ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลังเกษตร"
สร้างหน้าใหม่: '''พรรคพลังเกษตร''' มีหลักฐานอ้างว่าพรรคพลังเกษตรได้ก่อต... |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''พรรคพลังเกษตร''' | '''พรรคพลังเกษตร''' | ||
มีหลักฐานอ้างว่าพรรคพลังเกษตรได้ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2513 | มีหลักฐานอ้างว่าพรรคพลังเกษตรได้ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2513 ทว่าไม่มีความแน่ชัดว่าถูก[[ยุบพรรค]]ลงหรืออย่างไร เนื่องจากพรรคไม่ได้มีหลักฐานว่ามีการเคลื่อนไหวทางการเมืองเลย กระทั่ง พ.ศ. 2518 กระทรวงมหาดไทยได้จดทะเบียนพรรคการเมืองจำนวน 3 พรรค ได้แก่ พรรคสยามใหม่ พรรคแนวราษฎรและพรรคพลังเกษตร ทว่าไม่มีความชัดเจนว่าเป็นพรรคเดียวกันกับพรรคพลังเกษตรเมื่อ พ.ศ. 2513 หรือไม่อย่างไร | ||
เหตุการณ์ทางการเมืองขณะนั้น รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2517 | เหตุการณ์ทางการเมืองขณะนั้น รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2517 ไม่ได้ให้[[วุฒิสมาชิก]]ซึ่งมาจากการแต่งตั้งมีส่วนในการแต่งตั้งและไม่ไว้วางใจ[[นายกรัฐมนตรี]]และ[[คณะรัฐมนตรี]] ห้ามข้าราชการประจำเป็นข้าราชการการเมือง นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] เริ่มมีปลอดการครอบงำของฝ่ายทหารทำให้มีการตื่นตัวทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้เกิด[[พรรคการเมือง]]ใหม่ๆ ขึ้นหลายพรรค แต่ปัญหาใหญ่ที่ตามมาก็คือหลังการเลือกตั้งวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2518 ไม่มีพรรคใดได้เสียงข้างมากเกินครึ่งหนึ่งคือ 135 เสียงของจำนวน ส.ส.ทั้งสภา 269 เสียง พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งได้รับเสียงตั้งมากที่สุดก็คือ 72 เสียง ซึ่งยังขาดอีก 63 เสียงจึงจะได้เกินครึ่ง สภาได้มีมติประชุมวันที่ 13 กุมภาพันธ์ให้พรรคประชาธิปัตย์รวมกับพรรคเกษตรสังคมซึ่งมี 19 จัดตั้งรัฐบาลโดยมี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีได้จัดตั้งรัฐบาลขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2518 ทว่าเม่แถลงนโยบายของรัฐต่อสภา ปรากฏว่าได้รับเสียงเห็นชอบ 111 เสียง จึงต้องลาออก วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2518 สภาได้มีมติให้ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หัวหน้าพรรคกิจสังคมจัดตั้ง[[รัฐบาล]] โดยได้รับคะแนนเสียงสนับสนุน 135 เสียง ตั้งรัฐบาลผสม 8 พรรค แต่เนื่องจากมีเสียงสนับสนุนจริงๆ เพียง 18 เสียง จึงต้องประสบปัญหากับการดูแล[[นักการเมือง]]จากพรรคต่างๆ และเมื่อบริหารประเทศไปได้ยังไม่ถึงปีก็ต้องประกาศ[[ยุบสภา]]เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2519 และกำหนดให้มี[[การเลือกตั้ง]]ใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2519 ทว่าพรรคพลังเกษตรก็ไม่ได้ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งเลยทั้ง 2 ครั้ง รวมถึงไม่มีหลักฐานการเคลื่อนไหวทางการเมือง หรือหลักฐานการยุบพรรคใดๆทั้งสิ้น จึงไม่แน่ใจนักว่าพรรคดังดำเนินกิจกรรมหรือไม่ อย่างไร | ||
อนึ่งมีพรรคการเมืองที่ชื่อคล้ายกันในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน คือพรรคเกษตรกร แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีความเกี่ยวข้องกัน ในเวลาต่อมาก็มีพรรคการเมืองชื่อพรรคพลังเกษตรกรตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2543 ก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเกี่ยวโยงกันหรือไม่ อย่างไรเช่นกันพรรคพลังเกษตรจึงนับว่าเป็นพรรคที่ลึกลับที่สุดพรรคหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย | อนึ่งมีพรรคการเมืองที่ชื่อคล้ายกันในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน คือพรรคเกษตรกร แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีความเกี่ยวข้องกัน ในเวลาต่อมาก็มีพรรคการเมืองชื่อพรรคพลังเกษตรกรตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2543 ก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเกี่ยวโยงกันหรือไม่ อย่างไรเช่นกันพรรคพลังเกษตรจึงนับว่าเป็นพรรคที่ลึกลับที่สุดพรรคหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:26, 10 กรกฎาคม 2553
พรรคพลังเกษตร
มีหลักฐานอ้างว่าพรรคพลังเกษตรได้ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2513 ทว่าไม่มีความแน่ชัดว่าถูกยุบพรรคลงหรืออย่างไร เนื่องจากพรรคไม่ได้มีหลักฐานว่ามีการเคลื่อนไหวทางการเมืองเลย กระทั่ง พ.ศ. 2518 กระทรวงมหาดไทยได้จดทะเบียนพรรคการเมืองจำนวน 3 พรรค ได้แก่ พรรคสยามใหม่ พรรคแนวราษฎรและพรรคพลังเกษตร ทว่าไม่มีความชัดเจนว่าเป็นพรรคเดียวกันกับพรรคพลังเกษตรเมื่อ พ.ศ. 2513 หรือไม่อย่างไร
เหตุการณ์ทางการเมืองขณะนั้น รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2517 ไม่ได้ให้วุฒิสมาชิกซึ่งมาจากการแต่งตั้งมีส่วนในการแต่งตั้งและไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ห้ามข้าราชการประจำเป็นข้าราชการการเมือง นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เริ่มมีปลอดการครอบงำของฝ่ายทหารทำให้มีการตื่นตัวทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้เกิดพรรคการเมืองใหม่ๆ ขึ้นหลายพรรค แต่ปัญหาใหญ่ที่ตามมาก็คือหลังการเลือกตั้งวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2518 ไม่มีพรรคใดได้เสียงข้างมากเกินครึ่งหนึ่งคือ 135 เสียงของจำนวน ส.ส.ทั้งสภา 269 เสียง พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งได้รับเสียงตั้งมากที่สุดก็คือ 72 เสียง ซึ่งยังขาดอีก 63 เสียงจึงจะได้เกินครึ่ง สภาได้มีมติประชุมวันที่ 13 กุมภาพันธ์ให้พรรคประชาธิปัตย์รวมกับพรรคเกษตรสังคมซึ่งมี 19 จัดตั้งรัฐบาลโดยมี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีได้จัดตั้งรัฐบาลขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2518 ทว่าเม่แถลงนโยบายของรัฐต่อสภา ปรากฏว่าได้รับเสียงเห็นชอบ 111 เสียง จึงต้องลาออก วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2518 สภาได้มีมติให้ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หัวหน้าพรรคกิจสังคมจัดตั้งรัฐบาล โดยได้รับคะแนนเสียงสนับสนุน 135 เสียง ตั้งรัฐบาลผสม 8 พรรค แต่เนื่องจากมีเสียงสนับสนุนจริงๆ เพียง 18 เสียง จึงต้องประสบปัญหากับการดูแลนักการเมืองจากพรรคต่างๆ และเมื่อบริหารประเทศไปได้ยังไม่ถึงปีก็ต้องประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2519 และกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2519 ทว่าพรรคพลังเกษตรก็ไม่ได้ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งเลยทั้ง 2 ครั้ง รวมถึงไม่มีหลักฐานการเคลื่อนไหวทางการเมือง หรือหลักฐานการยุบพรรคใดๆทั้งสิ้น จึงไม่แน่ใจนักว่าพรรคดังดำเนินกิจกรรมหรือไม่ อย่างไร
อนึ่งมีพรรคการเมืองที่ชื่อคล้ายกันในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน คือพรรคเกษตรกร แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีความเกี่ยวข้องกัน ในเวลาต่อมาก็มีพรรคการเมืองชื่อพรรคพลังเกษตรกรตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2543 ก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเกี่ยวโยงกันหรือไม่ อย่างไรเช่นกันพรรคพลังเกษตรจึงนับว่าเป็นพรรคที่ลึกลับที่สุดพรรคหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ที่มา
เชาวนะ ไตรมาศ. ข้อมูลพื้นฐาน 66 ปีประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา, 2542.
พรรคการเมืองไทย. http://www.weopenmind.com/board/index.php?topic=5929.msg47927