ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเวียนเทียน"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
----
----


'''การเวียนเทียน''' หมายถึง พฤติกรรมในการทุจริตการเลือกตั้งโดยการใช้บัตรประชาชนใบเดียวเวียนกันไปใช้สิทธิเลือกตั้งในหน่วยเลือกตั้งซ้ำกันหลาย ๆ รอบ ซึ่งมักปรากฏหน่วยเลือกตั้งที่มีทหารมาใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นหลัก พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งดังกล่าวเป็นการทุจริตที่ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้สมัครรับเลือกตั้งกับกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วยเลือกตั้ง หรือเป็นหน่วยเลือกตั้งที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งมีอิทธิพลสูง สามารถทำให้กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งให้ร่วมมือในการทุจริตการเลือกตั้ง หรือการวางยุทธศาสตร์โดยให้คนของผู้สมัครรับเลือกตั้งเข้าไปเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง  
'''การเวียนเทียน''' หมายถึง พฤติกรรมในการ[[ทุจริตการเลือกตั้ง]]โดยการใช้บัตรประชาชนใบเดียวเวียนกันไปใช้สิทธิเลือกตั้งในหน่วยเลือกตั้งซ้ำกันหลาย ๆ รอบ ซึ่งมักปรากฏ[[หน่วยเลือกตั้ง]]ที่มีทหารมาใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นหลัก พฤติกรรมการทุจริต[[การเลือกตั้ง]]ดังกล่าวเป็นการทุจริตที่ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้สมัครรับเลือกตั้งกับกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วยเลือกตั้ง หรือเป็นหน่วยเลือกตั้งที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งมีอิทธิพลสูง สามารถทำให้[[กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง]]ให้ร่วมมือในการทุจริตการเลือกตั้ง หรือการวางยุทธศาสตร์โดยให้คนของผู้สมัครรับเลือกตั้งเข้าไปเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง  




พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งโดยวิธีการดังกล่าว มักจะกระทำในเขตเลือกตั้งที่อยู่ห่างไกลจากชุมชน หรือเป็นเขตเลือกตั้งที่มีกลุ่มผู้ใช้สิทธิจำกัด เช่น หน่วยเลือกตั้งที่มีทหารมาใช้สิทธิจำนวนมาก เป็นต้น ซึ่งประชาชนไม่สนใจติดตามการลงคะแนนใช้สิทธิเลือกตั้ง ในหน่วยเลือกตั้งจึงมีเพียงคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ดูแลและควบคุมการใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชน ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เกิดการทุจริตในลักษณะดังกล่าวได้ง่าย และอาศัยช่วงเวลาที่ผู้มาใช้สิทธิไม่มากโดยเฉพาะช่วงเปิดหีบเลือกตั้งใหม่ ๆ หรือใกล้เวลาปิดหีบเลือกตั้ง
พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งโดยวิธีการดังกล่าว มักจะกระทำในเขตเลือกตั้งที่อยู่ห่างไกลจากชุมชน หรือเป็นเขตเลือกตั้งที่มีกลุ่มผู้ใช้สิทธิจำกัด เช่น หน่วยเลือกตั้งที่มีทหารมาใช้สิทธิจำนวนมาก เป็นต้น ซึ่งประชาชนไม่สนใจติดตามการลงคะแนนใช้สิทธิเลือกตั้ง ในหน่วยเลือกตั้งจึงมีเพียงคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ดูแลและควบคุมการใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชน ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เกิดการทุจริตในลักษณะดังกล่าวได้ง่าย และอาศัยช่วงเวลาที่ผู้มาใช้สิทธิไม่มากโดยเฉพาะช่วงเปิด[[หีบเลือกตั้ง]]ใหม่ ๆ หรือใกล้เวลาปิดหีบเลือกตั้ง


พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งโดยวิธีการนี้ เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการแข่งขันกัน 2 พรรคใหญ่ คือ พรรคเสรีมนังคศิลา กับพรรคประชาธิปัตย์
พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งโดยวิธีการนี้ เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัย[[รัฐบาล]][[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ใน[[การเลือกตั้งทั่วไป]]ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการแข่งขันกัน 2 พรรคใหญ่ คือ พรรค[[เสรีมนังคศิลา]] กับพรรค[[ประชาธิปัตย์]]


พรรคเสรีมนังคศิลาเป็นพรรครัฐบาล มีจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรค และพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ เป็นเลขาธิการพรรค ในขณะที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นฝ่ายค้าน มีนายควง อภัยวงศ์ เป็นหัวหน้าพรรค
พรรคเสรีมนังคศิลาเป็นพรรครัฐบาล มีจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรค และพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ เป็นเลขาธิการพรรค ในขณะที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นฝ่ายค้าน มีนายควง อภัยวงศ์ เป็นหัวหน้าพรรค
บรรทัดที่ 20: บรรทัดที่ 20:
การเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นับเป็นการเลือกตั้งที่มีการทุจริตมากที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพราะจอมพล ป. พิบูลสงคราม หัวหน้าพรรค และพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ เลขาธิการ ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่า มีการใช้อำนาจและอิทธิพลของทหารและตำรวจบีบบังคับข้าราชการทหาร ตำรวจ และพลเรือนให้ช่วยพรรคเสรีมนังคศิลาอย่างเต็มที่  
การเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นับเป็นการเลือกตั้งที่มีการทุจริตมากที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพราะจอมพล ป. พิบูลสงคราม หัวหน้าพรรค และพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ เลขาธิการ ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่า มีการใช้อำนาจและอิทธิพลของทหารและตำรวจบีบบังคับข้าราชการทหาร ตำรวจ และพลเรือนให้ช่วยพรรคเสรีมนังคศิลาอย่างเต็มที่  


หลังการเลือกตั้งพรรคเสรีมนังคศิลาชนะพรรคประชาธิปัตย์ แต่หนังสือพิมพ์และสื่อมวลชนทุกแขนงต่างประโคมข่าวการทุจริตการเลือกตั้งอย่างขนานใหญ่ของพรรคเสรีมนังคศิลา ในขณะเดียวกันประชาชนและขบวนการนิสิตนักศึกษาต่างโจมตีการเลือกตั้งสกปรกครั้งนี้ โดยเฉพาะกรณีการทุจริตการเลือกตั้งโดยใช้วิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น พลร่ม ไพ่ไฟ การเวียนเทียน การบีบบังคับข้าราชการประจำ การทุจริตเลือกตั้งในรูปแบบต่าง ๆ ดังกล่าวที่ปรากฏในครั้งนั้น ถือกันว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการทุจริตการเลือกตั้งที่ใช้ต่อ ๆ กันมา
หลังการเลือกตั้งพรรคเสรีมนังคศิลาชนะพรรคประชาธิปัตย์ แต่หนังสือพิมพ์และสื่อมวลชนทุกแขนงต่างประโคมข่าวการทุจริตการเลือกตั้งอย่างขนานใหญ่ของพรรคเสรีมนังคศิลา ในขณะเดียวกันประชาชนและ[[ขบวนการนิสิตนักศึกษา]]ต่างโจมตีการเลือกตั้งสกปรกครั้งนี้ โดยเฉพาะกรณีการทุจริตการเลือกตั้งโดยใช้วิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น [[พลร่ม]] [[ไพ่ไฟ]] การเวียนเทียน การบีบบังคับข้าราชการประจำ การทุจริตเลือกตั้งในรูปแบบต่าง ๆ ดังกล่าวที่ปรากฏในครั้งนั้น ถือกันว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการทุจริตการเลือกตั้งที่ใช้ต่อ ๆ กันมา


พฤติกรรมการอำนาจของรัฐบาลในการทุจริตการเลือกตั้งดังกล่าว ได้สร้างความไม่พอใจให้กลุ่มนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยนิสิตนักศึกษาได้รวมตัวกันประมาณ 2,000 คน ตัดสินใจเด็ดขาดที่จะต่อต้านรัฐบาล นิสิตเหล่านี้ลดธงชาติลงครึ่งเสาซึ่งเป็นการแสดงการไว้อาลัยประชาธิปไตยที่ตายไป ในขณะที่ประชาชนมีการเดินขบวนคัดค้านการเลือกตั้งสกปรก ส่วนพรรคประชาธิปัตย์แสดงการคัดค้านโดยประกาศไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง ถึงแม้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม หัวหน้าพรรคเสรีมนังคศิลาและรักษาการนายกรัฐมนตรี ได้พยายามทุกวิถีทางที่จะทำความเข้าใจกับสื่อมวลชน ประชาชน และนิสิตนักศึกษา แต่ความไม่พอใจในตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเพิ่มมากขึ้น  
พฤติกรรมการอำนาจของรัฐบาลในการทุจริตการเลือกตั้งดังกล่าว ได้สร้างความไม่พอใจให้กลุ่มนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยนิสิตนักศึกษาได้รวมตัวกันประมาณ 2,000 คน ตัดสินใจเด็ดขาดที่จะต่อต้านรัฐบาล นิสิตเหล่านี้ลดธงชาติลงครึ่งเสาซึ่งเป็นการแสดงการไว้อาลัย[[ประชาธิปไตย]]ที่ตายไป ในขณะที่ประชาชนมีการ[[เดินขบวน]]คัดค้านการเลือกตั้งสกปรก ส่วนพรรคประชาธิปัตย์แสดงการคัดค้านโดยประกาศไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง ถึงแม้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม หัวหน้าพรรคเสรีมนังคศิลาและรักษาการนายกรัฐมนตรี ได้พยายามทุกวิถีทางที่จะทำความเข้าใจกับสื่อมวลชน ประชาชน และนิสิตนักศึกษา แต่ความไม่พอใจในตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเพิ่มมากขึ้น  


วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2500 หรือ 1 สัปดาห์หลังการเลือกตั้ง นิสิตเหล่านี้เดินขบวนไปที่กระทรวงมหาดไทยโสยการแนะนนำของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีลาออกและให้มีการเลือกตั้งใหม่ โดยที่มีคณะกรรมการประกอบด้วยนิสิตในการควบคุมการลงคะแนน นายกรัฐมนตรีกล่าวตอบว่า การเลือกตั้งจะเป็นโมฆะก็ต่อเมื่อศาลสั่ง  
วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2500 หรือ 1 สัปดาห์หลังการเลือกตั้ง นิสิตเหล่านี้เดินขบวนไปที่[[กระทรวงมหาดไทย]]โดยการแนะนำของ[[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีลาออกและให้มีการเลือกตั้งใหม่ โดยที่มีคณะกรรมการประกอบด้วยนิสิตในการควบคุม[[การลงคะแนน]] นายกรัฐมนตรีกล่าวตอบว่า การเลือกตั้งจะเป็นโมฆะก็ต่อเมื่อศาลสั่ง  


จอมพล ป. พิบูลสงคราม รักษาการนายกรัฐมนตรี ตัดสินใจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง แต่กลับเพิ่มดีกรีของความรุนแรงให้มากยิ่งขึ้น การเดินขบวนประท้วงของประชาชนและนิสิตนักศึกษามุ่งหน้าจากท้องสนามหลวงสู่ทำเนียบรัฐบาล และในวันเดียวกันนี้ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาความสงบเรียบร้อยตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีอำนาจบังคับบัญชาทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ และตำรวจได้ทั่วราชอาณาจักร  
จอมพล ป. พิบูลสงคราม รักษาการนายกรัฐมนตรี ตัดสินใจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง แต่กลับเพิ่มดีกรีของความรุนแรงให้มากยิ่งขึ้น การเดินขบวนประท้วงของประชาชนและนิสิตนักศึกษามุ่งหน้าจากท้องสนามหลวงสู่[[ทำเนียบรัฐบาล]] และในวันเดียวกันนี้ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาความสงบเรียบร้อยตาม[[ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน]] และมีอำนาจบังคับบัญชาทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ และตำรวจได้ทั่วราชอาณาจักร  


หลังการเลือกตั้งเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 และหลังการรณรงค์คัดค้านการเลือกตั้งที่สกปรก คะแนนนิยมและฐานะของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เสื่อมคลายลงอย่างรวดเร็ว กระทั่งในวันที่ 16 เดือนกันยายน พ.ศ.2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จึงทำรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม  
หลังการเลือกตั้งเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 และหลังการรณรงค์คัดค้านการเลือกตั้งที่สกปรก คะแนนนิยมและฐานะของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เสื่อมคลายลงอย่างรวดเร็ว กระทั่งในวันที่ 16 เดือนกันยายน พ.ศ.2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จึงทำ[[รัฐประหาร]][[ยึดอำนาจ]]จากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม  


[[category:กิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]
[[category:กิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:16, 6 กันยายน 2553


ผู้เรียบเรียง โอฬาร ถิ่นบางเตียว และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


การเวียนเทียน หมายถึง พฤติกรรมในการทุจริตการเลือกตั้งโดยการใช้บัตรประชาชนใบเดียวเวียนกันไปใช้สิทธิเลือกตั้งในหน่วยเลือกตั้งซ้ำกันหลาย ๆ รอบ ซึ่งมักปรากฏหน่วยเลือกตั้งที่มีทหารมาใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นหลัก พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งดังกล่าวเป็นการทุจริตที่ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้สมัครรับเลือกตั้งกับกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วยเลือกตั้ง หรือเป็นหน่วยเลือกตั้งที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งมีอิทธิพลสูง สามารถทำให้กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งให้ร่วมมือในการทุจริตการเลือกตั้ง หรือการวางยุทธศาสตร์โดยให้คนของผู้สมัครรับเลือกตั้งเข้าไปเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง


พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งโดยวิธีการดังกล่าว มักจะกระทำในเขตเลือกตั้งที่อยู่ห่างไกลจากชุมชน หรือเป็นเขตเลือกตั้งที่มีกลุ่มผู้ใช้สิทธิจำกัด เช่น หน่วยเลือกตั้งที่มีทหารมาใช้สิทธิจำนวนมาก เป็นต้น ซึ่งประชาชนไม่สนใจติดตามการลงคะแนนใช้สิทธิเลือกตั้ง ในหน่วยเลือกตั้งจึงมีเพียงคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ดูแลและควบคุมการใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชน ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เกิดการทุจริตในลักษณะดังกล่าวได้ง่าย และอาศัยช่วงเวลาที่ผู้มาใช้สิทธิไม่มากโดยเฉพาะช่วงเปิดหีบเลือกตั้งใหม่ ๆ หรือใกล้เวลาปิดหีบเลือกตั้ง

พฤติกรรมการทุจริตการเลือกตั้งโดยวิธีการนี้ เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการแข่งขันกัน 2 พรรคใหญ่ คือ พรรคเสรีมนังคศิลา กับพรรคประชาธิปัตย์

พรรคเสรีมนังคศิลาเป็นพรรครัฐบาล มีจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรค และพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ เป็นเลขาธิการพรรค ในขณะที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นฝ่ายค้าน มีนายควง อภัยวงศ์ เป็นหัวหน้าพรรค

การเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นับเป็นการเลือกตั้งที่มีการทุจริตมากที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพราะจอมพล ป. พิบูลสงคราม หัวหน้าพรรค และพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ เลขาธิการ ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่า มีการใช้อำนาจและอิทธิพลของทหารและตำรวจบีบบังคับข้าราชการทหาร ตำรวจ และพลเรือนให้ช่วยพรรคเสรีมนังคศิลาอย่างเต็มที่

หลังการเลือกตั้งพรรคเสรีมนังคศิลาชนะพรรคประชาธิปัตย์ แต่หนังสือพิมพ์และสื่อมวลชนทุกแขนงต่างประโคมข่าวการทุจริตการเลือกตั้งอย่างขนานใหญ่ของพรรคเสรีมนังคศิลา ในขณะเดียวกันประชาชนและขบวนการนิสิตนักศึกษาต่างโจมตีการเลือกตั้งสกปรกครั้งนี้ โดยเฉพาะกรณีการทุจริตการเลือกตั้งโดยใช้วิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น พลร่ม ไพ่ไฟ การเวียนเทียน การบีบบังคับข้าราชการประจำ การทุจริตเลือกตั้งในรูปแบบต่าง ๆ ดังกล่าวที่ปรากฏในครั้งนั้น ถือกันว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการทุจริตการเลือกตั้งที่ใช้ต่อ ๆ กันมา

พฤติกรรมการอำนาจของรัฐบาลในการทุจริตการเลือกตั้งดังกล่าว ได้สร้างความไม่พอใจให้กลุ่มนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยนิสิตนักศึกษาได้รวมตัวกันประมาณ 2,000 คน ตัดสินใจเด็ดขาดที่จะต่อต้านรัฐบาล นิสิตเหล่านี้ลดธงชาติลงครึ่งเสาซึ่งเป็นการแสดงการไว้อาลัยประชาธิปไตยที่ตายไป ในขณะที่ประชาชนมีการเดินขบวนคัดค้านการเลือกตั้งสกปรก ส่วนพรรคประชาธิปัตย์แสดงการคัดค้านโดยประกาศไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง ถึงแม้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม หัวหน้าพรรคเสรีมนังคศิลาและรักษาการนายกรัฐมนตรี ได้พยายามทุกวิถีทางที่จะทำความเข้าใจกับสื่อมวลชน ประชาชน และนิสิตนักศึกษา แต่ความไม่พอใจในตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเพิ่มมากขึ้น

วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2500 หรือ 1 สัปดาห์หลังการเลือกตั้ง นิสิตเหล่านี้เดินขบวนไปที่กระทรวงมหาดไทยโดยการแนะนำของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีลาออกและให้มีการเลือกตั้งใหม่ โดยที่มีคณะกรรมการประกอบด้วยนิสิตในการควบคุมการลงคะแนน นายกรัฐมนตรีกล่าวตอบว่า การเลือกตั้งจะเป็นโมฆะก็ต่อเมื่อศาลสั่ง

จอมพล ป. พิบูลสงคราม รักษาการนายกรัฐมนตรี ตัดสินใจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง แต่กลับเพิ่มดีกรีของความรุนแรงให้มากยิ่งขึ้น การเดินขบวนประท้วงของประชาชนและนิสิตนักศึกษามุ่งหน้าจากท้องสนามหลวงสู่ทำเนียบรัฐบาล และในวันเดียวกันนี้ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาความสงบเรียบร้อยตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และมีอำนาจบังคับบัญชาทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ และตำรวจได้ทั่วราชอาณาจักร

หลังการเลือกตั้งเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 และหลังการรณรงค์คัดค้านการเลือกตั้งที่สกปรก คะแนนนิยมและฐานะของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เสื่อมคลายลงอย่างรวดเร็ว กระทั่งในวันที่ 16 เดือนกันยายน พ.ศ.2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จึงทำรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม