ผลต่างระหว่างรุ่นของ "19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุต...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
----
----


วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538เป็นวันที่นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญเสนอให้ยุบสภา รัฐบาลขณะนั้นเป็นรัฐบาลผสมที่มีพรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำ
วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538เป็นวันที่[[นายกรัฐมนตรี]][[ชวน หลีกภัย]] ใช้อำนาจตาม[[รัฐธรรมนูญ]]เสนอให้[[ยุบสภา]] [[รัฐบาล]]ขณะนั้นเป็น[[รัฐบาลผสม]]ที่มี[[พรรคประชาธิปัตย์]]เป็นแกนนำ
นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย เป็นหัวหน้ารัฐบาลมาตั้งแต่หลังการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปหลังเหตุการณ์ที่เรียกกันว่า “พฤษภาทมิฬ” การเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกของนายชวน หลีกภัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากจังหวัดตรัง ผู้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย เป็น[[หัวหน้ารัฐบาล]]มาตั้งแต่หลัง[[การเลือกตั้ง]]ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปหลังเหตุการณ์ที่เรียกกันว่า [[“พฤษภาทมิฬ”]] การเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกของนายชวน หลีกภัย [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]จากจังหวัดตรัง ผู้ดำรงตำแหน่ง[[หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์]]
รัฐบาลผสมของนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ประกอบด้วยพรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม และพรรคเอกภาพ มีเสียงรวมกัน 207 เสียง จากจำนวนเสียทั้งหมด 360 เสียงในสภาผู้แทนราษฎร
[[รัฐบาลผสม]]ของนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ประกอบด้วยพรรคประชาธิปัตย์ [[พรรคความหวังใหม่]] [[พรรคพลังธรรม]] [[พรรคกิจสังคม]] และ[[พรรคเอกภาพ]] มีเสียงรวมกัน 207 เสียง จากจำนวนเสียทั้งหมด 360 เสียงใน[[สภาผู้แทนราษฎร]]
รัฐบาลผสมหลายพรรคชุดนี้มีปัญหาในการบริหารประเทศอยู่พอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการเมือง รัฐบาลบริหารบ้านเมืองมาได้ปีกว่าก็ต้องการปรับพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลบางพรรคออกและนำพรรคการเมืองนอกรัฐบาลเข้ามาร่วม แต่นายกรัฐมนตรีก็ยังประคองรัฐบาลของท่านให้อยู่ได้จนข้ามปี พ.ศ. 2537 เข้ามาสู่ปี พ.ศ. 2538
รัฐบาลผสมหลายพรรคชุดนี้มีปัญหาใน[[การบริหารประเทศ]]อยู่พอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการเมือง รัฐบาลบริหารบ้านเมืองมาได้ปีกว่าก็ต้องการปรับพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลบางพรรคออกและนำพรรคการเมืองนอกรัฐบาลเข้ามาร่วม แต่นายกรัฐมนตรีก็ยังประคองรัฐบาลของท่านให้อยู่ได้จนข้ามปี พ.ศ. 2537 เข้ามาสู่ปี พ.ศ. 2538
จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2538 รัฐบาลก็ต้องเจอกับมหกรรมการเมืองประจำปี คือ การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีทั้งคณะของพรรคฝ่ายค้าน การอภิปรายทั่วไปแบบนี้ที่จริงอาจเป็นเรื่องหนักใจของนักการเมืองที่ไม่ได้ลงเลือกตั้งหรือนักการเมืองที่แม้จะลงเลือกตั้งแต่พูดไม่เก่งอยู่พอสมควร แต่สำหรับนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย ที่ลงเลือกตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2512 และเป็นนัการพูดฝีปากคม จึงน่าจะเป็นเรื่องไม่น่าหนักใจ ทั้งนี้การอภิปรายทั่วไปเพื่อจะล้มรัฐบาลครั้งนี้มีขึ้นในวันที่ 17 และ 18  พฤษภาคม พ.ศ. 2538
จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2538 รัฐบาลก็ต้องเจอกับมหกรรมการเมืองประจำปี คือ การขอ[[เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ]]รัฐมนตรีทั้งคณะของ[[พรรคฝ่ายค้าน]] [[การอภิปรายทั่วไป]]แบบนี้ที่จริงอาจเป็นเรื่องหนักใจของนักการเมืองที่ไม่ได้ลงเลือกตั้งหรือนักการเมืองที่แม้จะลงเลือกตั้งแต่พูดไม่เก่งอยู่พอสมควร แต่สำหรับนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย ที่ลงเลือกตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2512 และเป็นนัการพูดฝีปากคม จึงน่าจะเป็นเรื่องไม่น่าหนักใจ ทั้งนี้การอภิปรายทั่วไปเพื่อจะล้มรัฐบาลครั้งนี้มีขึ้นในวันที่ 17 และ 18  พฤษภาคม พ.ศ. 2538
เป้าหมายของการอภิปรายทั่วไปครั้งนี้อยู่ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซึ่งมีเรื่องการปฏิรูปที่ดินที่มองกันว่าป่าไม้ถูกทำลายมากขึ้น และการออกเอกสารสิทธิให้ประชาชนคนทั่วไปมักนึกว่าเป็นการออกเอกสารสิทธิให้แก่ผู้ไม่มีที่ทำกิน  แต่ตามสิทธิ ผู้ที่เคยทำกินมาก่อนและไม่ใช่ผู้ยากจนก็จะได้เอกสารสิทธิ์นั้นด้วย การอภิปรายซึ่งในที่สุดไปเน้นกันมากเรื่อง “เอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01” ที่ฝ่ายค้านได้ยกเอามาเล่นงานพรรคแกนนำของรัฐบาลคือพรรคประชาธิปัตย์
เป้าหมายของการอภิปรายทั่วไปครั้งนี้อยู่ที่[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]ซึ่งมีเรื่อง[[การปฏิรูปที่ดิน]]ที่มองกันว่าป่าไม้ถูกทำลายมากขึ้น และการออกเอกสารสิทธิให้ประชาชนคนทั่วไปมักนึกว่าเป็นการออกเอกสารสิทธิให้แก่ผู้ไม่มีที่ทำกิน  แต่ตามสิทธิ ผู้ที่เคยทำกินมาก่อนและไม่ใช่ผู้ยากจนก็จะได้เอกสารสิทธิ์นั้นด้วย การอภิปรายซึ่งในที่สุดไปเน้นกันมากเรื่อง[[ “เอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01”]] ที่ฝ่ายค้านได้ยกเอามาเล่นงาน[[พรรคแกนนำ]]ของรัฐบาลคือพรรคประชาธิปัตย์
การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนี้ เมื่ออภิปรายกันเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ต้องรอไปลงมติในวันรุ่งขึ้นคือวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 แต่หลังจากการอภิปรายได้มีความเคลื่อนไหวทางการเมืองที่สำคัญจากพรรคการเมืองขนาดกลางที่ร่วมรัฐบาลคือพรรคพลังธรรม ซึ่งมีพลตรี จำลอง ศรีเมือง เป็นหัวหน้าพรรค พรรคการเมืองพรรคนี้มีภาพลักษณ์ที่ดีว่าเป็นพรรคการเมืองสะอาดในสายตาประชาชน พรรคพลังธรรมได้ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคในวันเดียวกัน หลังเสร็จการอภิปรายทั่วไปและมติของคณะกรรมการบริหารพรรคที่ออกมาคือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคจะงดออกเสียง ไม่เพียงเท่านี้ รัฐมนตรีของพรรคในรัฐบาลจะลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 อันเป็นวันที่มีการลงมติว่าจะไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจนั้นด้วย ทั้งนี้  มีการกล่าวกันว่ารัฐมนตรีที่ชี้แจงข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านนั้นชี้แจงได้ไม่ชัดเจน พรรคพลังธรรมนั้นมีเสียงหนุนรัฐบาลอยู่ 47 เสียง การแสดงออกเช่นว่านี้จึงเท่ากับถอนตัวจากรัฐบาลนั่นเอง
การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนี้ เมื่ออภิปรายกันเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ต้องรอไปลงมติในวันรุ่งขึ้นคือวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 แต่หลังจากการอภิปรายได้มีความเคลื่อนไหวทางการเมืองที่สำคัญจาก[[พรรคการเมือง]]ขนาดกลางที่ร่วมรัฐบาลคือพรรคพลังธรรม ซึ่งมีพลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] เป็น[[หัวหน้าพรรค]] พรรคการเมืองพรรคนี้มีภาพลักษณ์ที่ดีว่าเป็นพรรคการเมืองสะอาดในสายตาประชาชน พรรคพลังธรรมได้ประชุม[[คณะกรรมการบริหารพรรค]]ในวันเดียวกัน หลังเสร็จการอภิปรายทั่วไปและมติของคณะกรรมการบริหารพรรคที่ออกมาคือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคจะ[[งดออกเสียง]] ไม่เพียงเท่านี้ รัฐมนตรีของพรรคในรัฐบาลจะลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 อันเป็นวันที่มีการลงมติว่าจะไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจนั้นด้วย ทั้งนี้  มีการกล่าวกันว่ารัฐมนตรีที่ชี้แจงข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านนั้นชี้แจงได้ไม่ชัดเจน พรรคพลังธรรมนั้นมีเสียงหนุนรัฐบาลอยู่ 47 เสียง การแสดงออกเช่นว่านี้จึงเท่ากับถอนตัวจากรัฐบาลนั่นเอง
ดังนั้นนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย จึงเสนอยุบสภาในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 นั่นเอง โดยอ้างเหตุผลตอนหนึ่งว่า
ดังนั้นนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย จึงเสนอ[[ยุบสภา]]ในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 นั่นเอง โดยอ้างเหตุผลตอนหนึ่งว่า
“...ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่าง ๆ หลายพรรคมีความแตกแยกจนไม่สามารถจะดำเนินการทางการเมืองได้อย่างมีเอกภาพ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการแผ่นดินและการพัฒนาประเทศอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ขึ้นอีกก็ตามปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนี้ก็ไม่อาจสิ้นสุดลงได้ อันนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมควรยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่...” วันเลือกตั้งทั่วไปที่ตามมาคือวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ซึ่งผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้คะแนนเป็นอันดับหนึ่ง จึงไม่ได้เป็นแกนตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งทั่วไปดังกล่าว
“...ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่าง ๆ หลายพรรคมีความแตกแยกจนไม่สามารถจะดำเนินการทางการเมืองได้อย่างมีเอกภาพ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการแผ่นดินและการพัฒนาประเทศอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ขึ้นอีกก็ตามปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนี้ก็ไม่อาจสิ้นสุดลงได้ อันนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของการปกครองใน[[ระบอบประชาธิปไตย]] สมควรยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่...” วันเลือกตั้งทั่วไปที่ตามมาคือวันที่ [[2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538]] ซึ่งผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้คะแนนเป็นอันดับหนึ่ง จึงไม่ได้เป็นแกนตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งทั่วไปดังกล่าว
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:17, 10 กันยายน 2556

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538เป็นวันที่นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญเสนอให้ยุบสภา รัฐบาลขณะนั้นเป็นรัฐบาลผสมที่มีพรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำ

นายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย เป็นหัวหน้ารัฐบาลมาตั้งแต่หลังการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปหลังเหตุการณ์ที่เรียกกันว่า “พฤษภาทมิฬ” การเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกของนายชวน หลีกภัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากจังหวัดตรัง ผู้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์

รัฐบาลผสมของนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ประกอบด้วยพรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม และพรรคเอกภาพ มีเสียงรวมกัน 207 เสียง จากจำนวนเสียทั้งหมด 360 เสียงในสภาผู้แทนราษฎร

รัฐบาลผสมหลายพรรคชุดนี้มีปัญหาในการบริหารประเทศอยู่พอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการเมือง รัฐบาลบริหารบ้านเมืองมาได้ปีกว่าก็ต้องการปรับพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลบางพรรคออกและนำพรรคการเมืองนอกรัฐบาลเข้ามาร่วม แต่นายกรัฐมนตรีก็ยังประคองรัฐบาลของท่านให้อยู่ได้จนข้ามปี พ.ศ. 2537 เข้ามาสู่ปี พ.ศ. 2538

จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2538 รัฐบาลก็ต้องเจอกับมหกรรมการเมืองประจำปี คือ การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีทั้งคณะของพรรคฝ่ายค้าน การอภิปรายทั่วไปแบบนี้ที่จริงอาจเป็นเรื่องหนักใจของนักการเมืองที่ไม่ได้ลงเลือกตั้งหรือนักการเมืองที่แม้จะลงเลือกตั้งแต่พูดไม่เก่งอยู่พอสมควร แต่สำหรับนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย ที่ลงเลือกตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2512 และเป็นนัการพูดฝีปากคม จึงน่าจะเป็นเรื่องไม่น่าหนักใจ ทั้งนี้การอภิปรายทั่วไปเพื่อจะล้มรัฐบาลครั้งนี้มีขึ้นในวันที่ 17 และ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2538

เป้าหมายของการอภิปรายทั่วไปครั้งนี้อยู่ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซึ่งมีเรื่องการปฏิรูปที่ดินที่มองกันว่าป่าไม้ถูกทำลายมากขึ้น และการออกเอกสารสิทธิให้ประชาชนคนทั่วไปมักนึกว่าเป็นการออกเอกสารสิทธิให้แก่ผู้ไม่มีที่ทำกิน แต่ตามสิทธิ ผู้ที่เคยทำกินมาก่อนและไม่ใช่ผู้ยากจนก็จะได้เอกสารสิทธิ์นั้นด้วย การอภิปรายซึ่งในที่สุดไปเน้นกันมากเรื่อง“เอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01” ที่ฝ่ายค้านได้ยกเอามาเล่นงานพรรคแกนนำของรัฐบาลคือพรรคประชาธิปัตย์

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนี้ เมื่ออภิปรายกันเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ต้องรอไปลงมติในวันรุ่งขึ้นคือวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 แต่หลังจากการอภิปรายได้มีความเคลื่อนไหวทางการเมืองที่สำคัญจากพรรคการเมืองขนาดกลางที่ร่วมรัฐบาลคือพรรคพลังธรรม ซึ่งมีพลตรี จำลอง ศรีเมือง เป็นหัวหน้าพรรค พรรคการเมืองพรรคนี้มีภาพลักษณ์ที่ดีว่าเป็นพรรคการเมืองสะอาดในสายตาประชาชน พรรคพลังธรรมได้ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคในวันเดียวกัน หลังเสร็จการอภิปรายทั่วไปและมติของคณะกรรมการบริหารพรรคที่ออกมาคือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคจะงดออกเสียง ไม่เพียงเท่านี้ รัฐมนตรีของพรรคในรัฐบาลจะลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 อันเป็นวันที่มีการลงมติว่าจะไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจนั้นด้วย ทั้งนี้ มีการกล่าวกันว่ารัฐมนตรีที่ชี้แจงข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านนั้นชี้แจงได้ไม่ชัดเจน พรรคพลังธรรมนั้นมีเสียงหนุนรัฐบาลอยู่ 47 เสียง การแสดงออกเช่นว่านี้จึงเท่ากับถอนตัวจากรัฐบาลนั่นเอง

ดังนั้นนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย จึงเสนอยุบสภาในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 นั่นเอง โดยอ้างเหตุผลตอนหนึ่งว่า

“...ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่าง ๆ หลายพรรคมีความแตกแยกจนไม่สามารถจะดำเนินการทางการเมืองได้อย่างมีเอกภาพ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการแผ่นดินและการพัฒนาประเทศอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ขึ้นอีกก็ตามปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนี้ก็ไม่อาจสิ้นสุดลงได้ อันนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมควรยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่...” วันเลือกตั้งทั่วไปที่ตามมาคือวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ซึ่งผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้คะแนนเป็นอันดับหนึ่ง จึงไม่ได้เป็นแกนตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งทั่วไปดังกล่าว