะได้มีสถานที่ในการร่วมกันพัฒนาและรักษาก่อเกิดเป็นความยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้การดำเนินการให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (5) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องดูแล อนุรักษ์ ฟื้นฟู คุ้มครอง ศิลปะ วัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด[[#_ftn5|[5]]] จะเห็นได้ว่าในส่วนนี้มีการกำหนดเพิ่มเติมอันแตกต่างจากฉบับก่อน ๆ โดยกำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการรับรองสิทธิและมีการส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน [[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย ทั้งรัฐยังจะต้องจัดให้มีพื้นที่สาธารณะสำหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมประเพณีอันดีงามเพื่อให้ประชาชน ชุมชนและหน่วยงานของรัฐจะได้มีสถานที่ในการร่วมกันพัฒนาและรักษาก่อเกิดเป็นความยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้การดำเนินการให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ


(6) การดำเนินการของรัฐหรือการอนุญาตให้มีการดำเนินการใด ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต วิถีชีวิตของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรง รัฐต้องมีการศึกษาถึงผลกระทบ ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยรัฐต้องมีหน้าที่ในการสร้างประกันว่า หากจะดำเนินการใด ๆ ต้องให้สิทธิแก่ประชาชน ชุมชนมีโอกาสรับทราบถึงข้อมูล คำชี้แจงและเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการดำเนินการหรืออนุญาต รวมทั้งรัฐจะต้องมีหน้าที่ในการใช้ความระมัดระวังเพื่อไม่ให้การดำเนินการใด ๆ ส่งผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ และหากมีความจำเป็นต้องดำเนินการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จะต้องกระทำให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด ทั้งจะต้องมีหน้าที่ในการเยียวยาความเดือนร้อนหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า[[#_ftn6|[6]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (6) การดำเนินการของรัฐหรือการอนุญาตให้มีการดำเนินการใด ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต วิถีชีวิตของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรง รัฐต้องมีการศึกษาถึงผลกระทบ ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยรัฐต้องมีหน้าที่ในการสร้างประกันว่า หากจะดำเนินการใด ๆ ต้องให้สิทธิแก่ประชาชน ชุมชนมีโอกาสรับทราบถึงข้อมูล คำชี้แจงและเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการดำเนินการหรืออนุญาต รวมทั้งรัฐจะต้องมีหน้าที่ในการใช้ความระมัดระวังเพื่อไม่ให้การดำเนินการใด ๆ ส่งผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ และหากมีความจำเป็นต้องดำเนินการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จะต้องกระทำให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด ทั้งจะต้องมีหน้าที่ในการเยียวยาความเดือนร้อนหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า[[#_ftn6|[6]]]


(7) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะต่อประชาชน แต่ต้องไม่ใช่ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐหรือเป็นความลับของทางราชการ และต้องจัดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารได้อย่างสะดวก[[#_ftn7|[7]]] ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติราชการมี[[ความโปร่งใส]] ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่มุ่งเน้น[[การมีส่วนร่วมของประชาชน]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (7) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะต่อประชาชน แต่ต้องไม่ใช่ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐหรือเป็นความลับของทางราชการ และต้องจัดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารได้อย่างสะดวก[[#_ftn7|[7]]] ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติราชการมี[[ความโปร่งใส|ความโปร่งใส]] ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่มุ่งเน้น[[การมีส่วนร่วมของประชาชน|การมีส่วนร่วมของประชาชน]]


(8) กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการรักษาไว้ซึ่งคลื่นความถี่และสร้างกลไกในการกำกับดูแล ในบทบัญญัติของมาตรานี้ได้มีการกำหนดเพิ่มเติมขึ้นเป็นครั้งแรกในเรื่องของสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรของดาวเทียมว่าให้เป็นสมบัติของชาติ[[#_ftn8|[8]]] เพราะบุคคลใด ประเทศใดจะกล่าวอ้างถึงความเป็นเจ้าของไม่ได้ หากแต่เป็นสมบัติของชาติในการที่จะใช้ร่วมกันและเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติ รัฐจึงต้องมีหน้าที่ในการดูแลรักษาไว้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (8) กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการรักษาไว้ซึ่งคลื่นความถี่และสร้างกลไกในการกำกับดูแล ในบทบัญญัติของมาตรานี้ได้มีการกำหนดเพิ่มเติมขึ้นเป็นครั้งแรกในเรื่องของสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรของดาวเทียมว่าให้เป็นสมบัติของชาติ[[#_ftn8|[8]]] เพราะบุคคลใด ประเทศใดจะกล่าวอ้างถึงความเป็นเจ้าของไม่ได้ หากแต่เป็นสมบัติของชาติในการที่จะใช้ร่วมกันและเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติ รัฐจึงต้องมีหน้าที่ในการดูแลรักษาไว้


(9) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค โดยขยายขอบเขตของการให้ความคุ้มครองไปในด้านความปลอดภัย ด้านความเป็นธรรมในการทำสัญญาหรือด้านอื่นใดด้วย[[#_ftn9|[9]]] ทั้งนี้มุ่งเน้นประโยชน์ต่อผู้บริโภคเป็นสำคัญเพื่อมิให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (9) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค โดยขยายขอบเขตของการให้ความคุ้มครองไปในด้านความปลอดภัย ด้านความเป็นธรรมในการทำสัญญาหรือด้านอื่นใดด้วย[[#_ftn9|[9]]] ทั้งนี้มุ่งเน้นประโยชน์ต่อผู้บริโภคเป็นสำคัญเพื่อมิให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ


(10) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการรักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดและจัดระเบียบภาษีให้เกิดความเป็นธรรม รวมถึงกำหนดกรอบของ[[กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง]][[#_ftn10|[10]]] สิ่งที่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ มีการกำหนดครอบคลุมไปถึงกรอบการดำเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐ วินัยทางการคลังด้านรายได้และรายจ่ายทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ ทั้งนี้เพื่อให้การดูแลการเงินการคลังของรัฐเกิดความมั่นคงและให้ปลอดต่อความเสี่ยงที่จะถูกนำไปใช้จ่ายในทางที่ไม่เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนจนสร้างให้เกิดหนี้ของประเทศได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (10) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการรักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดและจัดระเบียบภาษีให้เกิดความเป็นธรรม รวมถึงกำหนดกรอบของ[[กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง|กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง]][[#_ftn10|[10]]] สิ่งที่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ มีการกำหนดครอบคลุมไปถึงกรอบการดำเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐ วินัยทางการคลังด้านรายได้และรายจ่ายทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ ทั้งนี้เพื่อให้การดูแลการเงินการคลังของรัฐเกิดความมั่นคงและให้ปลอดต่อความเสี่ยงที่จะถูกนำไปใช้จ่ายในทางที่ไม่เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนจนสร้างให้เกิดหนี้ของประเทศได้


(11) กำหนดหน้าที่ให้รัฐมีการสนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ[[#_ftn11|[11]]] เพื่อประชาชนเกิดความตระหนักถึงภัยอันตรายอันเกิดจากการทุจริต ดังนั้น การจะให้ปัญหาการทุจริตหมดไปนั้นต้องเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของประชาชนในการต่อต้านและชี้เบาะแส
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (11) กำหนดหน้าที่ให้รัฐมีการสนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ[[#_ftn11|[11]]] เพื่อประชาชนเกิดความตระหนักถึงภัยอันตรายอันเกิดจากการทุจริต ดังนั้น การจะให้ปัญหาการทุจริตหมดไปนั้นต้องเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของประชาชนในการต่อต้านและชี้เบาะแส


'''หมวดที่ 6 การปฏิรูปประเทศ '''บทบัญญัติในหมวดนี้เกิดขึ้นเพื่อเป็นกลไกอันสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ความยั่งยืน ความมั่นคงและมั่งคั่ง และเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องมีการบัญญัติหลักการและกรอบเวลาในการปฏิรูปไว้อย่างชัดเจน รวมทั้งมีบทบังคับเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ได้กำหนดไว้ โดยเป้าหมายอันสำคัญ 3 ประการ ได้แก่[[#_ftn12|[12]]]
'''หมวดที่ 6 การปฏิรูปประเทศ '''บทบัญญัติในหมวดนี้เกิดขึ้นเพื่อเป็นกลไกอันสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ความยั่งยืน ความมั่นคงและมั่งคั่ง และเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องมีการบัญญัติหลักการและกรอบเวลาในการปฏิรูปไว้อย่างชัดเจน รวมทั้งมีบทบังคับเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ได้กำหนดไว้ โดยเป้าหมายอันสำคัญ 3 ประการ ได้แก่[[#_ftn12|[12]]]


1) เพื่อให้ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) เพื่อให้ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ


2) เพื่อให้สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรมและมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) เพื่อให้สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรมและมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ


3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


&nbsp;ในหมวดดังกล่าวนี้บัญญัติไว้ 5 มาตราด้วยกันโดยมีการเน้นปฏิรูปใน 7 ด้านที่สำคัญ โดยสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้[[#_ftn13|[13]]]
&nbsp;ในหมวดดังกล่าวนี้บัญญัติไว้ 5 มาตราด้วยกันโดยมีการเน้นปฏิรูปใน 7 ด้านที่สำคัญ โดยสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้[[#_ftn13|[13]]]


'''1. ด้านการเมือง''' จะเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักเพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง ใช้สิทธิใน[[การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ]] รวมทั้งผลักดันให้พรรคการเมืองเป็น[[สถาบันการเมืองของ]]ประชาชนโดย[[พรรคการเมือง]]ที่เป็นตัวแทนของประชาชนจะต้องดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างเปิดเผย สามารถตรวจสอบได้ การปฏิบัติหน้าที่ของผู้แทนของประชาชนต้องเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดหลักความรับผิดชอบต่อประชาชนและให้มีกลไกแก้ไขปัญหา[[ภาพสะท้อนความขัดแย้งทางการเมืองเกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ_พ.ศ._2550...|ความขัดแย้งทางการเมือง]]โดย[[สันติวิธี]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''1. ด้านการเมือง''' จะเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักเพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง ใช้สิทธิใน[[การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ|การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ]] รวมทั้งผลักดันให้พรรคการเมืองเป็น[[สถาบันการเมืองของ|สถาบันการเมืองของ]]ประชาชนโดย[[พรรคการเมือง|พรรคการเมือง]]ที่เป็นตัวแทนของประชาชนจะต้องดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างเปิดเผย สามารถตรวจสอบได้ การปฏิบัติหน้าที่ของผู้แทนของประชาชนต้องเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดหลักความรับผิดชอบต่อประชาชนและให้มีกลไกแก้ไขปัญหา[[ภาพสะท้อนความขัดแย้งทางการเมืองเกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ_พ.ศ._2550...|ความขัดแย้งทางการเมือง]]โดย[[สันติวิธี|สันติวิธี]]


'''2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน '''กำหนดให้มีการปฏิรูปด้าน[[การบริหารราชการแผ่นดิน]]โดยให้มีการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดทำบริการสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงาน ให้มีการดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนกำลังคนภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐและให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมทั้งกลไกในการป้องกันการทุจริต ทั้งนี้เพื่อให้ระบบบริหารราชการแผ่นดินเกิดประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ[[หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี]]อย่างแท้จิรง ทั้งจะทำให้ระบบราชการมีความเข็มแข็ง ปราศจากการแทรกแซงของฝ่ายการเมือง สร้างเสริม[[ความสมดุลระหว่างข้าราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการฝ่ายประจำ]]ให้ดำเนินการไปอย่างเหมาะสม ทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถได้เข้าสู่ระบบราชการอย่างแท้จริงอันเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินที่นำไปสู่การทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน '''กำหนดให้มีการปฏิรูปด้าน[[การบริหารราชการแผ่นดิน|การบริหารราชการแผ่นดิน]]โดยให้มีการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดทำบริการสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงาน ให้มีการดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนกำลังคนภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐและให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมทั้งกลไกในการป้องกันการทุจริต ทั้งนี้เพื่อให้ระบบบริหารราชการแผ่นดินเกิดประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ[[หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี|หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี]]อย่างแท้จิรง ทั้งจะทำให้ระบบราชการมีความเข็มแข็ง ปราศจากการแทรกแซงของฝ่ายการเมือง สร้างเสริม[[ความสมดุลระหว่างข้าราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการฝ่ายประจำ|ความสมดุลระหว่างข้าราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการฝ่ายประจำ]]ให้ดำเนินการไปอย่างเหมาะสม ทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถได้เข้าสู่ระบบราชการอย่างแท้จริงอันเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินที่นำไปสู่การทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้


'''3. ด้านกฎหมาย''' กำหนดให้มีการดำเนินการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายโดยมีกลไกในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่มีอยู่ในปัจจุบันให้สอดคล้องตามหลักการของ[[มาตรา_77]] และหลักสากล เพื่อไม่ให้สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความจำเป็น การดำเนินการการปฏิรูปครอบคลุมไปถึงระบบการเรียนการสอนวิชากฎหมายเพื่อจะได้พัฒนากฎหมายและผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายให้มีความรอบรู้ ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมของนักกฎหมาย ทั้งนี้ การพัฒนาย่อมต้องอาศัยเทคโนโลยีเพื่อเข้ามาพัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงกฎหมายได้อย่างสะดวก และมีกลไกที่สำคัญในการช่วยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอร่างกฎหมายเพื่อให้เกิดประโยชน์อันแท้จริงแก่ประชาชน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''3. ด้านกฎหมาย''' กำหนดให้มีการดำเนินการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายโดยมีกลไกในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่มีอยู่ในปัจจุบันให้สอดคล้องตามหลักการของ[[มาตรา_77|มาตรา_77]] และหลักสากล เพื่อไม่ให้สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความจำเป็น การดำเนินการการปฏิรูปครอบคลุมไปถึงระบบการเรียนการสอนวิชากฎหมายเพื่อจะได้พัฒนากฎหมายและผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายให้มีความรอบรู้ ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมของนักกฎหมาย ทั้งนี้ การพัฒนาย่อมต้องอาศัยเทคโนโลยีเพื่อเข้ามาพัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงกฎหมายได้อย่างสะดวก และมีกลไกที่สำคัญในการช่วยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอร่างกฎหมายเพื่อให้เกิดประโยชน์อันแท้จริงแก่ประชาชน


'''4. ด้านกระบวนการยุติธรรม''' กำหนดให้มีการปฏิรูปด้าน[[กระบวนการยุติธรรม]]โดยเฉพาะระบบการสอบสวนของพนักงานสอบสวน ทั้งเน้นให้มีการกำหนดระยะเวลาการดำเนินงานในทุกขั้นตอน ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับหน้าที่ อำนาจและภารกิจของตำรวจให้เกิดความเหมาะสมและปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตำรวจให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ปรับปรุงระบบการสอบสวนคดีอาญาโดยให้มีการตรวจสอยและถ่วงดุลระหว่างพนักงานสอบสวนกับพนักงานอัยการอย่างเหมาะสม ให้มีการเสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมให้ชัดเจน สะดวก รวดเร็วและเกิดการใช้บังคับกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในอันที่จะได้รับความความยุติธรรมอย่างแท้จริง ทั้งมีกลไกช่วยเหลือประชาชนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนสร้างกลไกเพื่อให้มีการพัฒนากฎหมายอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคม ตลอดจนกำหนดให้มีหน่วยงานบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์มากกกว่าหนึ่งหน่วยงานที่มีอิสระจากกันเพื่อเป็นการลดการใช้ดุลพินิจในการสอบสวนและสร้างความเชื่อมั่นอันเป็นหลักประกันให้สังคมและประชาชนได้รับความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''4. ด้านกระบวนการยุติธรรม''' กำหนดให้มีการปฏิรูปด้าน[[กระบวนการยุติธรรม|กระบวนการยุติธรรม]]โดยเฉพาะระบบการสอบสวนของพนักงานสอบสวน ทั้งเน้นให้มีการกำหนดระยะเวลาการดำเนินงานในทุกขั้นตอน ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับหน้าที่ อำนาจและภารกิจของตำรวจให้เกิดความเหมาะสมและปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตำรวจให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ปรับปรุงระบบการสอบสวนคดีอาญาโดยให้มีการตรวจสอยและถ่วงดุลระหว่างพนักงานสอบสวนกับพนักงานอัยการอย่างเหมาะสม ให้มีการเสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมให้ชัดเจน สะดวก รวดเร็วและเกิดการใช้บังคับกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในอันที่จะได้รับความความยุติธรรมอย่างแท้จริง ทั้งมีกลไกช่วยเหลือประชาชนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนสร้างกลไกเพื่อให้มีการพัฒนากฎหมายอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคม ตลอดจนกำหนดให้มีหน่วยงานบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์มากกกว่าหนึ่งหน่วยงานที่มีอิสระจากกันเพื่อเป็นการลดการใช้ดุลพินิจในการสอบสวนและสร้างความเชื่อมั่นอันเป็นหลักประกันให้สังคมและประชาชนได้รับความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น


'''5. ด้านการศึกษา''' กำหนดให้การดำเนิน[[การปฏิรูปด้านการศึกษา]]โดยเริ่มตั้งแต่เด็กเล็กที่จะต้องได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จัดให้มี[[การตรากฎหมาย]]เพื่อจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของครูให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ รวมทั้งผลักดันให้มีกลไกและระบบการผลิตที่คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาการชีพและให้มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''5. ด้านการศึกษา''' กำหนดให้การดำเนิน[[การปฏิรูปด้านการศึกษา|การปฏิรูปด้านการศึกษา]]โดยเริ่มตั้งแต่เด็กเล็กที่จะต้องได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จัดให้มี[[การตรากฎหมาย|การตรากฎหมาย]]เพื่อจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของครูให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ รวมทั้งผลักดันให้มีกลไกและระบบการผลิตที่คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาการชีพและให้มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด


'''6. ด้านเศรษฐกิจ''' แนวคิดในเรื่องการปฏิรูปด้านเศรษฐกิจเพื่อเป็นการสร้างหลักประกันให้ประชาชนไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับปัจจัยสี่ในราคาที่สูงเกินความจำเป็นจนเกิดเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตในสังคม ในการปฏิรูปจึงต้องดำเนินการขจัดอุปสรรคและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้สร้างกลไกเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการนำความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำอันทำให้ผู้ประกอบการแต่ละขนาดสามารถเกิดการแข่งขันได้อย่างเหมาะสม เป็นธรรม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''6. ด้านเศรษฐกิจ''' แนวคิดในเรื่องการปฏิรูปด้านเศรษฐกิจเพื่อเป็นการสร้างหลักประกันให้ประชาชนไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับปัจจัยสี่ในราคาที่สูงเกินความจำเป็นจนเกิดเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตในสังคม ในการปฏิรูปจึงต้องดำเนินการขจัดอุปสรรคและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้สร้างกลไกเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการนำความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำอันทำให้ผู้ประกอบการแต่ละขนาดสามารถเกิดการแข่งขันได้อย่างเหมาะสม เป็นธรรม


'''7. ด้านอื่น ๆ''' การปฏิรูปในด้านอื่น ๆ นั้นเป็นไปเพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน มั่นคงและมั่นคง อาทิ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''7. ด้านอื่น ๆ''' การปฏิรูปในด้านอื่น ๆ นั้นเป็นไปเพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน มั่นคงและมั่นคง อาทิ


(1) การปฏิรูประบบบริหารราชการจัดการทรัพยากรน้ำที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและยั่งยืน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (1) การปฏิรูประบบบริหารราชการจัดการทรัพยากรน้ำที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและยั่งยืน


(2) การปฏิรูปที่ดินเพื่อให้เกิดการกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) การปฏิรูปที่ดินเพื่อให้เกิดการกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม


(3) การจัดการและกำจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพด้านสาธารณสุข
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) การจัดการและกำจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพด้านสาธารณสุข


(4) การปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จากการบริหาร
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) การปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จากการบริหารจัดการและการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน


จัดการและการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (5) จัดให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม


(5) จัดให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับในการดำเนินการปฏิรูปประเทศ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้รัฐบาลจัดทำกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศโดยกฎหมายดังกล่าวนั้นต้องประกอบด้วย 1) วิธีการจัดทำแผน 2) การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) ขั้นตอนในการดำเนินการปฏิรูปประเทศ 4) การวัดผลการดำเนินการ และ 5) ระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน โดยกฎหมายนี้ต้องประกาศใช้บังคับภายใน 120 วันนับแต่รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้และต้องดำเนินการปฏิรูปในแต่ละด้านภายใน 1 ปี นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญนี้ประกาศใช้โดยจะต้องเกิดผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุภายใน 5 ปี[[#_ftn14|[14]]]
 
สำหรับในการดำเนินการปฏิรูปประเทศ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้รัฐบาลจัดทำกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศโดยกฎหมายดังกล่าวนั้นต้องประกอบด้วย 1) วิธีการจัดทำแผน 2) การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) ขั้นตอนในการดำเนินการปฏิรูปประเทศ 4) การวัดผลการดำเนินการ และ 5) ระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน โดยกฎหมายนี้ต้องประกาศใช้บังคับภายใน 120 วันนับแต่รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้และต้องดำเนินการปฏิรูปในแต่ละด้านภายใน 1 ปี นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญนี้ประกาศใช้โดยจะต้องเกิดผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุภายใน 5 ปี[[#_ftn14|[14]]]
<div>
<div>
== '''3. บทสรุป''' ==
= '''3. บทสรุป''' =
</div>  
</div>  
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำเนิดขึ้นเพราะความไม่สงบในกิจการของบ้านเมือง ดังนี้ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นแทนฉบับเก่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญจึงประสงค์เพื่อที่จะให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดเพื่อใช้ในการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยในบริบทที่สอดคล้องและเหมาะสมกับคนไทยเป็นอย่างยิ่ง ด้วยการอุดช่องว่างและมีการปฏิรูปประเทศใน ด้านหลัก ได้แก่ ด้านการเมือง&nbsp; ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านกฎหมาย ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านอื่น ๆ ให้เกิดผล นอกจากนี้ สิ่งที่น่าจับตามองในรัฐธรรมนูญนี้ คือ การกำหนดบทเฉพาะกาลขึ้นเพื่อกำหนดเงื่อนไขให้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญสามารถเกิดผลบังคับได้ตามเจตนารมณ์ของการจัดทำ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำเนิดขึ้นเพราะความไม่สงบในกิจการของบ้านเมือง ดังนี้ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นแทนฉบับเก่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญจึงประสงค์เพื่อที่จะให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดเพื่อใช้ในการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยในบริบทที่สอดคล้องและเหมาะสมกับคนไทยเป็นอย่างยิ่ง ด้วยการอุดช่องว่างและมีการปฏิรูปประเทศใน 7&nbsp;ด้านหลัก ได้แก่ ด้านการเมือง&nbsp; ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านกฎหมาย ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านอื่น ๆ ให้เกิดผล นอกจากนี้ สิ่งที่น่าจับตามองในรัฐธรรมนูญนี้ คือ การกำหนดบทเฉพาะกาลขึ้นเพื่อกำหนดเงื่อนไขให้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญสามารถเกิดผลบังคับได้ตามเจตนารมณ์ของการจัดทำ
<div>
<div>
== '''4. บรรณานุกรม''' ==
= '''4. บรรณานุกรม''' =
</div>  
</div>  
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.
บรรทัดที่ 123: บรรทัดที่ 119:


วิทยา ศรีสมานุวัตร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา.
วิทยา ศรีสมานุวัตร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา.
<div>อ้างอิง  
<div>'''อ้างอิง'''
----
----
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
บรรทัดที่ 153: บรรทัดที่ 149:
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref14|[14]]] มาตรา 259 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
[[#_ftnref14|[14]]] มาตรา 259 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
</div> <div id="ftn14">
</div> </div>  
&nbsp;
&nbsp;
</div> </div>
 
[[Category:รัฐธรรมนูญ]]
[[Category:รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560|จ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:57, 23 มีนาคม 2563

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายภัทระ คำพิทักษ์


1. ความเป็นมาและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

          รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายแม่บทที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและรัฐ สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของบุคคล องค์กรต่าง ๆ ของรัฐ ดังนั้น การมีรัฐธรรมนูญ หรือการปรับแก้ไขรัฐธรรมนูญในแต่ละฉบับจึงย่อมล้วนแต่มีเจตนารมณ์ของแต่ละฉบับที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวการณ์และกาลสมัยอันเหมาะสมของห้วงเวลานั้น ๆ กล่าวได้ว่าเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญจึงเป็นหลักการอันเป็นรากฐานที่มาแห่งเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560 นั้น ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุหลัก ๆ ที่สำคัญโดยปรากฎอยู่ในคำปรารภของรัฐธรรมนูญ ดังนี้

          1.1 ปัญหาการปกครองที่ขาดเสถียรภาพหรือราบรื่นเรียบร้อย อันส่งผลให้เกิดความขัดแย้งก่อวิกฤตทางรัฐธรรมนูญอันยากที่จะหาทางออกได้

          1.2 ปัญหาที่ขาดความยำเกรงต่อกฎเกณฑ์การปกครองบ้านเมือง ส่งผลต่อการทุจริตฉ้อฉลหรือบิดเบือนอำนาจ

          1.3 ปัญหาการขาดความตระหนักสำนึกรับผิดชอบต่อประเทศชาติและประชาชนส่งผลต่อการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นผล

          1.4 ปัญหาเกิดจากกฎเกณฑ์การเมืองการปกครองที่มีอยู่ขาดความเหมาะสมแก่สภาวการณ์บ้านเมืองและกาลสมัย โดยเฉพาะให้ความสำคัญแก่รูปแบบและวิธีการยิ่งกว่าหลักการพื้นฐานในระบอบประชาธิปไตย ส่งผลให้ไม่อาจนำกฎเกณฑ์ที่มีอยู่นั้นมาใช้บังคับแก่พฤติกรรมของบุคคลและสถานการณ์ในยามวิกฤติที่มีรูปแบบและวิธีการที่แตกต่างไปจากเดิมได้เป็นผล

ด้วยเหตุปัญหาดังกล่าว รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่           1) พุทธศักราช 2558 จึงได้กำหนดให้มีคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อนำมาใช้เป็นหลักในการปกครองและเป็นแนวทางในการจัดทำกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่น โดยกำหนดกลไกเพื่อจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศขึ้นใหม่ ด้วยประเด็นและหลักการที่สำคัญ ดังต่อไป

                   (1) การปฏิรูปการศึกษาและการบังคับใช้กฎหมายและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบคุณธรรมและจริยธรรม

                   (2) การจัดโครงสร้างของหน้าที่และอำนาจขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญและสร้างสัมพันธภาพให้กับองค์กรต่าง ๆ อาทิ การสร้างสัมพันธภาพที่เหมาะสมระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร การให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอื่นซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุจริต เที่ยงธรรมและมีส่วนในการป้องกันหรือแก้ไขวิกฤตของประเทศตามความจำเป็นและความเหมาะสม

                    (3) การจัดให้มีการรับรอง ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทยให้ชัดเจนและครอบคลุมอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยยึดถือการมีสิทธิเสรีภาพเป็นหลัก การจำกัดตัดสิทธิเสรีภาพเป็นข้อยกเว้น แต่ทั้งนี้การใช้สิทธิเสรีภาพจะต้องตั้งอยู่ภายใต้หลักกฎเกณฑ์เพื่อคุ้มครองส่วนรวม

                    (4) การกำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชนเฉกเช่นเดียวกับการที่ประชาชนมีหน้าที่ต่อรัฐ

                    (5) การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ขาดคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลเข้ามามีอำนาจในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อำนาจตามอำเภอใจ

                    (6) การกำหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

                    (7) การกำหนดกลไกอื่น ๆ ตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ได้ระบุไว้อันเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศตามแนวนโยบายแห่งรัฐและยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้ผู้ที่เข้ามาบริหารประเทศจะได้กำหนดนโยบายและวิธีการที่เหมาะสมต่อไป

          (8) การสร้างกลไกในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็นอย่างร่วมมือร่วมใจกัน

          (9) การลดเงื่อนไขความขัดแย้งโดยอาศัยความร่วมมือของประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของภาครัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะสังคมไทยเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุขบนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคีปรองดอง

          (10) การนำหลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชนและหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าอย่างมีขั้นตอนเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. สาระสำคัญและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

          รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดหลักการและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ภายใต้เจตนารมณ์อันสำคัญ คือ เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดโครงสร้างทางการเมืองการปกครองและการบริหารประเทศโดยอาศัยกลไกผ่านทางการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ การเปลี่ยนแปลงที่มาของฝ่ายบริหาร การปรับปรุงโครงสร้างของรัฐสภาและที่มาของวุฒิสภา เป็นต้น  ทั้งนี้ เป็นไปเพื่อมุ่งหมายในการปฏิรูปประเทศให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนำไปสู่ประโยชน์สุขและความเจริญก้าวหน้าของประเทศอย่างแท้จริง โดยการปฏิรูปประเทศในแต่ละด้านจะมีการระบุให้มีคณะกรรมการพร้อมอำนาจในการดำเนินการต่าง ๆ อันนำไปสู่การปฏิรูปประเทศอย่างจริงจัง กล่าวได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ครั้งแรกของรัฐธรรมนูญที่มีการบัญญัติไว้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้การปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ นั้นเป็นที่ยอมรับในทางสากล สอดคล้องกับประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย รวมถึงเพื่อแก้ไขปัญหาของประเทศ สร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นภายในประเทศโดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก จึงกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นี้ มีบทบัญญัติ หลักการหลายส่วนที่แตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนขององค์อำนาจหลัก อันได้แก่ อำนาจฝ่ายบริหาร อำนาจฝ่ายนิติบัญญัติและอำนาจฝ่ายตุลาการ รวมทั้งองค์กรอิสระ นอกจากนี้ได้มีการเพิ่มเติมในส่วนของหมวดที่ 5 หน้าที่ของรัฐ หมวดที่ 16 การปฏิรูปประเทศ อันไม่เคยปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับใดมาก่อน

          สำหรับในบทความดังกล่าวนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะเจตนารมณ์ที่มาของส่วนที่มีเพิ่มเติมขึ้นอันแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ คือ หมวดที่ 5 หน้าที่ของรัฐ และหมวดที่ 6 การปฏิรูปประเทศเท่านั้น

หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ หมวดนี้ได้บัญญัติขึ้นมาใหม่ในรัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 ด้วยเหตุผลที่ว่า รัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ จะกำหนดในลักษณะที่เป็นนามธรรมอันไม่เกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเพื่อเป็นหลักประกันให้แก่ประชาชนว่า รัฐต้องดำเนินการตามหน้าที่ที่ได้กำหนดไว้อย่างเต็มกำลังความสามารถทางการเงินการคลังของรัฐ เพื่อให้สิทธิของประชาชนเกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง เป็นที่น่าสังเกตว่าในหมวดนี้ จะมีการบัญญัติเป็นถ้อยคำที่กำหนดให้ “รัฐต้อง...” อันเป็นนัยสำคัญว่า เป็นการบังคับให้รัฐต้องปฏิบัติ หากรัฐไม่ปฏิบัติจะทำให้ประชาชนใช้สิทธิที่จะเร่งรัดให้รัฐดำเนินการ หรือใช้สิทธิฟ้องร้องให้หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติได้ สำหรับหน้าที่ของรัฐที่สำคัญ เช่น

          (1) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ปกป้องรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช และอธิปไตยของรัฐ โดยจัดให้มีการทหาร การทูต การข่าวกรองที่มีประสิทธิภาพเพื่อรักษาประโยชน์และมั่นคงแห่งชาติ[1]

          (2) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ดำเนินการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด[2] ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการปฏิรูปกฎหมายมีผลต่อการนำไปใช้อย่างจริงจรังและเข้มงวด

          (3) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ให้บริการและส่งเสริมงานด้านสาธารณสุขที่มีคุณภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี มีการควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาการแพทย์แผนไทย[3] เจตนารมณ์ที่กำหนดไว้เช่นนี้ เพื่อต้องการให้สอดคล้องกับสิทธิของบุคคลที่จะได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างเสมอภาคและได้มาตรฐาน เป็นผลให้ประชาชนมีสุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์อันเป็นปัจจัยหนึ่งจะก่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน จึงเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องสร้างหลักประกันด้านการบริการทางสุขภาพอย่างทั่วถึง นอกจากนี้รัฐธรรมนูญได้กำหนดเพิ่มเติมครอบคลุมถึงการพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทยอันเป็นการสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สุงสุดและมีความยั่งยืนต่อไป

          (4) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่จัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงโดยยึดถือประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นหลัก[4] เดิมหลักการจัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ แต่ในฉบับ ปี 2560 ได้ดำเนินการแก้ไขให้มีความชัดเจนและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในกรณีที่รัฐให้เอกชนดำเนินการทางธุรกิจจะมีการควบคุมดูแลมิให้เอกชนมีการเรียกเก็บค่าบริการที่สูงเกินสมควรจนก่อเกิดเป็นภาระแก่ประชาชน เพราะจะเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและการพัฒนาประเทศในระยะยาวได้ ดังนั้น ในส่วนนี้จึงได้มีการกำหนดหลักการคุ้มครองการนำทรัพย์สินของรัฐไปหาประโยชน์อันอาจส่งผลให้รัฐเกิดความเสียหายได้

          (5) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องดูแล อนุรักษ์ ฟื้นฟู คุ้มครอง ศิลปะ วัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด[5] จะเห็นได้ว่าในส่วนนี้มีการกำหนดเพิ่มเติมอันแตกต่างจากฉบับก่อน ๆ โดยกำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการรับรองสิทธิและมีการส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย ทั้งรัฐยังจะต้องจัดให้มีพื้นที่สาธารณะสำหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมประเพณีอันดีงามเพื่อให้ประชาชน ชุมชนและหน่วยงานของรัฐจะได้มีสถานที่ในการร่วมกันพัฒนาและรักษาก่อเกิดเป็นความยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้การดำเนินการให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

          (6) การดำเนินการของรัฐหรือการอนุญาตให้มีการดำเนินการใด ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต วิถีชีวิตของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรง รัฐต้องมีการศึกษาถึงผลกระทบ ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยรัฐต้องมีหน้าที่ในการสร้างประกันว่า หากจะดำเนินการใด ๆ ต้องให้สิทธิแก่ประชาชน ชุมชนมีโอกาสรับทราบถึงข้อมูล คำชี้แจงและเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการดำเนินการหรืออนุญาต รวมทั้งรัฐจะต้องมีหน้าที่ในการใช้ความระมัดระวังเพื่อไม่ให้การดำเนินการใด ๆ ส่งผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ และหากมีความจำเป็นต้องดำเนินการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จะต้องกระทำให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด ทั้งจะต้องมีหน้าที่ในการเยียวยาความเดือนร้อนหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า[6]

          (7) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะต่อประชาชน แต่ต้องไม่ใช่ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐหรือเป็นความลับของทางราชการ และต้องจัดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารได้อย่างสะดวก[7] ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติราชการมีความโปร่งใส ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน

          (8) กำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการรักษาไว้ซึ่งคลื่นความถี่และสร้างกลไกในการกำกับดูแล ในบทบัญญัติของมาตรานี้ได้มีการกำหนดเพิ่มเติมขึ้นเป็นครั้งแรกในเรื่องของสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรของดาวเทียมว่าให้เป็นสมบัติของชาติ[8] เพราะบุคคลใด ประเทศใดจะกล่าวอ้างถึงความเป็นเจ้าของไม่ได้ หากแต่เป็นสมบัติของชาติในการที่จะใช้ร่วมกันและเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติ รัฐจึงต้องมีหน้าที่ในการดูแลรักษาไว้

          (9) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค โดยขยายขอบเขตของการให้ความคุ้มครองไปในด้านความปลอดภัย ด้านความเป็นธรรมในการทำสัญญาหรือด้านอื่นใดด้วย[9] ทั้งนี้มุ่งเน้นประโยชน์ต่อผู้บริโภคเป็นสำคัญเพื่อมิให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ

          (10) กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการรักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดและจัดระเบียบภาษีให้เกิดความเป็นธรรม รวมถึงกำหนดกรอบของกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง[10] สิ่งที่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ มีการกำหนดครอบคลุมไปถึงกรอบการดำเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐ วินัยทางการคลังด้านรายได้และรายจ่ายทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลังและการบริหารหนี้สาธารณะ ทั้งนี้เพื่อให้การดูแลการเงินการคลังของรัฐเกิดความมั่นคงและให้ปลอดต่อความเสี่ยงที่จะถูกนำไปใช้จ่ายในทางที่ไม่เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนจนสร้างให้เกิดหนี้ของประเทศได้

          (11) กำหนดหน้าที่ให้รัฐมีการสนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ[11] เพื่อประชาชนเกิดความตระหนักถึงภัยอันตรายอันเกิดจากการทุจริต ดังนั้น การจะให้ปัญหาการทุจริตหมดไปนั้นต้องเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของประชาชนในการต่อต้านและชี้เบาะแส

หมวดที่ 6 การปฏิรูปประเทศ บทบัญญัติในหมวดนี้เกิดขึ้นเพื่อเป็นกลไกอันสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ความยั่งยืน ความมั่นคงและมั่งคั่ง และเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องมีการบัญญัติหลักการและกรอบเวลาในการปฏิรูปไว้อย่างชัดเจน รวมทั้งมีบทบังคับเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ได้กำหนดไว้ โดยเป้าหมายอันสำคัญ 3 ประการ ได้แก่[12]

          1) เพื่อให้ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ

          2) เพื่อให้สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรมและมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ

          3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

 ในหมวดดังกล่าวนี้บัญญัติไว้ 5 มาตราด้วยกันโดยมีการเน้นปฏิรูปใน 7 ด้านที่สำคัญ โดยสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้[13]

          1. ด้านการเมือง จะเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักเพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง ใช้สิทธิในการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ รวมทั้งผลักดันให้พรรคการเมืองเป็นสถาบันการเมืองของประชาชนโดยพรรคการเมืองที่เป็นตัวแทนของประชาชนจะต้องดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างเปิดเผย สามารถตรวจสอบได้ การปฏิบัติหน้าที่ของผู้แทนของประชาชนต้องเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดหลักความรับผิดชอบต่อประชาชนและให้มีกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวิธี

          2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน กำหนดให้มีการปฏิรูปด้านการบริหารราชการแผ่นดินโดยให้มีการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดทำบริการสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงาน ให้มีการดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนกำลังคนภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐและให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมทั้งกลไกในการป้องกันการทุจริต ทั้งนี้เพื่อให้ระบบบริหารราชการแผ่นดินเกิดประสิทธิภาพและสอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีอย่างแท้จิรง ทั้งจะทำให้ระบบราชการมีความเข็มแข็ง ปราศจากการแทรกแซงของฝ่ายการเมือง สร้างเสริมความสมดุลระหว่างข้าราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการฝ่ายประจำให้ดำเนินการไปอย่างเหมาะสม ทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถได้เข้าสู่ระบบราชการอย่างแท้จริงอันเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินที่นำไปสู่การทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้

          3. ด้านกฎหมาย กำหนดให้มีการดำเนินการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายโดยมีกลไกในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่มีอยู่ในปัจจุบันให้สอดคล้องตามหลักการของมาตรา_77 และหลักสากล เพื่อไม่ให้สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความจำเป็น การดำเนินการการปฏิรูปครอบคลุมไปถึงระบบการเรียนการสอนวิชากฎหมายเพื่อจะได้พัฒนากฎหมายและผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายให้มีความรอบรู้ ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมของนักกฎหมาย ทั้งนี้ การพัฒนาย่อมต้องอาศัยเทคโนโลยีเพื่อเข้ามาพัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงกฎหมายได้อย่างสะดวก และมีกลไกที่สำคัญในการช่วยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอร่างกฎหมายเพื่อให้เกิดประโยชน์อันแท้จริงแก่ประชาชน

          4. ด้านกระบวนการยุติธรรม กำหนดให้มีการปฏิรูปด้านกระบวนการยุติธรรมโดยเฉพาะระบบการสอบสวนของพนักงานสอบสวน ทั้งเน้นให้มีการกำหนดระยะเวลาการดำเนินงานในทุกขั้นตอน ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับหน้าที่ อำนาจและภารกิจของตำรวจให้เกิดความเหมาะสมและปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตำรวจให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ปรับปรุงระบบการสอบสวนคดีอาญาโดยให้มีการตรวจสอยและถ่วงดุลระหว่างพนักงานสอบสวนกับพนักงานอัยการอย่างเหมาะสม ให้มีการเสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมให้ชัดเจน สะดวก รวดเร็วและเกิดการใช้บังคับกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในอันที่จะได้รับความความยุติธรรมอย่างแท้จริง ทั้งมีกลไกช่วยเหลือประชาชนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนสร้างกลไกเพื่อให้มีการพัฒนากฎหมายอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคม ตลอดจนกำหนดให้มีหน่วยงานบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์มากกกว่าหนึ่งหน่วยงานที่มีอิสระจากกันเพื่อเป็นการลดการใช้ดุลพินิจในการสอบสวนและสร้างความเชื่อมั่นอันเป็นหลักประกันให้สังคมและประชาชนได้รับความเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น

          5. ด้านการศึกษา กำหนดให้การดำเนินการปฏิรูปด้านการศึกษาโดยเริ่มตั้งแต่เด็กเล็กที่จะต้องได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จัดให้มีการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของครูให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ รวมทั้งผลักดันให้มีกลไกและระบบการผลิตที่คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาการชีพและให้มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด

          6. ด้านเศรษฐกิจ แนวคิดในเรื่องการปฏิรูปด้านเศรษฐกิจเพื่อเป็นการสร้างหลักประกันให้ประชาชนไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับปัจจัยสี่ในราคาที่สูงเกินความจำเป็นจนเกิดเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตในสังคม ในการปฏิรูปจึงต้องดำเนินการขจัดอุปสรรคและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้สร้างกลไกเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการนำความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำอันทำให้ผู้ประกอบการแต่ละขนาดสามารถเกิดการแข่งขันได้อย่างเหมาะสม เป็นธรรม

          7. ด้านอื่น ๆ การปฏิรูปในด้านอื่น ๆ นั้นเป็นไปเพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน มั่นคงและมั่นคง อาทิ

                    (1) การปฏิรูประบบบริหารราชการจัดการทรัพยากรน้ำที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและยั่งยืน

                    (2) การปฏิรูปที่ดินเพื่อให้เกิดการกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม

                    (3) การจัดการและกำจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพด้านสาธารณสุข

                    (4) การปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จากการบริหารจัดการและการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียมกัน

                    (5) จัดให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม

          สำหรับในการดำเนินการปฏิรูปประเทศ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้รัฐบาลจัดทำกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศโดยกฎหมายดังกล่าวนั้นต้องประกอบด้วย 1) วิธีการจัดทำแผน 2) การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) ขั้นตอนในการดำเนินการปฏิรูปประเทศ 4) การวัดผลการดำเนินการ และ 5) ระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน โดยกฎหมายนี้ต้องประกาศใช้บังคับภายใน 120 วันนับแต่รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้และต้องดำเนินการปฏิรูปในแต่ละด้านภายใน 1 ปี นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญนี้ประกาศใช้โดยจะต้องเกิดผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุภายใน 5 ปี[14]

3. บทสรุป

          รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำเนิดขึ้นเพราะความไม่สงบในกิจการของบ้านเมือง ดังนี้ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นแทนฉบับเก่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญจึงประสงค์เพื่อที่จะให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดเพื่อใช้ในการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยในบริบทที่สอดคล้องและเหมาะสมกับคนไทยเป็นอย่างยิ่ง ด้วยการอุดช่องว่างและมีการปฏิรูปประเทศใน 7 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านการเมือง  ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านกฎหมาย ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านอื่น ๆ ให้เกิดผล นอกจากนี้ สิ่งที่น่าจับตามองในรัฐธรรมนูญนี้ คือ การกำหนดบทเฉพาะกาลขึ้นเพื่อกำหนดเงื่อนไขให้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญสามารถเกิดผลบังคับได้ตามเจตนารมณ์ของการจัดทำ

4. บรรณานุกรม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่ง

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

วิทยา ศรีสมานุวัตร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา.

อ้างอิง

[1] มาตรา 52 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[2] มาตรา 53 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[3] มาตรา 55 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[4] มาตรา 56 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[5] มาตรา 57 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[6] มาตรา 58 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[7] มาตรา 59 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[8] มาตรา 60 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[9] มาตรา 61 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[10] มาตรา 62 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[11] มาตรา 63 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[12] มาตรา 257 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[13] มาตรา 258 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

[14] มาตรา 259 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560