ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฎนายสิบ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
----
----


'''กบฏนายสิบ''' เป็นการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่หลายฝ่าย อันนำมาสู่การต่อต้านคณะผู้ดำเนินการและการต่อต้านต่อระบอบการเมืองการปกครองแบบใหม่
'''กบฏนายสิบ''' เป็นการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกิดขึ้นภายหลัง[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475]] ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่หลายฝ่าย อันนำมาสู่การต่อต้านคณะผู้ดำเนินการและการต่อต้านต่อระบอบการเมืองการปกครองแบบใหม่




หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยได้เพียงปีเศษ ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 ได้เกิดกบฏขึ้นเป็นครั้งแรก โดยมี นายพลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากร อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำ ผลของการก่อการในครั้งนี้ฝ่ายพระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากรเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ และกลุ่มผู้ดำเนินการถูกปราบปรามอย่างรุนแรง จนในที่สุดพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสละราชสมบัติ ซึ่งทั้งสองเหตุการณ์ดังกล่าวได้กระทบกระเทือนจิตใจของผู้ที่จงรักภักดีเป็นอย่างมาก<ref>โรม บุนนาค, '''คู่มือรัฐประหาร''', กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2549, หน้า 86. </ref>  
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบ[[ประชาธิปไตย]]ได้เพียงปีเศษ ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 ได้เกิด[[กบฏ]]ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยมี [[นายพลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากร]] อดีตเสนาบดี[[กระทรวงกลาโหม]] เป็นผู้นำ ผลของการก่อการในครั้งนี้ฝ่ายพระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากรเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ และกลุ่มผู้ดำเนินการถูกปราบปรามอย่างรุนแรง จนในที่สุด[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้ทรง[[สละราชสมบัติ]] ซึ่งทั้งสองเหตุการณ์ดังกล่าวได้กระทบกระเทือนจิตใจของผู้ที่จงรักภักดีเป็นอย่างมาก<ref>โรม บุนนาค, '''คู่มือรัฐประหาร''', กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2549, หน้า 86. </ref>  




ในที่สุดได้มีนายทหารชั้นประทวนกลุ่มหนึ่งได้คิดทำการปฏิวัติยึดอำนาจขึ้นมาอีกครั้งหวังคืนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ถวายสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การปฏิวัติครั้งนี้แตกต่างจากการปฏิวัติครั้งอื่นๆคือ เป็นการดำเนินงานนายทหารชั้นประทวน ซึ่งการปฏิวัติรัฐประหารในประเทศไทยนั้น ผู้ที่เป็นแกนนำมักจะเป็นนายทหารชั้นผู้ใหญ่ มียศตั้งแต่นายพันจนถึงนายพล แต่ในการปฏิวัติครั้งนี้เป็นการดำเนินงานของนายทหารระดับจ่ายนายสิบ นายสิบ และ พลทหาร
ในที่สุดได้มีนายทหารชั้นประทวนกลุ่มหนึ่งได้คิดทำการ[[ปฏิวัติ]]ยึดอำนาจขึ้นมาอีกครั้งหวังคืนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ถวายสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การปฏิวัติครั้งนี้แตกต่างจากการปฏิวัติครั้งอื่นๆคือ เป็นการดำเนินงานนายทหารชั้นประทวน ซึ่งไม่ว่าปฏิวัติรัฐประหารในประเทศไทยนั้น ผู้ที่เป็นแกนนำมักจะเป็นนายทหารชั้นผู้ใหญ่ มียศตั้งแต่นายพันจนถึงนายพล แต่ในการปฏิวัติครั้งนี้เป็นการดำเนินงานของนายทหารระดับจ่ายนายสิบ นายสิบ และ พลทหาร




ในระบบทหารของสังคมไทยนั้น นายทหารชั้นประทวนนับว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ของกองทัพ เป็นพลังเงียบที่มีความสำคัญแต่คนทั่วไปมักมองไม่เห็น หรือถึงจะมองเห็นก็มักถูกมองว่าไม่มีความรู้ถึงจะมีกำลังก็ไม่มีความหมาย<ref>นายหนหวย, '''กบฏนายสิบ 2478''', กรุงเทพฯ : มติชน, 2543, หน้า 15. </ref>  นายทหารชั้นประทวนระดับสิบตรีถึงจ่านายสิบกระจายกันอยู่ทุกกองพันทหาร เป็นกลไกสำคัญของกองทัพรองจากนายทหารและมีจำนวนมากกว่านายทหาร   
ในระบบทหารของสังคมไทยนั้น นายทหารชั้นประทวนนับว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ของกองทัพ เป็นพลังเงียบที่มีความสำคัญแต่คนทั่วไปมักมองไม่เห็น หรือถึงจะมองเห็นก็มักถูกมองว่าไม่มีความรู้ถึงจะมีกำลังก็ไม่มีความหมาย<ref>นายหนหวย, '''กบฏนายสิบ 2478''', กรุงเทพฯ : มติชน, 2543, หน้า 15. </ref>  นายทหารชั้นประทวนระดับสิบตรีถึงจ่านายสิบกระจายกันอยู่ทุกกองพันทหาร เป็นกลไกสำคัญของกองทัพรองจากนายทหารและมีจำนวนมากกว่านายทหาร   




นายสิบในกองทัพทุกกองทัพมาจากคนสองประเภทคือ นายสิบกองประจำการ ได้แก่ผู้ที่ถูกเกณฑ์มารับราชการทหาร เป็นผู้มีพื้นฐานการศึกษาพอสมควร ขยันขันแข็งรักอาชีพทหาร พอรับราชการครบกำหนดปลดประจำการเป็นกองหนุนก็ยื่นความจำนงสมัครอยู่ในกองทัพต่อ อีกประเภทหนึ่งคือนายสิบหลัก ทางกองทัพบกประกาศรับบุคคลธรรมดาเข้าเป็นนักเรียนนายสิบโดยกำหนดคุณวุฒิ นายสิบที่มาจากระดับนี้สามารถเลื่อนขั้นตัวเองโดยผ่านการเรียนในโรงเรียนนายดาบ โรงเรียนนายร้อยจนเป็นจอมพลก็มี (อาทิ [[จอมพล ผิน ชุณหะวัณ]])  ภาระกิจและหน้าที่ของนายสิบหรือนายทหารชั้นประทวนเหล่านี้คือ ร่วมฝึกทหารใหม่ทำหน้าที่ผู้บังคับหมู่ เข้าเวรทำหน้าที่นายสิบเวร เป็นผู้ถือกุญแจคลังอาวุธและกระสุนของแต่ละกองร้อย ดูแลทุกเรื่องราวในกองร้อย ดังนั้นกลุ่มนายสิบจึงเป็นผู้บังคับบัญชาชั้นต่ำแต่อยู่ใกล้ชิดกำลังพลที่สุด<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า16. </ref>  และเป็นตัวแทนที่มาจากคนกลุ่มใหญ่ของสังคมคือประชาชนที่ได้มามีบทบาททางการเมืองในระดับกองทัพ
นายสิบในกองทัพทุกกองทัพมาจากคนสองประเภทคือ นายสิบกองประจำการ ได้แก่ผู้ที่ถูกเกณฑ์มารับราชการทหาร เป็นผู้มีพื้นฐานการศึกษาพอสมควร ขยันขันแข็งรักอาชีพทหาร พอรับราชการครบกำหนดปลดประจำการเป็นกองหนุนก็ยื่นความจำนงสมัครอยู่ในกองทัพต่อ อีกประเภทหนึ่งคือนายสิบหลัก ทางกองทัพบกประกาศรับบุคคลธรรมดาเข้าเป็นนักเรียนนายสิบโดยกำหนดคุณวุฒิ นายสิบที่มาจากระดับนี้สามารถเลื่อนขั้นตัวเองโดยผ่านการเรียนในโรงเรียนนายดาบ โรงเรียนนายร้อยจนเป็นจอมพลก็มี (อาทิ [[ผิน ชุณหะวัณ|จอมพล ผิน ชุณหะวัณ]])  ภารกิจและหน้าที่ของนายสิบหรือนายทหารชั้นประทวนเหล่านี้คือ ร่วมฝึกทหารใหม่ทำหน้าที่ผู้บังคับหมู่ เข้าเวรทำหน้าที่นายสิบเวร เป็นผู้ถือกุญแจคลังอาวุธและกระสุนของแต่ละกองร้อย ดูแลทุกเรื่องราวในกองร้อย ดังนั้นกลุ่มนายสิบจึงเป็นผู้บังคับบัญชาชั้นต่ำแต่อยู่ใกล้ชิดกำลังพลที่สุด<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า16. </ref>  และเป็นตัวแทนที่มาจากคนกลุ่มใหญ่ของสังคมคือประชาชนที่ได้มามีบทบาททางการเมืองในระดับกองทัพ




ในปี พ.ศ.2478 นายทหารชั้นประทวนกลุ่มหนึ่งได้คบคิดกันจะยึดอำนาจด้วยวิธีการรุนแรง มีแผนที่จะสังหารบุคคลสำคัญในฝ่ายรัฐบาลหลายคน เช่น นายพันเอก[[จอมพล แปลก พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งเป็นบุคคลที่คุมกำลังทหารและเป็นแม่ทัพที่ปราบกบฏบวรเดชจนย่อยยับ นอกจากนั้นก็มี พ.ต.อ.[[หลวงอดุลเดชจรัส]] อธิบดีกรมตำรวจ  พระเจ้าวรวงศ์เธอ [[พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ [[พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ]] ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรี สำหรับ พ.อ.[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] หัวหน้า[[คณะราษฎร]] เป็นบุคคลที่ทุกฝ่ายให้ความเคารพ กลุ่มนายทหารชั้นประทวนไม่ได้คิดจะสังหาร แต่จะจับไว้เป็นตัวประกัน แต่ถ้าหากมีการขัดขืนก็จะจัดการอย่างเด็ดขาดรุนแรงที่สุด และจะยึดเอาตึกกระทรวงกลาโหมเป็นกองบัญชาการ จากนั้นเมื่อยึดอำนาจได้แล้วจะถวายราชบัลลังก์คืนแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref>โรม บุนนาค, '''คู่มือรัฐประหาร''', หน้า 86. </ref>  
ในปี พ.ศ.2478 นายทหารชั้นประทวนกลุ่มหนึ่งได้คบคิดกันจะ[[ยึดอำนาจ]]ด้วยวิธีการรุนแรง มีแผนที่จะสังหารบุคคลสำคัญในฝ่ายรัฐบาลหลายคน เช่น นายพันเอก[[แปลก พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงกลาโหม]] ซึ่งเป็นบุคคลที่คุมกำลังทหารและเป็นแม่ทัพที่ปราบกบฏบวรเดชจนย่อยยับ นอกจากนั้นก็มี พ.ต.อ.[[หลวงอดุลเดชจรัส]] อธิบดีกรมตำรวจ  พระเจ้าวรวงศ์เธอ [[พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ [[พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ]] ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรี สำหรับ พ.อ.[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] หัวหน้า[[คณะราษฎร]] เป็นบุคคลที่ทุกฝ่ายให้ความเคารพ กลุ่มนายทหารชั้นประทวนไม่ได้คิดจะสังหาร แต่จะจับไว้เป็นตัวประกัน แต่ถ้าหากมีการขัดขืนก็จะจัดการอย่างเด็ดขาดรุนแรงที่สุด และจะยึดเอาตึกกระทรวงกลาโหมเป็นกองบัญชาการ จากนั้นเมื่อยึดอำนาจได้แล้วจะถวายราชบัลลังก์คืนแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref>โรม บุนนาค, '''คู่มือรัฐประหาร''', หน้า 86. </ref>  


==รายชื่อผู้ถูกจับกุมดำเนินคดี==
==รายชื่อผู้ถูกจับกุมดำเนินคดี==
ความคิดที่จะดำเนินการอย่างรุนแรงด้วยการสังหารบุคคลสำคัญฝ่ายรัฐบาลของนายทหารชั้นประทวนกลุ่มนี้ ทำให้ผู้ร่วมทำการบางคนไม่เห็นด้วยและได้นำความไปเปิดเผยต่อผู้บังคับบัญชา จากนั้นเรื่องจึงถูกรายงานไปถึง พ.อ.[[จอมพล แปลก พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม]] จึงได้มีการสั่งการให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละคนคอยติดตามการเคลื่อนไหวของทหารชั้นประทวนกลุ่มนี้อย่างใกล้ชิดจนรู้พฤติการณ์แน่ชัดแล้ว จึงมีคำสั่งให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละกรมกองเข้าจู่โจมจับทหารในสังกัดของตนที่คิดกบฏ โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 12.30 น. ของวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2478 จนถึงวันที่ 7 สิงหาคม ซึ่งการจู่โจมเข้าจับกุมในครั้งนี้ ทุกคนไม่ทันรู้ตัวจึงไม่มีการต่อสู้ ทุกคนยอมจำนนแต่โดยดี มี'''ผู้ถูกจับเป็นนายทหารชั้นประทวน 22 นาย และ พลเรือน 1 คน''' คือ <ref>รายชื่อของกลุ่มกบฏนายสิบ รวบรวมจากบันทึกและคำสัมภาษณ์ของนายหนหวย ในหนังสือ “กบฏนายสิบ 2478” </ref>
ความคิดที่จะดำเนินการอย่างรุนแรงด้วยการสังหารบุคคลสำคัญฝ่ายรัฐบาลของนายทหารชั้นประทวนกลุ่มนี้ ทำให้ผู้ร่วมทำการบางคนไม่เห็นด้วยและได้นำความไปเปิดเผยต่อผู้บังคับบัญชา จากนั้นเรื่องจึงถูกรายงานไปถึง พ.อ.[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล แปลก พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม]] จึงได้มีการสั่งการให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละคนคอยติดตามการเคลื่อนไหวของทหารชั้นประทวนกลุ่มนี้อย่างใกล้ชิดจนรู้พฤติการณ์แน่ชัดแล้ว จึงมีคำสั่งให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละกรมกองเข้าจู่โจมจับทหารในสังกัดของตนที่คิดกบฏ โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 12.30 น. ของวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2478 จนถึงวันที่ 7 สิงหาคม ซึ่งการจู่โจมเข้าจับกุมในครั้งนี้ ทุกคนไม่ทันรู้ตัวจึงไม่มีการต่อสู้ ทุกคนยอมจำนนแต่โดยดี มี'''ผู้ถูกจับเป็นนายทหารชั้นประทวน 22 นาย และ พลเรือน 1 คน''' คือ <ref>รายชื่อของกลุ่มกบฏนายสิบ รวบรวมจากบันทึกและคำสัมภาษณ์ของนายหนหวย ในหนังสือ “กบฏนายสิบ 2478” </ref>




บรรทัดที่ 55: บรรทัดที่ 55:
|}
|}


 
ในการพิจารณาคดีนี้ ได้มีการจัดตั้งศาลพิเศษ โดยมีคณะกรรมการ 7 คน คือ [[พระยาอภัยสงคราม|พันเอกพระยาอภัยสงคราม]]  [[พระยาวิชัยยุทธเดชาคนี|พันโทพระยาวิชัยยุทธเดชาคนี]]  [[หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต|พันโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต]]  [[หลวงรณสิทธพิชัย|พันโทหลวงรณสิทธพิชัย]]  [[หลวงเสรีเริงฤทธิ์|พันโทหลวงเสรีเริงฤทธิ์]]  [[หิรัญ ปัทมานนท์|ร้อยเอกหิรัญ ปัทมานนท์]]  นาย[[เสงี่ยม กาญจนเสถียร]] คำพิพากษาตัดสินคดีในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2478 ให้'''จำคุกตลอดชีวิตจำเลย 8 คน'''คือ
 
 
ในการพิจารณาคดีนี้ ได้มีการจัดตั้งศาลพิเศษ โดยมีคณะกรรมการ 7 คน คือ [[พระยาอภัยสงคราม|พันเอกพระยาอภัยสงคราม]]  [[พระยาวิชัยยุทธเดชาคนี|พันโทพระยาวิชัยยุทธเดชาคนี]]  [[หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต|พันโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต]]  [[หลวงรณสิทธพิชัย|พันโทหลวงรณสิทธพิชัย]]  [[หลวงเสรีเริงฤทธิ์|พันโทหลวงเสรีเริงฤทธิ์]]  [[หิรัญ ปัทมานนท์|ร้อยเอกหิรัญ ปัทมานนท์]]  นาย[[เสงี่ยม กาญจนเสถียร]] คำพิพากษาตัดสินคดีในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2478 ให้'''จำคุกตลอดชีวิตจำเลย 8 คน'''คือ


1.สิบโทหม่อมหลวงทวีวงศ์ วัชรีวงศ์
1.สิบโทหม่อมหลวงทวีวงศ์ วัชรีวงศ์
บรรทัดที่ 86: บรรทัดที่ 83:


'''จำคุก 16 ปี คนเดียว คือ นายนุ่ม ณ พัทลุง'''  ส่วนคนอื่นๆ นั้นยกฟ้องพ้นข้อหา ยกเว้นสิบเอก[[สวัสดิ์ มะหะหมัด]] ที่ปฏิเสธตลอดข้อหา '''ศาลจึงตัดสินให้ประหารชีวิต'''
'''จำคุก 16 ปี คนเดียว คือ นายนุ่ม ณ พัทลุง'''  ส่วนคนอื่นๆ นั้นยกฟ้องพ้นข้อหา ยกเว้นสิบเอก[[สวัสดิ์ มะหะหมัด]] ที่ปฏิเสธตลอดข้อหา '''ศาลจึงตัดสินให้ประหารชีวิต'''
สิบเอกสวัสดิ์ มะหะหมัด ถูกคุมตัวไปประหารชีวิตที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า สมุทรปราการ ในตอนเช้าวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2478 เป็นนักโทษคนแรกที่ได้รับการลงโทษประหารชีวิตด้วยวิธียิงเป้า
สิบเอกสวัสดิ์ มะหะหมัด ถูกคุมตัวไปประหารชีวิตที่[[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]] สมุทรปราการ ในตอนเช้าวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2478 เป็นนักโทษคนแรกที่ได้รับการลงโทษประหารชีวิตด้วยวิธียิงเป้า


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:27, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง จุฑามาศ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


กบฏนายสิบ เป็นการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่หลายฝ่าย อันนำมาสู่การต่อต้านคณะผู้ดำเนินการและการต่อต้านต่อระบอบการเมืองการปกครองแบบใหม่


หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยได้เพียงปีเศษ ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 ได้เกิดกบฏขึ้นเป็นครั้งแรก โดยมี นายพลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากร อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำ ผลของการก่อการในครั้งนี้ฝ่ายพระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากรเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ และกลุ่มผู้ดำเนินการถูกปราบปรามอย่างรุนแรง จนในที่สุดพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสละราชสมบัติ ซึ่งทั้งสองเหตุการณ์ดังกล่าวได้กระทบกระเทือนจิตใจของผู้ที่จงรักภักดีเป็นอย่างมาก[1]


ในที่สุดได้มีนายทหารชั้นประทวนกลุ่มหนึ่งได้คิดทำการปฏิวัติยึดอำนาจขึ้นมาอีกครั้งหวังคืนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ถวายสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การปฏิวัติครั้งนี้แตกต่างจากการปฏิวัติครั้งอื่นๆคือ เป็นการดำเนินงานนายทหารชั้นประทวน ซึ่งไม่ว่าปฏิวัติรัฐประหารในประเทศไทยนั้น ผู้ที่เป็นแกนนำมักจะเป็นนายทหารชั้นผู้ใหญ่ มียศตั้งแต่นายพันจนถึงนายพล แต่ในการปฏิวัติครั้งนี้เป็นการดำเนินงานของนายทหารระดับจ่ายนายสิบ นายสิบ และ พลทหาร


ในระบบทหารของสังคมไทยนั้น นายทหารชั้นประทวนนับว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ของกองทัพ เป็นพลังเงียบที่มีความสำคัญแต่คนทั่วไปมักมองไม่เห็น หรือถึงจะมองเห็นก็มักถูกมองว่าไม่มีความรู้ถึงจะมีกำลังก็ไม่มีความหมาย[2] นายทหารชั้นประทวนระดับสิบตรีถึงจ่านายสิบกระจายกันอยู่ทุกกองพันทหาร เป็นกลไกสำคัญของกองทัพรองจากนายทหารและมีจำนวนมากกว่านายทหาร


นายสิบในกองทัพทุกกองทัพมาจากคนสองประเภทคือ นายสิบกองประจำการ ได้แก่ผู้ที่ถูกเกณฑ์มารับราชการทหาร เป็นผู้มีพื้นฐานการศึกษาพอสมควร ขยันขันแข็งรักอาชีพทหาร พอรับราชการครบกำหนดปลดประจำการเป็นกองหนุนก็ยื่นความจำนงสมัครอยู่ในกองทัพต่อ อีกประเภทหนึ่งคือนายสิบหลัก ทางกองทัพบกประกาศรับบุคคลธรรมดาเข้าเป็นนักเรียนนายสิบโดยกำหนดคุณวุฒิ นายสิบที่มาจากระดับนี้สามารถเลื่อนขั้นตัวเองโดยผ่านการเรียนในโรงเรียนนายดาบ โรงเรียนนายร้อยจนเป็นจอมพลก็มี (อาทิ จอมพล ผิน ชุณหะวัณ) ภารกิจและหน้าที่ของนายสิบหรือนายทหารชั้นประทวนเหล่านี้คือ ร่วมฝึกทหารใหม่ทำหน้าที่ผู้บังคับหมู่ เข้าเวรทำหน้าที่นายสิบเวร เป็นผู้ถือกุญแจคลังอาวุธและกระสุนของแต่ละกองร้อย ดูแลทุกเรื่องราวในกองร้อย ดังนั้นกลุ่มนายสิบจึงเป็นผู้บังคับบัญชาชั้นต่ำแต่อยู่ใกล้ชิดกำลังพลที่สุด[3] และเป็นตัวแทนที่มาจากคนกลุ่มใหญ่ของสังคมคือประชาชนที่ได้มามีบทบาททางการเมืองในระดับกองทัพ


ในปี พ.ศ.2478 นายทหารชั้นประทวนกลุ่มหนึ่งได้คบคิดกันจะยึดอำนาจด้วยวิธีการรุนแรง มีแผนที่จะสังหารบุคคลสำคัญในฝ่ายรัฐบาลหลายคน เช่น นายพันเอกหลวงพิบูลสงคราม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งเป็นบุคคลที่คุมกำลังทหารและเป็นแม่ทัพที่ปราบกบฏบวรเดชจนย่อยยับ นอกจากนั้นก็มี พ.ต.อ.หลวงอดุลเดชจรัส อธิบดีกรมตำรวจ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ ที่ปรึกษาสำนักนายกรัฐมนตรี สำหรับ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร เป็นบุคคลที่ทุกฝ่ายให้ความเคารพ กลุ่มนายทหารชั้นประทวนไม่ได้คิดจะสังหาร แต่จะจับไว้เป็นตัวประกัน แต่ถ้าหากมีการขัดขืนก็จะจัดการอย่างเด็ดขาดรุนแรงที่สุด และจะยึดเอาตึกกระทรวงกลาโหมเป็นกองบัญชาการ จากนั้นเมื่อยึดอำนาจได้แล้วจะถวายราชบัลลังก์คืนแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว[4]

รายชื่อผู้ถูกจับกุมดำเนินคดี

ความคิดที่จะดำเนินการอย่างรุนแรงด้วยการสังหารบุคคลสำคัญฝ่ายรัฐบาลของนายทหารชั้นประทวนกลุ่มนี้ ทำให้ผู้ร่วมทำการบางคนไม่เห็นด้วยและได้นำความไปเปิดเผยต่อผู้บังคับบัญชา จากนั้นเรื่องจึงถูกรายงานไปถึง พ.อ.จอมพล แปลก พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม จึงได้มีการสั่งการให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละคนคอยติดตามการเคลื่อนไหวของทหารชั้นประทวนกลุ่มนี้อย่างใกล้ชิดจนรู้พฤติการณ์แน่ชัดแล้ว จึงมีคำสั่งให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละกรมกองเข้าจู่โจมจับทหารในสังกัดของตนที่คิดกบฏ โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 12.30 น. ของวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2478 จนถึงวันที่ 7 สิงหาคม ซึ่งการจู่โจมเข้าจับกุมในครั้งนี้ ทุกคนไม่ทันรู้ตัวจึงไม่มีการต่อสู้ ทุกคนยอมจำนนแต่โดยดี มีผู้ถูกจับเป็นนายทหารชั้นประทวน 22 นาย และ พลเรือน 1 คน คือ [5]


1.สิบโทแผ้ว แสงส่งสูง 13.(สามเณร)สิบเอกกวย สินธุวงศ์
2.สิบเอกถม เกตุอำไพ 14.สิบโทเลียบ คหินทพงษ์
3.สิบเอกเท้ง แซ่ซิ้ม 15.นายนุ่ม ณ พัทลุง
4.สิบเอกตะเข็บ สายสุวรรณ 16.สิบโทชื้น ชะเอมพัน
5.สิบโทหม่อมหลวงทวีวงศ์ วัชรีวงศ์ 17.สิบโทปลอด พุ่มวัน
6.จ่านายสิบสาคร ภูมิทัต 18.จ่านายสิบแฉ่ง ฉลาดรบ
7.สิบเอกสวัสดิ์ มะหะหมัด 19.จ่านายสิบริ้ว รัตนกุล
8.จ่ายนายสิบสวัสดิ์ ภักดี 20.สิบโทเหมือน พงษ์เผือก
9.สิบเอกสวัสดิ์ ดิษยบุตร 21.พลทหารจินดา พันธ์เอี่ยม
10.สิบโทสาสน์ คชกุล 22.สิบเอกเกิด สีเขียว
11.สิบเอกเข็ม เฉลยทิศ 23.พลทหารฮก เซ่ง
12.สิบเอกแช่ม บัวปลื้ม

ในการพิจารณาคดีนี้ ได้มีการจัดตั้งศาลพิเศษ โดยมีคณะกรรมการ 7 คน คือ พันเอกพระยาอภัยสงคราม พันโทพระยาวิชัยยุทธเดชาคนี พันโทหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต พันโทหลวงรณสิทธพิชัย พันโทหลวงเสรีเริงฤทธิ์ ร้อยเอกหิรัญ ปัทมานนท์ นายเสงี่ยม กาญจนเสถียร คำพิพากษาตัดสินคดีในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2478 ให้จำคุกตลอดชีวิตจำเลย 8 คนคือ

1.สิบโทหม่อมหลวงทวีวงศ์ วัชรีวงศ์

2.สิบเอกเข็ม เฉลยทิศ

3.สิบเอกถม เกตุอำไพ

4.สิบเอกเท้ง แซ่ซิ้ม

5.สิบเอกกวย สินธุวงศ์

6.สิบโทแผ้ว แสงส่งสูง

7.สิบโทสาสน์ คชกุล

8.จ่านายสิบสาคร ภูมิทัต


จำคุก 20 ปี 3 คน คือ

1.สิบเอกแช่ม บัวปลื้ม

2.สิบเอกตะเข็บ สายสุวรรณ

3.สิบโทเลียบ คหินทพงษ์

จำคุก 16 ปี คนเดียว คือ นายนุ่ม ณ พัทลุง ส่วนคนอื่นๆ นั้นยกฟ้องพ้นข้อหา ยกเว้นสิบเอกสวัสดิ์ มะหะหมัด ที่ปฏิเสธตลอดข้อหา ศาลจึงตัดสินให้ประหารชีวิต สิบเอกสวัสดิ์ มะหะหมัด ถูกคุมตัวไปประหารชีวิตที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า สมุทรปราการ ในตอนเช้าวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2478 เป็นนักโทษคนแรกที่ได้รับการลงโทษประหารชีวิตด้วยวิธียิงเป้า

อ้างอิง

  1. โรม บุนนาค, คู่มือรัฐประหาร, กรุงเทพฯ : สยามบันทึก, 2549, หน้า 86.
  2. นายหนหวย, กบฏนายสิบ 2478, กรุงเทพฯ : มติชน, 2543, หน้า 15.
  3. เรื่องเดียวกัน, หน้า16.
  4. โรม บุนนาค, คู่มือรัฐประหาร, หน้า 86.
  5. รายชื่อของกลุ่มกบฏนายสิบ รวบรวมจากบันทึกและคำสัมภาษณ์ของนายหนหวย ในหนังสือ “กบฏนายสิบ 2478”


ดูเพิ่มเติม

กบฎเสนาธิการ

กบฎแมนฮัตตัน

กบฎพลเอกฉลาด หิรัญศิริ