ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้จัดการรัฐบาล"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒิป...
 
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
== ผู้จัดการรัฐบาล ==
== ผู้จัดการรัฐบาล ==


'''“ผู้จัดการรัฐบาล”''' เป็นคำที่ใช้สำหรับเรียกบุคคลผู้มีบทบาทสำคัญในการประสานการเจรจาและต่อรองระหว่างพรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาล กับพรรคการเมืองอื่น เพื่อระดมเสียงสนับสนุนจากพรรคเหล่านั้นในการจัดตั้งรัฐบาล ผู้ที่ทำหน้าที่ผู้จัดการรัฐบาลมักจะเป็นเลขาธิการพรรคการเมืองขนาดใหญ่ซึ่งมีเสียงในสภาเพียงพอที่จะเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล
'''“ผู้จัดการรัฐบาล”''' เป็นคำที่ใช้สำหรับเรียกบุคคลผู้มีบทบาทสำคัญในการประสาน[[การเจรจาและต่อรอง]]ระหว่าง[[พรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาล]] กับ[[พรรคการเมือง]]อื่น เพื่อระดมเสียงสนับสนุนจากพรรคเหล่านั้นในการจัดตั้ง[[รัฐบาล]] ผู้ที่ทำหน้าที่ผู้จัดการรัฐบาลมักจะเป็น[[เลขาธิการพรรค]]การเมืองขนาดใหญ่ซึ่งมีเสียงในสภาเพียงพอที่จะเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล


'''บทบาทที่สำคัญของผู้จัดการรัฐบาล''' คือ การประสานความสัมพันธ์และเจรจากับแกนนำพรรคการเมือง และกลุ่มการเมืองต่าง ตลอดจนเสนอข้อต่อรองเพื่อชักชวนโน้มน้าวให้พรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีเสียงในสภาหันมาเข้าเพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสมหลายพรรค นอกจากนี้ ผู้จัดการรัฐบาลยังมีบทบาทในการเจรจาต่อรองเพื่อจัดสรรสัดส่วนตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง สำหรับพรรคการเมืองที่เข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล อีกทั้งยังมีบทบาทในการประสานการเจรจาต่อรองในการปรับคณะรัฐมนตรีอีกด้วย
'''บทบาทที่สำคัญของผู้จัดการรัฐบาล''' คือ การประสานความสัมพันธ์และเจรจากับแกนนำพรรคการเมือง และ[[กลุ่มการเมือง]]ต่าง ตลอดจนเสนอข้อต่อรองเพื่อชักชวนโน้มน้าวให้พรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีเสียงในสภาหันมาเข้าเพื่อจัดตั้ง[[รัฐบาลผสมหลายพรรค]] นอกจากนี้ ผู้จัดการรัฐบาลยังมีบทบาทในการเจรจาต่อรองเพื่อจัดสรรสัดส่วนตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวง]]ต่าง สำหรับ[[พรรคการเมือง]]ที่เข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล อีกทั้งยังมีบทบาทในการประสานการเจรจาต่อรองในการปรับ[[คณะรัฐมนตรี]]อีกด้วย


แม้ว่าผู้จัดการรัฐบาลจะมิใช่ตำแหน่งทางการเมืองที่เป็นทางการ แต่ถือได้ว่าบุคคลผู้ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้ มีบทบาทสำคัญในการสร้างเสถียรสภาพของรัฐบาล โดยเฉพาะในกรณีที่พรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาลมิได้ยึดกุมเสียงข้างมากในสภาอย่างเพียงพอที่จะตั้งรัฐบาลพรรคเดียว หรือมีเสียงในสภาเกินกว่าพรรคฝ่ายค้านเพียงเล็กน้อย ซึ่งการจัดตั้งรัฐบาลในกรณีนี้ การได้รับเสียงสนับสนุนจากพรรคร่วมรัฐบาลถือว่ามีความสำคัญอย่างมากต่อความมั่นคงของรัฐบาล ดังนั้น ความไม่ลงรอยหรือความไม่ลงตัวในการจัดสรรตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล จึงถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อระดับการมีเสถียรภาพของรัฐบาล
แม้ว่าผู้จัดการรัฐบาลจะมิใช่ตำแหน่งทางการเมืองที่เป็นทางการ แต่ถือได้ว่าบุคคลผู้ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้ มีบทบาทสำคัญในการสร้างเสถียรสภาพของรัฐบาล โดยเฉพาะในกรณีที่[[พรรคแกนนำ]]จัดตั้งรัฐบาลมิได้ยึดกุมเสียงข้างมากในสภาอย่างเพียงพอที่จะตั้ง[[รัฐบาลพรรคเดียว]] หรือมีเสียงในสภาเกินกว่า[[พรรคฝ่ายค้าน]]เพียงเล็กน้อย ซึ่งการจัดตั้งรัฐบาลในกรณีนี้ การได้รับเสียงสนับสนุนจาก[[พรรคร่วมรัฐบาล]]ถือว่ามีความสำคัญอย่างมากต่อความมั่นคงของรัฐบาล ดังนั้น ความไม่ลงรอยหรือความไม่ลงตัวในการจัดสรรตำแหน่งใน[[คณะรัฐมนตรี]]ระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล จึงถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อระดับการมีเสถียรภาพของรัฐบาล


== ที่มา ==
== ที่มา ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:18, 30 สิงหาคม 2553

ผู้เรียบเรียง นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


ผู้จัดการรัฐบาล

“ผู้จัดการรัฐบาล” เป็นคำที่ใช้สำหรับเรียกบุคคลผู้มีบทบาทสำคัญในการประสานการเจรจาและต่อรองระหว่างพรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาล กับพรรคการเมืองอื่น ๆ เพื่อระดมเสียงสนับสนุนจากพรรคเหล่านั้นในการจัดตั้งรัฐบาล ผู้ที่ทำหน้าที่ผู้จัดการรัฐบาลมักจะเป็นเลขาธิการพรรคการเมืองขนาดใหญ่ซึ่งมีเสียงในสภาเพียงพอที่จะเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล

บทบาทที่สำคัญของผู้จัดการรัฐบาล คือ การประสานความสัมพันธ์และเจรจากับแกนนำพรรคการเมือง และกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ตลอดจนเสนอข้อต่อรองเพื่อชักชวนโน้มน้าวให้พรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีเสียงในสภาหันมาเข้าเพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสมหลายพรรค นอกจากนี้ ผู้จัดการรัฐบาลยังมีบทบาทในการเจรจาต่อรองเพื่อจัดสรรสัดส่วนตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ สำหรับพรรคการเมืองที่เข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล อีกทั้งยังมีบทบาทในการประสานการเจรจาต่อรองในการปรับคณะรัฐมนตรีอีกด้วย

แม้ว่าผู้จัดการรัฐบาลจะมิใช่ตำแหน่งทางการเมืองที่เป็นทางการ แต่ถือได้ว่าบุคคลผู้ทำหน้าที่ดังกล่าวนี้ มีบทบาทสำคัญในการสร้างเสถียรสภาพของรัฐบาล โดยเฉพาะในกรณีที่พรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาลมิได้ยึดกุมเสียงข้างมากในสภาอย่างเพียงพอที่จะตั้งรัฐบาลพรรคเดียว หรือมีเสียงในสภาเกินกว่าพรรคฝ่ายค้านเพียงเล็กน้อย ซึ่งการจัดตั้งรัฐบาลในกรณีนี้ การได้รับเสียงสนับสนุนจากพรรคร่วมรัฐบาลถือว่ามีความสำคัญอย่างมากต่อความมั่นคงของรัฐบาล ดังนั้น ความไม่ลงรอยหรือความไม่ลงตัวในการจัดสรรตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล จึงถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อระดับการมีเสถียรภาพของรัฐบาล

ที่มา

“ทำไมรัฐบาลไม่มีผลงาน” คอลัมน์ลม เปลี่ยนทิศ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ วันเสาร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2552

สุทธิชัย หยุ่น “วิเคราะห์การเมือง : วาระ"ผู้จัดการรัฐบาล" พักรบเพื่อชาติ” [URL ] http://www.suthichaiyoon.com/WS01_A001_news.php?newsid=7449(2 มกราคม พ.ศ. 2552 08:57:00)

“สุเทพบอกหากจับมือพท.ต้องเปลี่ยน ผจก.รัฐบาล” กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ http://news.mcot.net/politic/inside.php?value=bmlkPTc3NTY4Jm50eXBlPXRleHQ=วันที่ เข้าถึง ข้อมูลวันที่ 24 มิถุนายน 2552