ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:
----
----


รัฐสภาในฐานะที่เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติ และเป็นหนึ่งในผู้ใช้อำนาจอธิปไตยสามฝ่าย มีภารกิจหน้าที่ในการดำเนินการผ่านระบบผู้แทนประชาชนที่ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งการทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัตินี้จำเป็นต้องมีหน่วยงานมารองรับการทำหน้าที่ของรัฐสภา เพื่อให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่สมาชิกรัฐสภาในการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ อันจะทำให้การดำเนินงานของสมาชิกรัฐสภามีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ  
[[รัฐสภา]]ในฐานะที่เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ทางด้าน[[นิติบัญญัติ]] และเป็นหนึ่งในผู้ใช้อำนาจ[[อธิปไตย]]สามฝ่าย มีภารกิจหน้าที่ในการดำเนินการผ่านระบบผู้แทนประชาชนที่ประกอบด้วย[[สภาผู้แทนราษฎร]]และ[[วุฒิสภา]] ซึ่งการทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัตินี้จำเป็นต้องมีหน่วยงานมารองรับการทำหน้าที่ของรัฐสภา เพื่อให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่[[สมาชิกรัฐสภา]]ในการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ อันจะทำให้การดำเนินงานของสมาชิกรัฐสภามีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ  


==ความเป็นมา==
==ความเป็นมา==
การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรองรับการทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจการฝ่ายธุรการให้กับสมาชิกรัฐสภา ที่ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัตินั้น เริ่มต้นขึ้นภายหลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา โดยในวันที่  28 มิถุนายน 2475 ได้มีการประชุมผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรก จำนวน 70 คน ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ที่ประชุมได้เลือกมหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายพลตรี พระยาอินทรวิชิต เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยประธานสภาผู้แทนราษฎร  ได้ขออนุมัติต่อที่ประชุม เพื่อให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จึงถือได้ว่าสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 แต่การ  จัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในระยะเริ่มแรกนั้นยังไม่มีกฎหมายจัดตั้งรองรับ จึงไม่มีงบประมาณและสถานที่ทำการของตนเอง มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจำนวนเพียง 7 คน ต่อมาได้มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกในชื่อว่า “กรมเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร” มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับเลขานุการของสภาผู้แทนราษฎร อยู่ในบังคับบัญชาของประธานสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร”  มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับกิจการฝ่ายธุรการของสภาผู้แทนราษฎร และได้รับการยกฐานะเป็นทบวงการเมือง โดยพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2484  และเมื่อได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2485 มีผลให้ข้าราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปลี่ยนสถานะจากข้าราชการพลเรือนฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรไปเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเหมือนข้าราชการในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ  
การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรองรับการทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจการฝ่ายธุรการให้กับสมาชิกรัฐสภา ที่ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัตินั้น เริ่มต้นขึ้นภายหลังจากที่มี[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา โดยในวันที่  28 มิถุนายน 2475 ได้มี[[การประชุมผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรก]] จำนวน 70 คน ณ [[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] ที่ประชุมได้เลือก[[มหาอำมาตย์เอก]] [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]] เป็น[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] [[นายพลตรี พระยาอินทรวิชิต]] เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยประธานสภาผู้แทนราษฎร  ได้ขออนุมัติต่อที่ประชุม เพื่อให้[[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548) หน้า 10-13. </ref> จึงถือได้ว่าสำนักงาน[[เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 แต่การจัดตั้ง[[สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]ในระยะเริ่มแรกนั้นยังไม่มีกฎหมายจัดตั้งรองรับ จึงไม่มีงบประมาณและสถานที่ทำการของตนเอง มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจำนวนเพียง 7 คน <ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2551 (กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551) หน้า 1-11. </ref>ต่อมาได้มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกในชื่อว่า “[[กรมเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]”<ref>พระราชบัญญัติจัดตั้งกระทรวง และกรม แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2476 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2476, หน้า 639. </ref> มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับเลขานุการของสภาผู้แทนราษฎร อยู่ในบังคับบัญชาของประธานสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร”<ref>พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2476 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 9 ธันวาคม 2476, หน้า 763. </ref>   มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับกิจการฝ่ายธุรการของสภาผู้แทนราษฎร และได้รับการยกฐานะเป็น[[ทบวงการเมือง]] โดย[[พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2484]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 58 วันที่ 19 สิงหาคม 2484, หน้า 1038. </ref> และเมื่อได้มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2485]] มีผลให้ข้าราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปลี่ยนสถานะจากข้าราชการพลเรือนฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรไปเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเหมือนข้าราชการในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ  
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้มีการเปลี่ยนชื่อสำนักงานหลายครั้งเพื่อให้สอดคล้องกับระบบรัฐสภาตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ทั้งการแยกสำนักงานฯ ออกเป็นสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนกับสำนักงานเลขาธิการพฤฒสภา และการรวมสำนักงานทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยจัดตั้งเป็น “สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา”  จนกระทั่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ จัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 เพื่อจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภาให้เป็น  อิสระจากฝ่ายบริหาร เนื่องจากตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ฝ่ายบริหารเป็นผู้จัดแบ่งส่วนราชการและจัดงานธุรการให้แก่ฝ่ายนิติบัญญัติ แต่โดยสภาพของการปฏิบัติราชการสมควรจะให้ฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการดังกล่าวเอง เพราะจะทำให้ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถปรับปรุงส่วนราชการและระเบียบปฏิบัติราชการของฝ่ายนิติบัญญัติให้เหมาะสม และอำนวยความสะดวกให้แก่ราชการของฝ่ายนิติบัญญัติ ได้มากยิ่งขึ้น  ซึ่งในการแยกสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาให้เป็นอิสระจากฝ่ายบริหารนั้น จำต้องมีระบบการบริหารข้าราชการเป็นของตนเอง จึงมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ออกมาบังคับใช้ควบคู่กัน เพื่อให้ข้าราชการที่ปฏิบัติราชการให้แก่สภานิติบัญญัติไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยราชการของฝ่ายบริหาร ที่มีฐานะเป็นข้าราชการพลเรือน ซึ่งโดยสภาพ  ของการปฏิบัติราชการควรจะอยู่ภายใต้การควบคุมของสภานิติบัญญัติโดยตรง เพราะจะทำให้สภา นิติบัญญัติสามารถปรับปรุงระเบียบปฏิบัติราชการของข้าราชการในสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาให้มีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกให้แก่ราชการของสภานิติบัญญัติได้มากยิ่งขึ้น  
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้มีการเปลี่ยนชื่อสำนักงานหลายครั้งเพื่อให้สอดคล้องกับระบบรัฐสภาตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ทั้งการแยกสำนักงานฯ ออกเป็นสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนกับ[[สำนักงานเลขาธิการพฤฒสภา]] และการรวมสำนักงานทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยจัดตั้งเป็น “สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา”<ref>พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2490. </ref> จนกระทั่งได้มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518]] เพื่อจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภาให้เป็น  อิสระจากฝ่ายบริหาร เนื่องจาก[[ตามกฎหมาย]]ที่ใช้บังคับอยู่ ฝ่ายบริหารเป็นผู้จัดแบ่งส่วนราชการและจัดงานธุรการให้แก่ฝ่ายนิติบัญญัติ แต่โดยสภาพของการปฏิบัติราชการสมควรจะให้ฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการดังกล่าวเอง เพราะจะทำให้ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถปรับปรุงส่วนราชการและระเบียบปฏิบัติราชการของฝ่ายนิติบัญญัติให้เหมาะสม และอำนวยความสะดวกให้แก่ราชการของฝ่ายนิติบัญญัติ ได้มากยิ่งขึ้น<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 48. </ref> ซึ่งในการแยกสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาให้เป็นอิสระจากฝ่ายบริหารนั้น จำต้องมีระบบการบริหารข้าราชการเป็นของตนเอง จึงมีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518]] ออกมาบังคับใช้ควบคู่กัน เพื่อให้ข้าราชการที่ปฏิบัติราชการให้แก่สภานิติบัญญัติไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยราชการของฝ่ายบริหาร ที่มีฐานะเป็น[[ข้าราชการพลเรือน]] ซึ่งโดยสภาพ  ของการปฏิบัติราชการควรจะอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[สภานิติบัญญัติ]]โดยตรง เพราะจะทำให้สภา นิติบัญญัติสามารถปรับปรุงระเบียบปฏิบัติราชการของข้าราชการในสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาให้มีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกให้แก่ราชการของสภานิติบัญญัติได้มากยิ่งขึ้น<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 1. </ref>


==สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา==
==สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา==


พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ในฐานะที่เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา มีสาระสำคัญเป็นการกำหนดให้มี “คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา” (ก.ร.) เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคล โดยกำหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติลักษณะต้องห้าม และวาระการดำรงตำแหน่งของ ก.ร. ผู้ทรงคุณวุฒิ อำนาจหน้าที่ วิธีการประชุม การตั้งอนุกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (อ.ก.ร.) ให้ทำการใด ๆ แทน การแบ่งประเภทของข้าราชการฝ่ายรัฐสภาเป็น 2 ประเภท คือ ข้าราชการรัฐสภาสามัญและข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง กำหนดคุณสมบัติ การบรรจุ การแต่งตั้ง คุณสมบัติของแต่ละตำแหน่ง การออกจากราชการ การลงโทษทางวินัย และการอุทธรณ์การถูกลงโทษของข้าราชการรัฐสภาสามัญ ในส่วนของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง กฎหมายได้กำหนดตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง การแต่งตั้ง และเหตุที่ทำให้พ้นจากตำแหน่ง
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ในฐานะที่เป็นกฎหมายเกี่ยวกับ[[การบริหารงานบุคคลของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา]] มีสาระสำคัญเป็นการกำหนดให้มี “[[คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา]]” (ก.ร.) เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคล โดยกำหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติลักษณะต้องห้าม และวาระการดำรงตำแหน่งของ [[ก.ร.]] ผู้ทรงคุณวุฒิ อำนาจหน้าที่ วิธีการประชุม การตั้งอนุกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (อ.ก.ร.) ให้ทำการใด ๆ แทน การแบ่งประเภทของข้าราชการฝ่ายรัฐสภาเป็น 2 ประเภท คือ [[ข้าราชการรัฐสภาสามัญ]]และ[[ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง]] กำหนดคุณสมบัติ การบรรจุ การแต่งตั้ง คุณสมบัติของแต่ละตำแหน่ง การออกจากราชการ การลงโทษทางวินัย และการอุทธรณ์การถูกลงโทษของข้าราชการรัฐสภาสามัญ ในส่วนของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง กฎหมายได้กำหนดตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง การแต่งตั้ง และเหตุที่ทำให้พ้นจากตำแหน่ง
วันที่ 1 เมษายน 2535 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการ              ฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 แบ่งส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเป็นสองสำนักงาน คือ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และในปี 2554 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาและกฎหมายเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา เพื่อปรับเปลี่ยนสาระให้เหมาะสมกับการบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา ความเป็นอิสระทางการบริหารงานบุคคลและงบประมาณของฝ่ายนิติบัญญัติ และเพื่อปรับปรุงระบบตำแหน่งและประเภทตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาสามัญให้เหมาะสมกับลักษณะงาน โดยได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554” และ“พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554” โดย“พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554” ได้มีการแก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจากเดิม “จัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา” เป็น “ระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา” เพื่อให้มีความหมายครอบคลุมถึงการบริหารราชการ และให้คงคำว่า “ฝ่ายรัฐสภา” ไว้ เพื่อให้หมายถึงราชการประจำของฝ่ายรัฐสภา  
ในส่วนของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ได้มีการแก้ไขชื่อพระราชบัญญัติ เพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป โดยตัดคำว่า “ฝ่าย” ออกจากชื่อเดิม  เนื่องจากในปัจจุบันชื่อกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลต่าง ๆ ไม่มีการกำหนด  คำว่า “ฝ่าย” ไว้ในชื่อพระราชบัญญัติแล้ว เช่น ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการพลเรือน จึงกำหนดชื่อพระราชบัญญัติใหม่เป็น “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554”   โดยมีเหตุผลแห่งการประกาศใช้ คือ “โดยที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน และมีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับได้มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลของราชการฝ่ายรัฐสภาสอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวโดยกำหนดระบบตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาให้จำแนกตามกลุ่มลักษณะงานและให้มีบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาเป็นการเฉพาะ กำหนดให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญหรือระดับทรงคุณวุฒิ หรือตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสหรือระดับทักษะพิเศษอาจรับราชการต่อไปได้ และปรับปรุงกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์และร้องทุกข์ของข้าราชการรัฐสภาสามัญ รวมทั้งเพิ่มตำแหน่งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองบางตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้สอดคล้องกับภารกิจของงานด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา”  
วันที่ 1 เมษายน 2535 ได้มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา]] (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 แบ่งส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเป็นสองสำนักงาน คือ[[ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา]] และ[[สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอน 32 วันที่ 1 เมษายน 2535, หน้า 1. </ref> และในปี 2554 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาและกฎหมายเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา เพื่อปรับเปลี่ยนสาระให้เหมาะสมกับการบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา [[ความเป็นอิสระ]]ทางการบริหารงานบุคคลและงบประมาณของฝ่ายนิติบัญญัติ และเพื่อปรับปรุงระบบตำแหน่งและประเภทตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาสามัญให้เหมาะสมกับลักษณะงาน โดยได้มีการประกาศใช้ “[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554]]” และ“[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554]]” โดย“พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554” ได้มีการแก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจากเดิม “จัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา” เป็น “ระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา” เพื่อให้มีความหมายครอบคลุมถึงการบริหารราชการ และให้คงคำว่า “ฝ่ายรัฐสภา” ไว้ เพื่อให้หมายถึงราชการประจำของฝ่ายรัฐสภา<ref>สำนักงานเลขานุการ ก.ร., สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554, หน้า 1-6. </ref>
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 เป็นการกำหนดให้มีการจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภา การกำหนดตำแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ การดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ การบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้จะทำให้หน่วยราชการในสังกัดรัฐสภามีการจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภาให้เป็นไป เพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของทางราชการที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า อันเป็นการนำไปสู่การรองรับการทำหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาที่มีบทบาทและภารกิจที่เพิ่มมากขึ้นตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ในส่วนของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ได้มีการแก้ไขชื่อ[[พระราชบัญญัติ]] เพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป โดยตัดคำว่า “ฝ่าย” ออกจากชื่อเดิม  เนื่องจากในปัจจุบันชื่อกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลต่าง ๆ ไม่มีการกำหนด  คำว่า “ฝ่าย” ไว้ในชื่อพระราชบัญญัติแล้ว เช่น ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการพลเรือน จึงกำหนดชื่อพระราชบัญญัติใหม่เป็น “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554”<ref>สำนักงานเลขานุการ ก.ร., สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554, หน้า 7. </ref>โดยมีเหตุผลแห่งการประกาศใช้ คือ “โดยที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน และมีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับได้มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลของราชการฝ่ายรัฐสภาสอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวโดยกำหนดระบบตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาให้จำแนกตามกลุ่มลักษณะงานและให้มีบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาเป็นการเฉพาะ กำหนดให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญหรือระดับทรงคุณวุฒิ หรือตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสหรือระดับทักษะพิเศษอาจรับราชการต่อไปได้ และปรับปรุงกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์และร้องทุกข์ของข้าราชการรัฐสภาสามัญ รวมทั้งเพิ่มตำแหน่งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองบางตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้สอดคล้องกับภารกิจของงานด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา” <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอน 34 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 11 พฤษภาคม 2554, หน้า 8. </ref>
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 เป็นการกำหนดให้มีการจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภา การกำหนดตำแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ การดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ การบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้จะทำให้หน่วยราชการในสังกัดรัฐสภามีการจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภาให้เป็นไป เพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของทางราชการที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า อันเป็นการนำไปสู่การรองรับการทำหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาที่มีบทบาทและภารกิจที่เพิ่มมากขึ้นตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป


==ประเภทของข้าราชการรัฐสภา==
==ประเภทของข้าราชการรัฐสภา==


พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ได้มีการกำหนดประเภทของ“ข้าราชการรัฐสภา” เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาสามัญ และข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง  
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ได้มีการกำหนดประเภทของ“ข้าราชการรัฐสภา” เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาสามัญ และข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง  
ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 กำหนดไว้  
 
ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองของรัฐสภา ที่ประกอบด้วยตำแหน่ง ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา ที่ปรึกษารองประธานรัฐสภา ที่ปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษาประธานวุฒิสภา ที่ปรึกษารองประธานสภาผู้แทนราษฎร         ที่ปรึกษารองประธานวุฒิสภา ที่ปรึกษาผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โฆษกประธาน                  สภาผู้แทนราษฎร โฆษกประธานวุฒิสภา โฆษกผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการประธานรัฐสภา เลขานุการรองประธานรัฐสภา เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการประธานวุฒิสภา เลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการรองประธานวุฒิสภา เลขานุการ               ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการประธานรัฐสภา ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานรัฐสภาผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการประธานวุฒิสภา ผู้ช่วยเลขานุการ             รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานวุฒิสภา และผู้ช่วยเลขานุการ                 ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตำแหน่ง       ต่าง ๆ นั้น เป็นอำนาจของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภา แล้วแต่กรณี ตามความ  เหมาะสมและตามคุณสมบัติที่กฎหมายกำหนด
ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 กำหนดไว้  
ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองของรัฐสภา ที่ประกอบด้วยตำแหน่ง ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา ที่ปรึกษารองประธานรัฐสภา ที่ปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษาประธานวุฒิสภา ที่ปรึกษารองประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษารองประธานวุฒิสภา ที่ปรึกษาผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร โฆษกประธานวุฒิสภา โฆษกผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการประธานรัฐสภา เลขานุการรองประธานรัฐสภา เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการประธานวุฒิสภา เลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการรองประธานวุฒิสภา เลขานุการ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการประธานรัฐสภา ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานรัฐสภาผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการประธานวุฒิสภา ผู้ช่วยเลขานุการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานวุฒิสภา และผู้ช่วยเลขานุการ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตำแหน่ง ต่าง ๆ นั้น เป็นอำนาจของ[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]และ[[ประธานวุฒิสภา]] แล้วแต่กรณี ตามความ  เหมาะสมและตามคุณสมบัติที่กฎหมายกำหนด
==คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.)==
==คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.)==
“คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา” หรือเรียกโดยย่อว่า “ก.ร.” เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการรัฐสภา ที่มีองค์ประกอบในลักษณะไตรภาคี  อันประกอบด้วย ประธานรัฐสภา เป็นประธานกรรมการ รองประธานรัฐสภา เป็นรองประธานกรรมการ เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการวุฒิสภา ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 8 คน ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรเลือกจำนวน 4 คน วุฒิสภาเลือกจำนวน 4 คน และผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญจำนวน 4 คน ซึ่งข้าราชการ  รัฐสภาสามัญในสังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเลือกกันเองจำนวน 2 คน และข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเลือกกันเองจำนวน 2 คน เป็นกรรมการ ทั้งนี้ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้แต่งตั้งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรหรือเลขาธิการวุฒิสภาคนใดคนหนึ่ง เป็นเลขานุการ
คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) มีอำนาจหน้าที่เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของข้าราชการรัฐสภา ออกกฎ ก.ร. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตีความและวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิ เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการรัฐสภา กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการรัฐสภา พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติ กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลกำหนดเรื่องการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์อื่น และเงินค่าตอบแทนพิเศษแก่ข้าราชการรัฐสภา ทั้งนี้ คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการข้าราชการรัฐสภา (อ.ก.ร.) เพื่อทำการใด ๆ แทนได้
“[[คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา]]” หรือเรียกโดยย่อว่า “ก.ร.” เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการรัฐสภา ที่มีองค์ประกอบในลักษณะไตรภาคี<ref>สำนักงานเลขานุการ ก.ร., สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา
พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554, หน้า 9. </ref>อันประกอบด้วย ประธานรัฐสภา เป็นประธานกรรมการ รองประธานรัฐสภา เป็นรองประธานกรรมการ [[เลขาธิการ ก.พ.]] [[เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร]] [[เลขาธิการวุฒิสภา]] ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 8 คน ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรเลือกจำนวน 4 คน วุฒิสภาเลือกจำนวน 4 คน และผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญจำนวน 4 คน ซึ่งข้าราชการ  รัฐสภาสามัญในสังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเลือกกันเองจำนวน 2 คน และข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเลือกกันเองจำนวน 2 คน เป็นกรรมการ ทั้งนี้ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้แต่งตั้งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรหรือเลขาธิการวุฒิสภาคนใดคนหนึ่ง เป็นเลขานุการ
คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) มีอำนาจหน้าที่เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของข้าราชการรัฐสภา ออกกฎ ก.ร. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตีความและวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิ เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการรัฐสภา กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการรัฐสภา พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติ กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลกำหนดเรื่องการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์อื่น และเงินค่าตอบแทนพิเศษแก่ข้าราชการรัฐสภา ทั้งนี้ คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการข้าราชการรัฐสภา (อ.ก.ร.) เพื่อทำการใด ๆ แทนได้
==อ้างอิง==
<references/>
==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548) หน้า 10-13.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548) หน้า 10-13.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 (กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551) หน้า 1-11.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 (กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551) หน้า 1-11.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2476 หน้า 639.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2476 หน้า 639.
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2476 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 9 ธันวาคม 2476 เล่ม 50 หน้า 763.
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2476 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 9 ธันวาคม 2476 เล่ม 50 หน้า 763.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 58 วันที่ 19 สิงหาคม 2484 หน้า 1038.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 58 วันที่ 19 สิงหาคม 2484 หน้า 1038.
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2490.
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2490.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 48.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 48.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518 หน้า 1.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518 หน้า 1.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอน 34 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 11 พฤษภาคม 2554 หน้า 8.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอน 34 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 11 พฤษภาคม 2554 หน้า 8.
สำนักงานเลขานุการ ก.ร.. สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาพ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554.
สำนักงานเลขานุการ ก.ร.. สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาพ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554.


==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา 2555. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ระบบงานรัฐสภา 2555'''. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ประวัติรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2542.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548).
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''ประวัติรัฐธรรมนูญ'''. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2542.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สิทธิประโยชน์ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงงานรัฐสภา. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2549.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2557. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2557.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย''' (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548).
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''สิทธิประโยชน์ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงงานรัฐสภา'''. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2549.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2557'''. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2557.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551'''. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550'''. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.


[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:08, 14 กรกฎาคม 2558

ผู้เรียบเรียง : วันวิภา สุขสวัสดิ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


รัฐสภาในฐานะที่เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติ และเป็นหนึ่งในผู้ใช้อำนาจอธิปไตยสามฝ่าย มีภารกิจหน้าที่ในการดำเนินการผ่านระบบผู้แทนประชาชนที่ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งการทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัตินี้จำเป็นต้องมีหน่วยงานมารองรับการทำหน้าที่ของรัฐสภา เพื่อให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่สมาชิกรัฐสภาในการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ อันจะทำให้การดำเนินงานของสมาชิกรัฐสภามีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ

ความเป็นมา

การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรองรับการทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจการฝ่ายธุรการให้กับสมาชิกรัฐสภา ที่ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัตินั้น เริ่มต้นขึ้นภายหลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา โดยในวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ได้มีการประชุมผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรก จำนวน 70 คน ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ที่ประชุมได้เลือกมหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายพลตรี พระยาอินทรวิชิต เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้ขออนุมัติต่อที่ประชุม เพื่อให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร[1] จึงถือได้ว่าสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 แต่การจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในระยะเริ่มแรกนั้นยังไม่มีกฎหมายจัดตั้งรองรับ จึงไม่มีงบประมาณและสถานที่ทำการของตนเอง มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจำนวนเพียง 7 คน [2]ต่อมาได้มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกในชื่อว่า “กรมเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร[3] มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับเลขานุการของสภาผู้แทนราษฎร อยู่ในบังคับบัญชาของประธานสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร”[4] มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับกิจการฝ่ายธุรการของสภาผู้แทนราษฎร และได้รับการยกฐานะเป็นทบวงการเมือง โดยพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2484[5] และเมื่อได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2485 มีผลให้ข้าราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปลี่ยนสถานะจากข้าราชการพลเรือนฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรไปเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเหมือนข้าราชการในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้มีการเปลี่ยนชื่อสำนักงานหลายครั้งเพื่อให้สอดคล้องกับระบบรัฐสภาตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ทั้งการแยกสำนักงานฯ ออกเป็นสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนกับสำนักงานเลขาธิการพฤฒสภา และการรวมสำนักงานทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยจัดตั้งเป็น “สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา”[6] จนกระทั่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 เพื่อจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภาให้เป็น อิสระจากฝ่ายบริหาร เนื่องจากตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ฝ่ายบริหารเป็นผู้จัดแบ่งส่วนราชการและจัดงานธุรการให้แก่ฝ่ายนิติบัญญัติ แต่โดยสภาพของการปฏิบัติราชการสมควรจะให้ฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการดังกล่าวเอง เพราะจะทำให้ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถปรับปรุงส่วนราชการและระเบียบปฏิบัติราชการของฝ่ายนิติบัญญัติให้เหมาะสม และอำนวยความสะดวกให้แก่ราชการของฝ่ายนิติบัญญัติ ได้มากยิ่งขึ้น[7] ซึ่งในการแยกสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาให้เป็นอิสระจากฝ่ายบริหารนั้น จำต้องมีระบบการบริหารข้าราชการเป็นของตนเอง จึงมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ออกมาบังคับใช้ควบคู่กัน เพื่อให้ข้าราชการที่ปฏิบัติราชการให้แก่สภานิติบัญญัติไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยราชการของฝ่ายบริหาร ที่มีฐานะเป็นข้าราชการพลเรือน ซึ่งโดยสภาพ ของการปฏิบัติราชการควรจะอยู่ภายใต้การควบคุมของสภานิติบัญญัติโดยตรง เพราะจะทำให้สภา นิติบัญญัติสามารถปรับปรุงระเบียบปฏิบัติราชการของข้าราชการในสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาให้มีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกให้แก่ราชการของสภานิติบัญญัติได้มากยิ่งขึ้น[8]

สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ในฐานะที่เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา มีสาระสำคัญเป็นการกำหนดให้มี “คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา” (ก.ร.) เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคล โดยกำหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติลักษณะต้องห้าม และวาระการดำรงตำแหน่งของ ก.ร. ผู้ทรงคุณวุฒิ อำนาจหน้าที่ วิธีการประชุม การตั้งอนุกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (อ.ก.ร.) ให้ทำการใด ๆ แทน การแบ่งประเภทของข้าราชการฝ่ายรัฐสภาเป็น 2 ประเภท คือ ข้าราชการรัฐสภาสามัญและข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง กำหนดคุณสมบัติ การบรรจุ การแต่งตั้ง คุณสมบัติของแต่ละตำแหน่ง การออกจากราชการ การลงโทษทางวินัย และการอุทธรณ์การถูกลงโทษของข้าราชการรัฐสภาสามัญ ในส่วนของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง กฎหมายได้กำหนดตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง การแต่งตั้ง และเหตุที่ทำให้พ้นจากตำแหน่ง

วันที่ 1 เมษายน 2535 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 แบ่งส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเป็นสองสำนักงาน คือสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร[9] และในปี 2554 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาและกฎหมายเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา เพื่อปรับเปลี่ยนสาระให้เหมาะสมกับการบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา ความเป็นอิสระทางการบริหารงานบุคคลและงบประมาณของฝ่ายนิติบัญญัติ และเพื่อปรับปรุงระบบตำแหน่งและประเภทตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาสามัญให้เหมาะสมกับลักษณะงาน โดยได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554” และ“พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554” โดย“พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554” ได้มีการแก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจากเดิม “จัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา” เป็น “ระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา” เพื่อให้มีความหมายครอบคลุมถึงการบริหารราชการ และให้คงคำว่า “ฝ่ายรัฐสภา” ไว้ เพื่อให้หมายถึงราชการประจำของฝ่ายรัฐสภา[10]

ในส่วนของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ได้มีการแก้ไขชื่อพระราชบัญญัติ เพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป โดยตัดคำว่า “ฝ่าย” ออกจากชื่อเดิม เนื่องจากในปัจจุบันชื่อกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลต่าง ๆ ไม่มีการกำหนด คำว่า “ฝ่าย” ไว้ในชื่อพระราชบัญญัติแล้ว เช่น ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการพลเรือน จึงกำหนดชื่อพระราชบัญญัติใหม่เป็น “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554”[11]โดยมีเหตุผลแห่งการประกาศใช้ คือ “โดยที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2518 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน และมีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับได้มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลของราชการฝ่ายรัฐสภาสอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวโดยกำหนดระบบตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาให้จำแนกตามกลุ่มลักษณะงานและให้มีบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการรัฐสภาเป็นการเฉพาะ กำหนดให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญหรือระดับทรงคุณวุฒิ หรือตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสหรือระดับทักษะพิเศษอาจรับราชการต่อไปได้ และปรับปรุงกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์และร้องทุกข์ของข้าราชการรัฐสภาสามัญ รวมทั้งเพิ่มตำแหน่งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองบางตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้สอดคล้องกับภารกิจของงานด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา” [12]

สาระสำคัญของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 เป็นการกำหนดให้มีการจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภา การกำหนดตำแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ การดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ การบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้จะทำให้หน่วยราชการในสังกัดรัฐสภามีการจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภาให้เป็นไป เพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของทางราชการที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า อันเป็นการนำไปสู่การรองรับการทำหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาที่มีบทบาทและภารกิจที่เพิ่มมากขึ้นตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ประเภทของข้าราชการรัฐสภา

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ได้มีการกำหนดประเภทของ“ข้าราชการรัฐสภา” เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาสามัญ และข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง

ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 กำหนดไว้

ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองของรัฐสภา ที่ประกอบด้วยตำแหน่ง ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา ที่ปรึกษารองประธานรัฐสภา ที่ปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษาประธานวุฒิสภา ที่ปรึกษารองประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษารองประธานวุฒิสภา ที่ปรึกษาผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร โฆษกประธานวุฒิสภา โฆษกผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการประธานรัฐสภา เลขานุการรองประธานรัฐสภา เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการประธานวุฒิสภา เลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เลขานุการรองประธานวุฒิสภา เลขานุการ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการประธานรัฐสภา ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานรัฐสภาผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการประธานวุฒิสภา ผู้ช่วยเลขานุการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานวุฒิสภา และผู้ช่วยเลขานุการ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตำแหน่ง ต่าง ๆ นั้น เป็นอำนาจของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภา แล้วแต่กรณี ตามความ เหมาะสมและตามคุณสมบัติที่กฎหมายกำหนด

คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.)

คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา” หรือเรียกโดยย่อว่า “ก.ร.” เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการรัฐสภา ที่มีองค์ประกอบในลักษณะไตรภาคี[13]อันประกอบด้วย ประธานรัฐสภา เป็นประธานกรรมการ รองประธานรัฐสภา เป็นรองประธานกรรมการ เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการวุฒิสภา ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 8 คน ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรเลือกจำนวน 4 คน วุฒิสภาเลือกจำนวน 4 คน และผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญจำนวน 4 คน ซึ่งข้าราชการ รัฐสภาสามัญในสังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเลือกกันเองจำนวน 2 คน และข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเลือกกันเองจำนวน 2 คน เป็นกรรมการ ทั้งนี้ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้แต่งตั้งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรหรือเลขาธิการวุฒิสภาคนใดคนหนึ่ง เป็นเลขานุการ

คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) มีอำนาจหน้าที่เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของข้าราชการรัฐสภา ออกกฎ ก.ร. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตีความและวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิ เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการรัฐสภา กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการรัฐสภา พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติ กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลกำหนดเรื่องการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์อื่น และเงินค่าตอบแทนพิเศษแก่ข้าราชการรัฐสภา ทั้งนี้ คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการข้าราชการรัฐสภา (อ.ก.ร.) เพื่อทำการใด ๆ แทนได้

อ้างอิง

  1. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548) หน้า 10-13.
  2. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 (กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551) หน้า 1-11.
  3. พระราชบัญญัติจัดตั้งกระทรวง และกรม แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2476 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2476, หน้า 639.
  4. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2476 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 9 ธันวาคม 2476, หน้า 763.
  5. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 58 วันที่ 19 สิงหาคม 2484, หน้า 1038.
  6. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2490.
  7. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 48.
  8. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 1.
  9. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอน 32 วันที่ 1 เมษายน 2535, หน้า 1.
  10. สำนักงานเลขานุการ ก.ร., สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554, หน้า 1-6.
  11. สำนักงานเลขานุการ ก.ร., สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554, หน้า 7.
  12. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอน 34 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 11 พฤษภาคม 2554, หน้า 8.
  13. สำนักงานเลขานุการ ก.ร., สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554, หน้า 9.

บรรณานุกรม

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548) หน้า 10-13.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 (กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551) หน้า 1-11.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2476 หน้า 639.

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2476 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 9 ธันวาคม 2476 เล่ม 50 หน้า 763.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 58 วันที่ 19 สิงหาคม 2484 หน้า 1038.

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2490.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, หน้า 48.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอน 27 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518 หน้า 1.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอน 34 ก ฉบับพิเศษ วันที่ 11 พฤษภาคม 2554 หน้า 8.

สำนักงานเลขานุการ ก.ร.. สาระสำคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาพ.ศ. 2554 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบงานรัฐสภา 2555. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2555.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ประวัติรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2542.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย (กรุงเทพ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977), 2548).

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สิทธิประโยชน์ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงงานรัฐสภา. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2549.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2557. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2557.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.