ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผ...' |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
==ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร== | ==ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร== | ||
[[กรุงเทพมหานคร]]มี “ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร” เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ซึ่งราษฎรเป็นผู้ลงคะแนน[[เลือกตั้งโดยตรง]]และลับ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี ตั้งแต่มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518]] ซึ่งกรุงเทพมหานครมี[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]โดยตรงจนถึง ปัจจุบัน 7 ครั้ง | |||
'''ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ''' | '''ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ''' | ||
บรรทัดที่ 19: | บรรทัดที่ 19: | ||
|- | |- | ||
|10 สิงหาคม พ.ศ. 2518 | |10 สิงหาคม พ.ศ. 2518 | ||
|align="center" |นายธรรมนูญ เทียนเงิน | |align="center" |[[ธรรมนูญ เทียนเงิน|นายธรรมนูญ เทียนเงิน]] | ||
|align="center" |ประชาธิปัตย์ | |align="center" |[[ประชาธิปัตย์]] | ||
|align="center" |99,247 | |align="center" |99,247 | ||
|- | |- | ||
|14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 | |14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 | ||
|align="center" |พลตรี จำลอง ศรีเมือง | |align="center" |[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]] | ||
|align="center" |พลังธรรม | |align="center" |[[พลังธรรม (พ.ศ. 2531)|พลังธรรม]] | ||
|align="center" |480,233 | |align="center" |480,233 | ||
|- | |- | ||
|7 มกราคม พ.ศ. 2533 | |7 มกราคม พ.ศ. 2533 | ||
|align="center" |พลตรี จำลอง ศรีเมือง | |align="center" |[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]] | ||
|align="center" |พลังธรรม | |align="center" |[[พลังธรรม (พ.ศ. 2531)|พลังธรรม]] | ||
|align="center" |703,671 | |align="center" |703,671 | ||
|- | |- | ||
|19 เมษายน พ.ศ. 2535 | |19 เมษายน พ.ศ. 2535 | ||
|align="center" |ร.อ.กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา | |align="center" |[[ร.อ.กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา]] | ||
|align="center" |อิสระ | |align="center" |อิสระ | ||
|align="center" |363,668 | |align="center" |363,668 | ||
|- | |- | ||
|2 มิถุนายน พ.ศ. 2539 | |2 มิถุนายน พ.ศ. 2539 | ||
|align="center" |นายพิจิตต รัตนกุล | |align="center" |[[พิจิตต รัตนกุล|นายพิจิตต รัตนกุล]] | ||
|align="center" |กลุ่มมดงาน | |align="center" |[[กลุ่มมดงาน]] | ||
|align="center" |768,944 | |align="center" |768,944 | ||
|- | |- | ||
|23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 | |23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 | ||
|align="center" |นายสมัคร สุนทรเวช | |align="center" |[[สมัคร สุนทรเวช|นายสมัคร สุนทรเวช]] | ||
|align="center" |ประชากรไทย | |align="center" |[[ประชากรไทย]] | ||
|align="center" |1,016,096 | |align="center" |1,016,096 | ||
|- | |- | ||
|29 สิงหาคม พ.ศ. 2547 | |29 สิงหาคม พ.ศ. 2547 | ||
|align="center" |นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน | |align="center" |[[อภิรักษ์ โกษะโยธิน|นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน]] | ||
|align="center" |ประชาธิปัตย์ | |align="center" |ประชาธิปัตย์ | ||
|align="center" |911,411 | |align="center" |911,411 | ||
|- | |- | ||
|11 มกราคม พ.ศ. 2552 | |11 มกราคม พ.ศ. 2552 | ||
|align="center" |ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร | |align="center" |[[ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร]] | ||
|align="center" |ประชาธิปัตย์ | |align="center" |ประชาธิปัตย์ | ||
|align="center" |934,602 | |align="center" |934,602 | ||
บรรทัดที่ 68: | บรรทัดที่ 68: | ||
• สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร | • สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร | ||
• | • แต่งตั้งและ[[ถอดถอน]]รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งและถอดถอนผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ | ||
• | • บริหารราชการตามที่[[คณะรัฐมนตรี]] [[นายกรัฐมนตรี]] หรือรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]มอบหมาย | ||
• วางระเบียบเพื่อปรับปรุงงานของกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย | • วางระเบียบเพื่อปรับปรุงงานของกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย | ||
บรรทัดที่ 78: | บรรทัดที่ 78: | ||
• อำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฎหมายอื่น ๆ | • อำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฎหมายอื่น ๆ | ||
• เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร | • เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร และมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายอื่นได้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด [[นายกเทศมนตรี]]หรือ[[คณะเทศมนตรี]] แล้วแต่กรณีโดยอนุโลม ทั้งนี้ เว้นแต่พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครจะได้บัญญัติไว้เป็น อย่างอื่น | ||
==นอกจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครยังมีความสัมพันธ์กันในเรื่องการปฏิบัติราชการอื่น ๆ อีก คือ == | ==นอกจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครยังมีความสัมพันธ์กันในเรื่องการปฏิบัติราชการอื่น ๆ อีก คือ == | ||
• | • มีสิทธิเสนอ[[ร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร]]ได้เหมือนกัน ยกเว้น[[ร่างข้อบัญญัติงบประมาณ]] ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต้องเป็นผู้เสนอ และร่างข้อบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่[[สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร]]เป็นผู้เสนอจะต้องได้คำรับรองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร | ||
• | • สมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีสิทธิ[[ตั้งกระทู้]]ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก็มีสิทธิที่จะไม่ตอบกระทู้ของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร เมื่อเห็นว่าเรื่องนั้นๆ ยังไม่สมควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สำคัญของกรุงเทพมหานคร | ||
• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 | • สมาชิกสภากรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อเสนอ[[เปิดอภิปรายทั่วไป]] เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริงในปัญหาการบริหารราชการ ภายใน 15 วัน โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่มีสิทธิยับยั้งการอภิปราย | ||
• สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพ มหานคร ให้เลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร | • สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพ มหานคร ให้เลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และแต่งตั้ง[[คณะกรรมการวิสามัญ]]ของสภากรุงเทพมหานคร โดยเลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือผู้มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร | ||
• ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ตามจำนวนที่สภากำหนด | • ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ตามจำนวนที่สภากำหนด | ||
• | • [[สภากรุงเทพมหานคร]]มีอำนาจให้ความเห็นชอบในการดำเนินการของกรุงเทพมหานครในเรื่องต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด | ||
== ที่มา == | == ที่มา == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:51, 7 กรกฎาคม 2554
ผู้เรียบเรียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผล
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานครมี “ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร” เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ซึ่งราษฎรเป็นผู้ลงคะแนนเลือกตั้งโดยตรงและลับ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี ตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 ซึ่งกรุงเทพมหานครมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครโดยตรงจนถึง ปัจจุบัน 7 ครั้ง
ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
วันที่มีการเลือกตั้ง | ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจากการเลือกตั้ง | พรรค | คะแนนที่ได้รับ |
---|---|---|---|
10 สิงหาคม พ.ศ. 2518 | นายธรรมนูญ เทียนเงิน | ประชาธิปัตย์ | 99,247 |
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 | พลตรี จำลอง ศรีเมือง | พลังธรรม | 480,233 |
7 มกราคม พ.ศ. 2533 | พลตรี จำลอง ศรีเมือง | พลังธรรม | 703,671 |
19 เมษายน พ.ศ. 2535 | ร.อ.กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา | อิสระ | 363,668 |
2 มิถุนายน พ.ศ. 2539 | นายพิจิตต รัตนกุล | กลุ่มมดงาน | 768,944 |
23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 | นายสมัคร สุนทรเวช | ประชากรไทย | 1,016,096 |
29 สิงหาคม พ.ศ. 2547 | นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน | ประชาธิปัตย์ | 911,411 |
11 มกราคม พ.ศ. 2552 | ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร | ประชาธิปัตย์ | 934,602 |
อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ทั่วไปตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ดังนี้
• กำหนดนโยบาย และบริหารราชการเขตกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามกฎหมาย
• สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร
• แต่งตั้งและถอดถอนรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งและถอดถอนผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ
• บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย
• วางระเบียบเพื่อปรับปรุงงานของกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
• รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานคร
• อำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฎหมายอื่น ๆ
• เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร และมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายอื่นได้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรีหรือคณะเทศมนตรี แล้วแต่กรณีโดยอนุโลม ทั้งนี้ เว้นแต่พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครจะได้บัญญัติไว้เป็น อย่างอื่น
นอกจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครยังมีความสัมพันธ์กันในเรื่องการปฏิบัติราชการอื่น ๆ อีก คือ
• มีสิทธิเสนอร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้เหมือนกัน ยกเว้นร่างข้อบัญญัติงบประมาณ ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต้องเป็นผู้เสนอ และร่างข้อบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเป็นผู้เสนอจะต้องได้คำรับรองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีสิทธิตั้งกระทู้ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก็มีสิทธิที่จะไม่ตอบกระทู้ของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร เมื่อเห็นว่าเรื่องนั้นๆ ยังไม่สมควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สำคัญของกรุงเทพมหานคร
• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อเสนอเปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริงในปัญหาการบริหารราชการ ภายใน 15 วัน โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่มีสิทธิยับยั้งการอภิปราย
• สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพ มหานคร ให้เลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งคณะกรรมการวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร โดยเลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือผู้มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
• ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ตามจำนวนที่สภากำหนด
• สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจให้ความเห็นชอบในการดำเนินการของกรุงเทพมหานครในเรื่องต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด
ที่มา
สถาบันพระปกเกล้า. สารานุกรมการปกครองท้องถิ่น หมวดที่ 3 พัฒนาการและรูปแบบการปกครองท้องถิ่นไทย ลำดับที่ 5 เรื่อง กรุงเทพมหานคร. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
โกวิทย์ พวงงาม. การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2543.
ชูวิทย์ ฉายะบุตร. การปกครองท้องถิ่นไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. การกระจายอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. การบริหารเมืองหลวงและการบริหารท้องถิ่น เปรียบเทรียบ :อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่นและไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2541.
สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร ปีที่ 27, 2542.
พัชรี สิโรรส และอรทัย ก๊กผล บรรณาธิการ. การบริหารเมือง : กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.
สำนักนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร. จากเทศบาลสู่กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร, 2542.
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2539
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545
กรุงเทพมหานคร <www.bma.go.th>