ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังคมนิยมแห่งประเทศไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
'''ผู้เรียบเรียง''' รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 10:
== พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย ==
== พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย ==


พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย เป็น[[พรรคการเมือง]]ที่จดทะเบียนจัดตั้งตาม[[พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517]] โดยมีนายสมคิด ศรีสังคม เป็น[[หัวหน้าพรรค]] นายบุญสนอง บุณโยทยาน เป็น[[เลขาธิการพรรค]]  
พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย เป็น[[พรรคการเมือง|พรรคการเมือง]]ที่จดทะเบียนจัดตั้งตาม[[พระราชบัญญัติพรรคการเมือง_พ.ศ._2517|พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517]] โดยมีนายสมคิด ศรีสังคม เป็น[[หัวหน้าพรรค|หัวหน้าพรรค]] นายบุญสนอง บุณโยทยาน เป็น[[เลขาธิการพรรค|เลขาธิการพรรค]]


== นโยบายพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย ==
== นโยบายพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย ==
พรรคสังคมนิยมจะเชิดชูสถาบันชาติ ศาสนา [[พระมหากษัตริย์]] โดยเฉพาะระบอบ[[ปกครองแบบรัฐสภา]] โดยส่งเสริมให้ได้นับถือศาสนา และไม่ให้เสื่อม โดยให้กรมการศาสนากำกับดูแลวัดวาอารามให้ปฏิบัติตามหลักศาสนาโดยเคร่งครัด การดำเนินนโยบายแบบ[[สังคมนิยม]] จะไม่กระทบกระเทือน[[สิทธิเสรีภาพ]]ของประชาชน พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยจะมุ่งส่งเสริมสิทธิ[[ความเท่าเทียม]]ระหว่างบุรุษและสตรี ทั้งในสิทธิการเข้ารับราชการ สิทธิในการทำงาน สิทธิทางสังคมต่าง ๆ


'''นโยบายทางเศรษฐกิจ''' ยึดถือหลักการจัดระบบเศรษฐกิจตามหลักสังคมนิยมโดยทั่วไป หาทางแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำต่ำสูงระหว่างคนมีและคนจน ระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปในทางสร้างสรรค์ความเป็นธรรมทางสังคมให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยรัฐจะต้องเร่งรัดการผลิต ส่งเสริมการผลิต ด้วยการพิจารณาเวนคืนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับประชาชนโดยส่วนใหญ่ โดยรัฐต้องเข้าควบคุมดำเนินการเอง  
พรรคสังคมนิยมจะเชิดชูสถาบันชาติ ศาสนา [[พระมหากษัตริย์|พระมหากษัตริย์]] โดยเฉพาะระบอบ[[ปกครองแบบรัฐสภา|ปกครองแบบรัฐสภา]] โดยส่งเสริมให้ได้นับถือศาสนา และไม่ให้เสื่อม โดยให้กรมการศาสนากำกับดูแลวัดวาอารามให้ปฏิบัติตามหลักศาสนาโดยเคร่งครัด การดำเนินนโยบายแบบ[[สังคมนิยม|สังคมนิยม]] จะไม่กระทบกระเทือน[[สิทธิเสรีภาพ|สิทธิเสรีภาพ]]ของประชาชน พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยจะมุ่งส่งเสริมสิทธิ[[ความเท่าเทียม|ความเท่าเทียม]]ระหว่างบุรุษและสตรี ทั้งในสิทธิการเข้ารับราชการ สิทธิในการทำงาน สิทธิทางสังคมต่าง ๆ
พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยเห็นว่า ปัญหาทางเศรษฐกิจมีสาเหตุมาจากเรื่องการผลิต การลงทุนและการจำหน่ายสินค้า ซึ่งส่งผลให้ค่าครองชีพของประชาชนอยู่ในระดับสูง เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม แต่ก็จำเป็นต้องมีการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อการบริโภคอุปโภคด้วย ดังนั้น รัฐจำเป็นต้องสร้างสมดุลระหว่างการผลิตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยส่งเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว ปอ ข้าวโพด เป็นต้น สำหรับเป็นรากฐานทางเศรษฐกิจ จากนั้นก็พัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับผลผลิตการเกษตรและทรัพยากรที่มีในประเทศ
 
'''นโยบายทางเศรษฐกิจ''' ยึดถือหลักการจัดระบบเศรษฐกิจตามหลักสังคมนิยมโดยทั่วไป หาทางแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำต่ำสูงระหว่างคนมีและคนจน ระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปในทางสร้างสรรค์ความเป็นธรรมทางสังคมให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยรัฐจะต้องเร่งรัดการผลิต ส่งเสริมการผลิต ด้วยการพิจารณาเวนคืนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับประชาชนโดยส่วนใหญ่ โดยรัฐต้องเข้าควบคุมดำเนินการเอง พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยเห็นว่า ปัญหาทางเศรษฐกิจมีสาเหตุมาจากเรื่องการผลิต การลงทุนและการจำหน่ายสินค้า ซึ่งส่งผลให้ค่าครองชีพของประชาชนอยู่ในระดับสูง เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม แต่ก็จำเป็นต้องมีการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อการบริโภคอุปโภคด้วย ดังนั้น รัฐจำเป็นต้องสร้างสมดุลระหว่างการผลิตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยส่งเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว ปอ ข้าวโพด เป็นต้น สำหรับเป็นรากฐานทางเศรษฐกิจ จากนั้นก็พัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับผลผลิตการเกษตรและทรัพยากรที่มีในประเทศ


แก้ไข[[การบริหารราชการแผ่นดิน]] ให้ประชาชนมีสิทธิ มีส่วนในการปกครองให้มากที่สุด โดย[[กระจายอำนาจ]]ส่วนกลางไปให้ท้องถิ่นให้มากที่สุด ต้องปรับปรุงก[[ระทรวงมหาดไทย]] โดยให้มี[[การเลือกตั้ง]]ผู้พิพากษาจากคนในท้องถิ่น เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้พิพากษาสงเคราะห์ แก้ไขกลไกการบริหารราชการ โดยจัดการปัญหาข้าราชการเฉื่อยชา มีประสิทธิภาพน้อย และพิจารณาปรับปรุง[[กระทรวง]]ทบวงกรมใหม่ โดยอาจมีการยุบหรือตั้งกระทรวงใหม่ให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ ยังต้องแยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการทางการเมืองให้เด็ดขาด และหาทางป้องกันมิใช้[[นักการเมือง]]ใช้ข้าราชการประจำเป็นเครื่องมือ โดยกำหนดให้ข้าราชการระดับอธิบดีลงมา มีความเป็นอิสระในการบริหารราชการภายใต้นโยบายของกระทรวง โดยไม่อยู่ภายใต้[[การแทรกแซง]]หรือสั่งการของนักการเมือง
แก้ไข[[การบริหารราชการแผ่นดิน|การบริหารราชการแผ่นดิน]] ให้ประชาชนมีสิทธิ มีส่วนในการปกครองให้มากที่สุด โดย[[กระจายอำนาจ|กระจายอำนาจ]]ส่วนกลางไปให้ท้องถิ่นให้มากที่สุด ต้องปรับปรุง[[กระทรวงมหาดไทย]] โดยให้มี[[การเลือกตั้ง|การเลือกตั้ง]]ผู้พิพากษาจากคนในท้องถิ่น เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้พิพากษาสงเคราะห์ แก้ไขกลไกการบริหารราชการ โดยจัดการปัญหาข้าราชการเฉื่อยชา มีประสิทธิภาพน้อย และพิจารณาปรับปรุง[[กระทรวง|กระทรวง]]ทบวงกรมใหม่ โดยอาจมีการยุบหรือตั้งกระทรวงใหม่ให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ ยังต้องแยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการทางการเมืองให้เด็ดขาด และหาทางป้องกันมิใช้[[นักการเมือง|นักการเมือง]]ใช้ข้าราชการประจำเป็นเครื่องมือ โดยกำหนดให้ข้าราชการระดับอธิบดีลงมา มีความเป็นอิสระในการบริหารราชการภายใต้นโยบายของกระทรวง โดยไม่อยู่ภายใต้[[การแทรกแซง|การแทรกแซง]]หรือสั่งการของนักการเมือง


ความสงบเรียบร้อยภายในบ้านเมือง จะต้องเพิ่มสมรรถภาพของข้าราชการตำรวจ ให้มีสรรถภาพในการปราบโจรผู้ร้าย เพิ่มสวัสดิการและเงินเดือนให้แก่ตำรวจชั้นผู้น้อย เลิกยศตำรวจให้เป็นข้าราชการพลเรือน นอกจากยศผู้น้อยถึง ร.ต.อ. หรือ พ.ต.ต. นอกจากนี้ ยังต้องเข้มงวดกวดขันตำรวจในทุกตำแหน่ง โดยเฉพาะในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต  
ความสงบเรียบร้อยภายในบ้านเมือง จะต้องเพิ่มสมรรถภาพของข้าราชการตำรวจ ให้มีสรรถภาพในการปราบโจรผู้ร้าย เพิ่มสวัสดิการและเงินเดือนให้แก่ตำรวจชั้นผู้น้อย เลิกยศตำรวจให้เป็นข้าราชการพลเรือน นอกจากยศผู้น้อยถึง ร.ต.อ. หรือ พ.ต.ต. นอกจากนี้ ยังต้องเข้มงวดกวดขันตำรวจในทุกตำแหน่ง โดยเฉพาะในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต


'''นโยบายด้านการเกษตร''' รัฐจะต้องหาทางช่วยเหลือเกษตรกรโดยตรง โดยหาทางแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดิน เรื่องน้ำ ปัญหาหนี้สินเกษตรกร ต้องมีการปฏิรูปที่ดิน โดยเวนคืนที่ดินที่นายทุนถือครองมาให้จัดสรรแก่เกษตรกร รัฐต้องใช้ระบบสหกรณ์จัดการที่ดินหลุดกรรมสิทธิ์ โดยรัฐเวนคืนที่ดินมาแล้วให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ เพื่อจัดสรรแบ่งให้แก่เกษตรกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ต่อไป ทั้งนี้ควรมี[[กฎหมาย]]กำหนดให้นายทุนมีที่ดินในความครอบครองได้ไม่เกินคนละ 50 ไร่เท่านั้น นอกจากการผลิตแล้ว รัฐต้องเป็นผู้จัดหาตลาดสำหรับผลิตผลทางการเกษตร โดยเฉพาะข้าว โดยหาตลาดภายนอกประเทศ และอาศัย[[รัฐวิสาหกิจ]]ดำเนินการนำเข้าและส่งออกภายใต้การกำกับควบคุมของรัฐอย่างใกล้ชิด ในขณะเดียวกันก็ต้องประกันราคาสินค้าเกษตรด้วย
'''นโยบายด้านการเกษตร''' รัฐจะต้องหาทางช่วยเหลือเกษตรกรโดยตรง โดยหาทางแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดิน เรื่องน้ำ ปัญหาหนี้สินเกษตรกร ต้องมีการปฏิรูปที่ดิน โดยเวนคืนที่ดินที่นายทุนถือครองมาให้จัดสรรแก่เกษตรกร รัฐต้องใช้ระบบสหกรณ์จัดการที่ดินหลุดกรรมสิทธิ์ โดยรัฐเวนคืนที่ดินมาแล้วให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ เพื่อจัดสรรแบ่งให้แก่เกษตรกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ต่อไป ทั้งนี้ควรมี[[กฎหมาย|กฎหมาย]]กำหนดให้นายทุนมีที่ดินในความครอบครองได้ไม่เกินคนละ 50 ไร่เท่านั้น นอกจากการผลิตแล้ว รัฐต้องเป็นผู้จัดหาตลาดสำหรับผลิตผลทางการเกษตร โดยเฉพาะข้าว โดยหาตลาดภายนอกประเทศ และอาศัย[[รัฐวิสาหกิจ|รัฐวิสาหกิจ]]ดำเนินการนำเข้าและส่งออกภายใต้การกำกับควบคุมของรัฐอย่างใกล้ชิด ในขณะเดียวกันก็ต้องประกันราคาสินค้าเกษตรด้วย


การพัฒนาชนบท ต้องมีการพัฒนาถนนให้รถสามารถวิ่งได้ในทุกฤดูกาล เพื่อให้ประชาชนขวนขวายทำมาหากิน และขนส่งสินค้าการเกษตรออกสู่ตลาด รัฐจะต้องพัฒนาคลองส่งน้ำให้ทั่วถึง โดยเฉพาะคลองชลประทานในภาคอิสาน ส่งเสริมชลประทานในตำบลหมู่บ้านต่าง ๆ เพื่อให้เกษตรกรมีแหล่งนั้นสำหรับการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ และเพาะปลูกพืชไร่ต่าง ๆ ให้ได้อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
การพัฒนาชนบท ต้องมีการพัฒนาถนนให้รถสามารถวิ่งได้ในทุกฤดูกาล เพื่อให้ประชาชนขวนขวายทำมาหากิน และขนส่งสินค้าการเกษตรออกสู่ตลาด รัฐจะต้องพัฒนาคลองส่งน้ำให้ทั่วถึง โดยเฉพาะคลองชลประทานในภาคอิสาน ส่งเสริมชลประทานในตำบลหมู่บ้านต่าง ๆ เพื่อให้เกษตรกรมีแหล่งนั้นสำหรับการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ และเพาะปลูกพืชไร่ต่าง ๆ ให้ได้อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง


การพัฒนาในเขตเมือง จะต้องกวดขันเรื่องสิ่งแวดล้อมและผังเมือง น้ำเสีย อากาศเป็นพิษ โดยรัฐบาลจะต้องจัดทำผังเมืองใหม่ในกรุงเทพฯ ไม่ให้เอกชนตัดถนน ตัดซอย ถมดิน หรือจัดสรรที่ดินสำหรับปลูกสร้างที่อยู่อาศัยได้ตามใจชอบ การจัดสรรเขตพื้นที่อุตสาหกรรมต้องมีความเข้มงวดกวดขันโดยรัฐต้องออกกฎหมายกำกับควบคุมการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม
การพัฒนาในเขตเมือง จะต้องกวดขันเรื่องสิ่งแวดล้อมและผังเมือง น้ำเสีย อากาศเป็นพิษ โดยรัฐบาลจะต้องจัดทำผังเมืองใหม่ในกรุงเทพฯ ไม่ให้เอกชนตัดถนน ตัดซอย ถมดิน หรือจัดสรรที่ดินสำหรับปลูกสร้างที่อยู่อาศัยได้ตามใจชอบ การจัดสรรเขตพื้นที่อุตสาหกรรมต้องมีความเข้มงวดกวดขันโดยรัฐต้องออกกฎหมายกำกับควบคุมการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม


พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย เห็นว่า[[รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517]] เป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็น[[ประชาธิปไตย]]มากที่สุด โดยเฉพาะการให้[[สิทธิเสรีภาพ]]แก่ประชาชนเพิ่มมากขึ้น แต่ควรแก้ไขบท[[บัญญัติ]]ที่กำหนดให้[[วุฒิสภา]]มาจากการแต่งตั้งโดย[[พระมหากษัตริย์]] สำหรับเกณฑ์อายุขั้นต่ำของผู้มีสิทธิ[[ลงคะแนนเสียง]]เลือกตั้งนั้น พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยเห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องแก้ไข เพราะเห็นว่าสิทธิเสรีภาพในเรื่องอื่น ๆ มีความสำคัญมากกว่า ส่วนการเลือกตั้งเป็นเพียงการให้สิทธิที่ใช้ได้เพียงแค่วันเดียว  
พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย เห็นว่า[[รัฐธรรมนูญฉบับ_พ.ศ._2517|รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517]] เป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็น[[ประชาธิปไตย|ประชาธิปไตย]]มากที่สุด โดยเฉพาะการให้[[สิทธิเสรีภาพ|สิทธิเสรีภาพ]]แก่ประชาชนเพิ่มมากขึ้น แต่ควรแก้ไขบท[[บัญญัติ|บัญญัติ]]ที่กำหนดให้[[วุฒิสภา|วุฒิสภา]]มาจากการแต่งตั้งโดย[[พระมหากษัตริย์|พระมหากษัตริย์]] สำหรับเกณฑ์อายุขั้นต่ำของผู้มีสิทธิ[[ลงคะแนนเสียง|ลงคะแนนเสียง]]เลือกตั้งนั้น พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยเห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องแก้ไข เพราะเห็นว่าสิทธิเสรีภาพในเรื่องอื่น ๆ มีความสำคัญมากกว่า ส่วนการเลือกตั้งเป็นเพียงการให้สิทธิที่ใช้ได้เพียงแค่วันเดียว


'''นโยบายด้านการศึกษา''' พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย จะให้รัฐจัดบริการการศึกษาแก่เยาวชนโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยให้ทุนการศึกษาอย่างทั่วถึงนับแต่การศึกษาภาคบังคับไปจนถึงการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จะมีการส่งเสริมคุณภาพของครูผู้สอน โดยพัฒนาสวัสดิการสำหรับครูในชนบท แก้ไขปัญหาหนี้สินของครู และสร้างขวัญกำลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจในอาชีพ
'''นโยบายด้านการศึกษา''' พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย จะให้รัฐจัดบริการการศึกษาแก่เยาวชนโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยให้ทุนการศึกษาอย่างทั่วถึงนับแต่การศึกษาภาคบังคับไปจนถึงการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จะมีการส่งเสริมคุณภาพของครูผู้สอน โดยพัฒนาสวัสดิการสำหรับครูในชนบท แก้ไขปัญหาหนี้สินของครู และสร้างขวัญกำลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจในอาชีพ


'''นโยบายด้านการสาธารณสุข''' พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยจะมุ่งทุ่มเทงบประมาณส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน นับตั้งแต่การวางแผนครอบครัว ส่งเสริมความรู้เรื่องสุขอนามัย ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะแพทย์ที่ออกไปปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลและสถานีอนามัยในเขตชนบท
'''นโยบายด้านการสาธารณสุข''' พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยจะมุ่งทุ่มเทงบประมาณส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน นับตั้งแต่การวางแผนครอบครัว ส่งเสริมความรู้เรื่องสุขอนามัย ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะแพทย์ที่ออกไปปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลและสถานีอนามัยในเขตชนบท


'''นโยบายด้านสวัสดิการสังคม''' พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย จะมุ่งการจัดระบบ[[รัฐสวัสดิการ]] โดยขึ้นอยู่กับงบประมาณของรัฐ ทั้งนี้จะเริ่มต้นจากการจัดระบบรักษาพยาบาลแบบให้เปล่า การจัดระบบประกันสังคม โดยคนงาน และนายจ้างช่วยกันสมทบ จัดให้มีสหบาลกรรมกรเพื่อเป็นองค์กรเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ใช้แรงงานในรูปกองทุนสวัสดิการในยามเจ็บป่วยและว่างงาน มีการจัดระบบสวัสดิการสำหรับคนชรา ผู้อนาถา และคนทุพพลภาพ  
'''นโยบายด้านสวัสดิการสังคม''' พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย จะมุ่งการจัดระบบ[[รัฐสวัสดิการ|รัฐสวัสดิการ]] โดยขึ้นอยู่กับงบประมาณของรัฐ ทั้งนี้จะเริ่มต้นจากการจัดระบบรักษาพยาบาลแบบให้เปล่า การจัดระบบประกันสังคม โดยคนงาน และนายจ้างช่วยกันสมทบ จัดให้มีสหบาลกรรมกรเพื่อเป็นองค์กรเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ใช้แรงงานในรูปกองทุนสวัสดิการในยามเจ็บป่วยและว่างงาน มีการจัดระบบสวัสดิการสำหรับคนชรา ผู้อนาถา และคนทุพพลภาพ


ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยส่งผู้สมัครลงแข่งขันรับเลือกตั้งในเขตต่าง ๆ ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 82 คน และได้รับเลือกตั้ง 15 คน
ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ [[26_มกราคม_พ.ศ._2518]] พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยส่งผู้สมัครลงแข่งขันรับเลือกตั้งในเขตต่าง ๆ ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 82 คน และได้รับเลือกตั้ง 15 คน


== ที่มา ==
== ที่มา ==


สุจิต บุญบงการ,''' การพัฒนาการเมืองของไทย: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน''', กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531
สุจิต บุญบงการ,'''การพัฒนาการเมืองของไทย: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน''', กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531


เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช, '''การสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมืองในประเทศไทย''', วิทยานิพนธ์หลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519
เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช, '''การสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมืองในประเทศไทย''', วิทยานิพนธ์หลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519


วสันต์ หงสกุล, 37 '''พรรคการเมือง ปัจจัยพิจารณาเปรียบเทียบ''', กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ตะวันนา, 2518
วสันต์ หงสกุล, 37 '''พรรคการเมือง ปัจจัยพิจารณาเปรียบเทียบ''', กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ตะวันนา, 2518


ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ,''' พรรคการเมืองและปัญหาพรรคการเมืองไทย''', กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2524
ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ,'''พรรคการเมืองและปัญหาพรรคการเมืองไทย''', กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2524


[[หมวดหมู่:รายชื่อพรรคการเมืองไทย]]
[[Category:รายชื่อพรรคการเมืองไทย]] [[Category:รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]]
[[หมวดหมู่:รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:51, 2 ธันวาคม 2562

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย

พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนจัดตั้งตามพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517 โดยมีนายสมคิด ศรีสังคม เป็นหัวหน้าพรรค นายบุญสนอง บุณโยทยาน เป็นเลขาธิการพรรค

นโยบายพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย

พรรคสังคมนิยมจะเชิดชูสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะระบอบปกครองแบบรัฐสภา โดยส่งเสริมให้ได้นับถือศาสนา และไม่ให้เสื่อม โดยให้กรมการศาสนากำกับดูแลวัดวาอารามให้ปฏิบัติตามหลักศาสนาโดยเคร่งครัด การดำเนินนโยบายแบบสังคมนิยม จะไม่กระทบกระเทือนสิทธิเสรีภาพของประชาชน พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยจะมุ่งส่งเสริมสิทธิความเท่าเทียมระหว่างบุรุษและสตรี ทั้งในสิทธิการเข้ารับราชการ สิทธิในการทำงาน สิทธิทางสังคมต่าง ๆ

นโยบายทางเศรษฐกิจ ยึดถือหลักการจัดระบบเศรษฐกิจตามหลักสังคมนิยมโดยทั่วไป หาทางแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำต่ำสูงระหว่างคนมีและคนจน ระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปในทางสร้างสรรค์ความเป็นธรรมทางสังคมให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยรัฐจะต้องเร่งรัดการผลิต ส่งเสริมการผลิต ด้วยการพิจารณาเวนคืนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับประชาชนโดยส่วนใหญ่ โดยรัฐต้องเข้าควบคุมดำเนินการเอง พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยเห็นว่า ปัญหาทางเศรษฐกิจมีสาเหตุมาจากเรื่องการผลิต การลงทุนและการจำหน่ายสินค้า ซึ่งส่งผลให้ค่าครองชีพของประชาชนอยู่ในระดับสูง เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม แต่ก็จำเป็นต้องมีการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อการบริโภคอุปโภคด้วย ดังนั้น รัฐจำเป็นต้องสร้างสมดุลระหว่างการผลิตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยส่งเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว ปอ ข้าวโพด เป็นต้น สำหรับเป็นรากฐานทางเศรษฐกิจ จากนั้นก็พัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับผลผลิตการเกษตรและทรัพยากรที่มีในประเทศ

แก้ไขการบริหารราชการแผ่นดิน ให้ประชาชนมีสิทธิ มีส่วนในการปกครองให้มากที่สุด โดยกระจายอำนาจส่วนกลางไปให้ท้องถิ่นให้มากที่สุด ต้องปรับปรุงกระทรวงมหาดไทย โดยให้มีการเลือกตั้งผู้พิพากษาจากคนในท้องถิ่น เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้พิพากษาสงเคราะห์ แก้ไขกลไกการบริหารราชการ โดยจัดการปัญหาข้าราชการเฉื่อยชา มีประสิทธิภาพน้อย และพิจารณาปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมใหม่ โดยอาจมีการยุบหรือตั้งกระทรวงใหม่ให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ ยังต้องแยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการทางการเมืองให้เด็ดขาด และหาทางป้องกันมิใช้นักการเมืองใช้ข้าราชการประจำเป็นเครื่องมือ โดยกำหนดให้ข้าราชการระดับอธิบดีลงมา มีความเป็นอิสระในการบริหารราชการภายใต้นโยบายของกระทรวง โดยไม่อยู่ภายใต้การแทรกแซงหรือสั่งการของนักการเมือง

ความสงบเรียบร้อยภายในบ้านเมือง จะต้องเพิ่มสมรรถภาพของข้าราชการตำรวจ ให้มีสรรถภาพในการปราบโจรผู้ร้าย เพิ่มสวัสดิการและเงินเดือนให้แก่ตำรวจชั้นผู้น้อย เลิกยศตำรวจให้เป็นข้าราชการพลเรือน นอกจากยศผู้น้อยถึง ร.ต.อ. หรือ พ.ต.ต. นอกจากนี้ ยังต้องเข้มงวดกวดขันตำรวจในทุกตำแหน่ง โดยเฉพาะในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต

นโยบายด้านการเกษตร รัฐจะต้องหาทางช่วยเหลือเกษตรกรโดยตรง โดยหาทางแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดิน เรื่องน้ำ ปัญหาหนี้สินเกษตรกร ต้องมีการปฏิรูปที่ดิน โดยเวนคืนที่ดินที่นายทุนถือครองมาให้จัดสรรแก่เกษตรกร รัฐต้องใช้ระบบสหกรณ์จัดการที่ดินหลุดกรรมสิทธิ์ โดยรัฐเวนคืนที่ดินมาแล้วให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ เพื่อจัดสรรแบ่งให้แก่เกษตรกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ต่อไป ทั้งนี้ควรมีกฎหมายกำหนดให้นายทุนมีที่ดินในความครอบครองได้ไม่เกินคนละ 50 ไร่เท่านั้น นอกจากการผลิตแล้ว รัฐต้องเป็นผู้จัดหาตลาดสำหรับผลิตผลทางการเกษตร โดยเฉพาะข้าว โดยหาตลาดภายนอกประเทศ และอาศัยรัฐวิสาหกิจดำเนินการนำเข้าและส่งออกภายใต้การกำกับควบคุมของรัฐอย่างใกล้ชิด ในขณะเดียวกันก็ต้องประกันราคาสินค้าเกษตรด้วย

การพัฒนาชนบท ต้องมีการพัฒนาถนนให้รถสามารถวิ่งได้ในทุกฤดูกาล เพื่อให้ประชาชนขวนขวายทำมาหากิน และขนส่งสินค้าการเกษตรออกสู่ตลาด รัฐจะต้องพัฒนาคลองส่งน้ำให้ทั่วถึง โดยเฉพาะคลองชลประทานในภาคอิสาน ส่งเสริมชลประทานในตำบลหมู่บ้านต่าง ๆ เพื่อให้เกษตรกรมีแหล่งนั้นสำหรับการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ และเพาะปลูกพืชไร่ต่าง ๆ ให้ได้อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

การพัฒนาในเขตเมือง จะต้องกวดขันเรื่องสิ่งแวดล้อมและผังเมือง น้ำเสีย อากาศเป็นพิษ โดยรัฐบาลจะต้องจัดทำผังเมืองใหม่ในกรุงเทพฯ ไม่ให้เอกชนตัดถนน ตัดซอย ถมดิน หรือจัดสรรที่ดินสำหรับปลูกสร้างที่อยู่อาศัยได้ตามใจชอบ การจัดสรรเขตพื้นที่อุตสาหกรรมต้องมีความเข้มงวดกวดขันโดยรัฐต้องออกกฎหมายกำกับควบคุมการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม

พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย เห็นว่ารัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517 เป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุด โดยเฉพาะการให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนเพิ่มมากขึ้น แต่ควรแก้ไขบทบัญญัติที่กำหนดให้วุฒิสภามาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ สำหรับเกณฑ์อายุขั้นต่ำของผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนั้น พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยเห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องแก้ไข เพราะเห็นว่าสิทธิเสรีภาพในเรื่องอื่น ๆ มีความสำคัญมากกว่า ส่วนการเลือกตั้งเป็นเพียงการให้สิทธิที่ใช้ได้เพียงแค่วันเดียว

นโยบายด้านการศึกษา พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย จะให้รัฐจัดบริการการศึกษาแก่เยาวชนโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยให้ทุนการศึกษาอย่างทั่วถึงนับแต่การศึกษาภาคบังคับไปจนถึงการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จะมีการส่งเสริมคุณภาพของครูผู้สอน โดยพัฒนาสวัสดิการสำหรับครูในชนบท แก้ไขปัญหาหนี้สินของครู และสร้างขวัญกำลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจในอาชีพ

นโยบายด้านการสาธารณสุข พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยจะมุ่งทุ่มเทงบประมาณส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน นับตั้งแต่การวางแผนครอบครัว ส่งเสริมความรู้เรื่องสุขอนามัย ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะแพทย์ที่ออกไปปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลและสถานีอนามัยในเขตชนบท

นโยบายด้านสวัสดิการสังคม พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย จะมุ่งการจัดระบบรัฐสวัสดิการ โดยขึ้นอยู่กับงบประมาณของรัฐ ทั้งนี้จะเริ่มต้นจากการจัดระบบรักษาพยาบาลแบบให้เปล่า การจัดระบบประกันสังคม โดยคนงาน และนายจ้างช่วยกันสมทบ จัดให้มีสหบาลกรรมกรเพื่อเป็นองค์กรเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ใช้แรงงานในรูปกองทุนสวัสดิการในยามเจ็บป่วยและว่างงาน มีการจัดระบบสวัสดิการสำหรับคนชรา ผู้อนาถา และคนทุพพลภาพ

ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26_มกราคม_พ.ศ._2518 พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยส่งผู้สมัครลงแข่งขันรับเลือกตั้งในเขตต่าง ๆ ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 82 คน และได้รับเลือกตั้ง 15 คน

ที่มา

สุจิต บุญบงการ,การพัฒนาการเมืองของไทย: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531

เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช, การสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมืองในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์หลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519

วสันต์ หงสกุล, 37 พรรคการเมือง ปัจจัยพิจารณาเปรียบเทียบ, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ตะวันนา, 2518

ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ,พรรคการเมืองและปัญหาพรรคการเมืองไทย, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2524