ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''''ผู้เรียบเรียง :''' วิกัลย์  พงศ์พนิตานนท์''


'''''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิ เตชานันท์''
'''''ผู้เรียบเรียง :''' วิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์''
 
'''''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิ เตชานันท์''


----
----


 


 


'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี''' ใน[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 7 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงเคียงข้างพระราชสวามีทั้งยามทุกข์และสุข ตลอดเวลา ๒๓ ปี


นับแต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ครองพระองค์ลำพังท่ามกลางหมู่พระประยูรญาติ ทรงยึดมั่นในพระเกียรติยศแห่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงปฏิบัติบำเพ็ญพระราชกรณียกิจในพระราชฐานะสมเด็จพระอัครมเหสีและสมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ตราบจนเสด็จสู่สวรรคาลัย เมื่อวันที่ [[๒๒_พฤษภาคม_พ.ศ._๒๕๒๗|๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗]]


[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี  พระบรมราชินี]]  ใน[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 7  แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงเคียงข้างพระราชสวามีทั้งยามทุกข์และสุข ตลอดเวลา ๒๓ ปี
 


นับแต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔    สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ครองพระองค์ลำพังท่ามกลางหมู่พระประยูรญาติ  ทรงยึดมั่นในพระเกียรติยศแห่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงปฏิบัติบำเพ็ญพระราชกรณียกิจในพระราชฐานะสมเด็จพระอัครมเหสีและสมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ตราบจนเสด็จสู่สวรรคาลัย เมื่อวันที่ [[๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗]]
 


== เมื่อทรงพระเยาว์ ==


สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ พระนามเดิม[[หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี|หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี]] เป็นพระธิดาของ[[พระเจ้าน้องยาเธอ_พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ_กรมหมื่นสวัสดิวัดนวิศิษฎ์|พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมหมื่นสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]](สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ พระอนุชาในสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ) กับหม่อมเจ้าหญิงอาภาพรรณี (พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี พระธิดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันอังคารที่ [[๒๐_ธันวาคม_พ.ศ._๒๔๔๗|๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๗]] ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมพระมารดา รวม ๗ พระองค์ จำนวนนี้สิ้นชีพิตักษัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ๓ พระองค์


พ.ศ. ๒๔๔๙ เวลานั้นพระราชโอรสรุ่นเล็กในสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถเสด็จไปทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ รวมทั้ง[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ_เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์_กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา|สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา]] พระราชโอรสพระองค์เล็ก เสด็จไปในปีนี้ สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงรับเจ้านายเล็กๆ และบุตรหลานข้าราชบริพารจำนวนมากไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ด้วยมีพระราชอัชฌาศัยทรงพระเมตตาเด็กๆ หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระชันษา ๒ ปี เป็นพระนัดดาใกล้ชิด “สมเด็จป้า” จึงโปรดให้เสด็จมาประทับ ณ [[พระตำหนักสวนสี่ฤดู|พระตำหนักสวนสี่ฤดู]] [[พระราชวังดุสิต|พระราชวังดุสิต]] ให้ทรงหัดเรียนเขียนอ่าน ทรงฝึกฝนการเย็บปักถักร้อยงานผ้า ดอกไม้ และอาหาร เป็นความรู้สำหรับราชกุมารีตามราชประเพณี


== เมื่อทรงพระเยาว์ ==
เมื่อหม่อมเจ้ารำไพพรรณีประทับที่พระตำหนักสวนสี่ฤดู เป็นช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ “สมเด็จป้า” ทั้งสองพระองค์โปรดทรงงานเกษตรกรรม ทรงทดลองการเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชผักทำนาในแปลงนาส่วนพระองค์ ที่ทุ่งพญาไท


บางโอกาส หม่อมเจ้ารำไพพรรณีตามเสด็จพระบิดามารดาไปประทับร่วมกับเจ้าพี่เจ้าน้อง ทรงพระสำราญด้วยสภาพแวดล้อมแปลกแตกต่างจากในราชสำนัก บางครั้งทรงลงสรงน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยากับเจ้านายพี่น้องฝ่ายชาย นับเป็นวีรกรรมตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทั้งสองบรรยากาศเป็นพระประสบการณ์และพื้นฐานสำหรับพระราชกรณียกิจต่อมา
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ พระนามเดิม[[หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี]]  เป็นพระธิดาของ[[พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมหมื่นสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]](สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ พระอนุชาในสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ)  กับหม่อมเจ้าหญิงอาภาพรรณี (พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี  พระธิดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันอังคารที่ [[๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๗]] ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมพระมารดา รวม  ๗  พระองค์ จำนวนนี้สิ้นชีพิตักษัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ๓ พระองค์


พ.ศ. ๒๔๔๙  เวลานั้นพระราชโอรสรุ่นเล็กในสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถเสด็จไปทรงศึกษาอยู่ ประเทศอังกฤษ  รวมทั้ง[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา]] พระราชโอรสพระองค์เล็ก  เสด็จไปในปีนี้  สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงรับเจ้านายเล็กๆ และบุตรหลานข้าราชบริพารจำนวนมากไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์  ด้วยมีพระราชอัชฌาศัยทรงพระเมตตาเด็กๆ หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระชันษา ปี เป็นพระนัดดาใกล้ชิด  “สมเด็จป้า”  จึงโปรดให้เสด็จมาประทับ [[พระตำหนักสวนสี่ฤดู]] [[พระราชวังดุสิต]]    ให้ทรงหัดเรียนเขียนอ่าน  ทรงฝึกฝนการเย็บปักถักร้อยงานผ้า ดอกไม้ และอาหาร  เป็นความรู้สำหรับราชกุมารีตามราชประเพณี
วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชินีนาถเสด็จฯ ไปประทับเพื่อทรงจัดการงานพระบรมศพ พระบรมมหาราชวัง หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระชันษา ปี ตามเสด็จไปด้วย จึงโปรดให้ทรงเริ่มต้นการศึกษา โรงเรียนราชินี


เมื่อหม่อมเจ้ารำไพพรรณีประทับที่พระตำหนักสวนสี่ฤดู เป็นช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ  “สมเด็จป้า” ทั้งสองพระองค์โปรดทรงงานเกษตรกรรม  ทรงทดลองการเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชผักทำนาในแปลงนาส่วนพระองค์ ที่ทุ่งพญาไท
รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี เสด็จประทับ ณ [[พระตำหนักวังพญาไท|พระตำหนักวังพญาไท]]จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดครูถวายการสอนหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีที่พระตำหนัก เนื่องจาก[[วังพญาไท|วังพญาไท]]อยู่ห่างจากไกลโรงเรียนราชินี


บางโอกาส หม่อมเจ้ารำไพพรรณีตามเสด็จพระบิดามารดาไปประทับร่วมกับเจ้าพี่เจ้าน้อง  ทรงพระสำราญด้วยสภาพแวดล้อมแปลกแตกต่างจากในราชสำนัก บางครั้งทรงลงสรงน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยากับเจ้านายพี่น้องฝ่ายชาย  นับเป็นวีรกรรมตั้งแต่ทรงพระเยาว์    ทั้งสองบรรยากาศเป็นพระประสบการณ์และพื้นฐานสำหรับพระราชกรณียกิจต่อมา
วันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีเกศากันต์พระราชทานพร้อมเจ้านายพี่น้องหลายพระองค์ เมื่อเกศากันต์แล้วยังคงประทับที่วังพญาไท โปรดเกล้าฯ ให้ทรงศึกษาวิชาความรู้สำหรับราชกุมารีและวิชาตามพระอัธยาศัย


วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชินีนาถเสด็จฯ ไปประทับเพื่อทรงจัดการงานพระบรมศพ ณ พระบรมมหาราชวัง  หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระชันษา ๖ ปี ตามเสด็จไปด้วย จึงโปรดให้ทรงเริ่มต้นการศึกษา ณ โรงเรียนราชินี 
 
รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]  สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี เสด็จประทับ ณ [[พระตำหนักวังพญาไท]]จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดครูถวายการสอนหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีที่พระตำหนัก  เนื่องจาก[[วังพญาไท]]อยู่ห่างจากไกลโรงเรียนราชินี


วันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙  พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีเกศากันต์พระราชทานพร้อมเจ้านายพี่น้องหลายพระองค์  เมื่อเกศากันต์แล้วยังคงประทับที่วังพญาไท โปรดเกล้าฯ ให้ทรงศึกษาวิชาความรู้สำหรับราชกุมารีและวิชาตามพระอัธยาศัย
== พระชายาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา ==


เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาวิชาทหารจากอังกฤษแล้ว สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา เสด็จกลับเมืองไทย ทรงรับราชการทหาร เมื่อเสด็จมาเฝ้าสมเด็จแม่ที่วังพญาไท สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถโปรดให้หม่อมเจ้ารำไพพรรณีทรงรับใช้ใกล้ชิดจนสองพระองค์มีพระหฤทัยผูกพัน ภายหลังสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนศุโขทัยธรรมราชาทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนาแล้ว จึงกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสกสมรส


== พระชายาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา ==
พิธีเสกสมรสพระราชทานจัดขึ้น เมื่อวันที่ [[๒๖_สิงหาคม_พ.ศ._๒๔๖๑|๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๑]] ณ [[พระที่นั่งวโรภาษพิมาน|พระที่นั่งวโรภาษพิมาน]] [[พระราชวังบางปะอิน|พระราชวังบางปะอิน]] พระนครศรีอยุธยา เป็นวาระแรกที่มีพิธีการตามแบบแผนพระราชนิยมในรัชกาลที่ ๖ กล่าวคือ มีการให้คำปฏิญาณ และการลงพระนามในสมุดทะเบียนแต่งงาน


สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ประทับ ณ พระตำหนักหอ [[วังศุโขทัย|วังศุโขทัย]] ในฐานะพระชายาทรงฝึกฝนเรียนรู้พระราชกิจ ทรงปกครองวังศุโขทัยตั้งแต่พระชนมายุเพียง ๑๔-๑๕ พรรษา ทรงครองพระองค์ร่วมกันในวิถีสมัยใหม่ โปรดอ่านหนังสือเพื่อข่าวสารและความรู้ ทรงกีฬาต่าง ๆ ทรงมีรสนิยมไปในทางเดียวกัน จึงเพิ่มพูนความกลมเกลียวผูกพัน


เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาวิชาทหารจากอังกฤษแล้ว สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา เสด็จกลับเมืองไทย ทรงรับราชการทหาร  เมื่อเสด็จมาเฝ้าสมเด็จแม่ที่วังพญาไท  สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถโปรดให้หม่อมเจ้ารำไพพรรณีทรงรับใช้ใกล้ชิดจนสองพระองค์มีพระหฤทัยผูกพัน  ภายหลังสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนศุโขทัยธรรมราชาทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนาแล้ว  จึงกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสกสมรส
ภายหลังงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชากราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสด็จไปรักษาพระองค์ ณ ทวีปยุโรป เมื่อพระอาการประชวรคลายลงแล้ว จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตทรงศึกษาวิชาการทหารชั้นสูงเพิ่มเติม ณ ประเทศฝรั่งเศส พระชายาซึ่งตามเสด็จไปด้วยทรงศึกษาภาษาฝรั่งเศสและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เสด็จไปทัศนศึกษาสถานที่ต่าง ๆ เป็นเวลา ๔ ปีที่สองพระองค์ประทับในต่างประเทศ เป็นเวลาที่พระชายาทรงบ่มเพาะพระประสบการณ์ แต่หลายสิ่งอย่างทรงซึมซับและเรียนรู้จากพระสวามีด้วย


พิธีเสกสมรสพระราชทานจัดขึ้น เมื่อวันที่ [[๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๑]] ณ [[พระที่นั่งวโรภาษพิมาน]] [[พระราชวังบางปะอิน]] พระนครศรีอยุธยา เป็นวาระแรกที่มีพิธีการตามแบบแผนพระราชนิยมในรัชกาลที่ ๖ กล่าวคือ มีการให้คำปฏิญาณ  และการลงพระนามในสมุดทะเบียนแต่งงาน
เมื่อเสด็จกลับพระนคร สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชาทรงรับราชการในตำแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก เป็นนายพันเอก ผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ ๒ ผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ ที่ ๒ และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงศึกษางานราชการในฐานะ “รัชทายาท” ด้วย ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศุโขทัยธรรมราชา


สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี  ประทับ ณ พระตำหนักหอ [[วังศุโขทัย]]  ในฐานะพระชายาทรงฝึกฝนเรียนรู้พระราชกิจ  ทรงปกครองวังศุโขทัยตั้งแต่พระชนมายุเพียง ๑๔-๑๕ พรรษา ทรงครองพระองค์ร่วมกันในวิถีสมัยใหม่  โปรดอ่านหนังสือเพื่อข่าวสารและความรู้ ทรงกีฬาต่าง ๆ ทรงมีรสนิยมไปในทางเดียวกัน จึงเพิ่มพูนความกลมเกลียวผูกพัน
 


ภายหลังงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชากราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสด็จไปรักษาพระองค์ ณ ทวีปยุโรป เมื่อพระอาการประชวรคลายลงแล้ว จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตทรงศึกษาวิชาการทหารชั้นสูงเพิ่มเติม ณ ประเทศฝรั่งเศส  พระชายาซึ่งตามเสด็จไปด้วยทรงศึกษาภาษาฝรั่งเศสและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ  เสด็จไปทัศนศึกษาสถานที่ต่าง ๆ  เป็นเวลา ๔ ปีที่สองพระองค์ประทับในต่างประเทศ เป็นเวลาที่พระชายาทรงบ่มเพาะพระประสบการณ์ แต่หลายสิ่งอย่างทรงซึมซับและเรียนรู้จากพระสวามีด้วย
== สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี พระราชินีองค์แรกแห่งระบอบประชาธิปไตย ==


เมื่อเสด็จกลับพระนคร สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชาทรงรับราชการในตำแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก เป็นนายพันเอก ผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ ๒ ผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ ที่ ๒  และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงศึกษางานราชการในฐานะ “รัชทายาท” ด้วย  ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศุโขทัยธรรมราชา  
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ที่ประชุมพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เห็นพ้องเป็น[[เอกฉันท์|เอกฉันท์]]อัญเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศุโขทัยธรรมราชา ขึ้นครองราชย์


== สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี  พระราชินีองค์แรกแห่งระบอบประชาธิปไตย ==
วันที่ [[๒๕_กุมภาพันธ์_พ.ศ._๒๔๖๘|๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘]] พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์อย่างสมบูรณ์ ตามลำดับพระราชพิธีนั้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาหม่อมเจ้ารำไพพรรณี ขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเครื่องราชูปโภคสำหรับตำแหน่งพระอัครมเหสีด้วย<ref>ประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม รามนันทน์), พระยา. ๒๔๙๒. จดหมายเหตุบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม. , หน้า ๓๙.</ref> เป็นครั้งแรกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่มีการสถาปนาพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินี ต่อมาในเดือนมีนาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สตรีมีศักดิ์เป็นนางสนองพระโอฐและนางพระกำนัล รับราชการในสมเด็จพระบรมราชินี


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ที่ประชุมพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เห็นพ้องเป็น[[เอกฉันท์]]อัญเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศุโขทัยธรรมราชา ขึ้นครองราชย์
ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จพระราชดำเนินจากเหนือสุดของประเทศไปถึงใต้สุดประเทศ ทรงสร้างเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศตั้งแต่ระดับเพื่อนบ้าน ประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย ไปถึงทวีปยุโรปและอเมริกา สมเด็จพระบรมราชินีทรงเป็นที่กล่าวขานถึงพระสิริโฉม และพระราชจรรยาอัชฌาศัยอ่อนหวาน เรียบง่าย พระราชจริยาวัตรทันสมัยทันโลก


วันที่ [[๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘]] พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์อย่างสมบูรณ์ ตามลำดับพระราชพิธีนั้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาหม่อมเจ้ารำไพพรรณี ขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเครื่องราชูปโภคสำหรับตำแหน่งพระอัครมเหสีด้วย<ref>ประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม รามนันทน์), พระยา. ๒๔๙๒. จดหมายเหตุบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม. , หน้า ๓๙.</ref>  เป็นครั้งแรกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่มีการสถาปนาพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินี  ต่อมาในเดือนมีนาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สตรีมีศักดิ์เป็นนางสนองพระโอฐและนางพระกำนัล รับราชการในสมเด็จพระบรมราชินี
ช่วงระยะเวลา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวครองสิริราชสมบัติ เมืองไทยประสบความผันผวนด้านเศรษฐกิจ ต่อเนื่องถึงเหตุการณ์ทางการเมืองขั้นรุนแรง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเผชิญปัญหาเหล่านี้อย่างทรงหลีกเลี่ยงไม่ได้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเคียงข้างเสมอ


ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จพระราชดำเนินจากเหนือสุดของประเทศไปถึงใต้สุดประเทศ ทรงสร้างเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศตั้งแต่ระดับเพื่อนบ้าน ประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย  ไปถึงทวีปยุโรปและอเมริกา สมเด็จพระบรมราชินีทรงเป็นที่กล่าวขานถึงพระสิริโฉม และพระราชจรรยาอัชฌาศัยอ่อนหวาน เรียบง่าย  พระราชจริยาวัตรทันสมัยทันโลก   
&nbsp;
ช่วงระยะเวลา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวครองสิริราชสมบัติ เมืองไทยประสบความผันผวนด้านเศรษฐกิจ ต่อเนื่องถึงเหตุการณ์ทางการเมืองขั้นรุนแรง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเผชิญปัญหาเหล่านี้อย่างทรงหลีกเลี่ยงไม่ได้  สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเคียงข้างเสมอ 


== การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ==
== การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ==


เช้าตรู่ วันที่ [[๒๔_มิถุนายน_๒๔๗๕|๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]] คณะบุคคลกลุ่มหนึ่ง เรียกตนเองว่า [[คณะราษฎร|คณะราษฎร]] ประกอบด้วยทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจ[[เปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ|เปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ]] ทำการยึดสถานที่สำคัญของทางราชการ และกักขังพระบรมวงศานุวงศ์ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เป็นประกัน
เช้าตรู่ วันที่ [[๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]] คณะบุคคลกลุ่มหนึ่ง เรียกตนเองว่า [[คณะราษฎร]] ประกอบด้วยทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจ[[เปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ]] ทำการยึดสถานที่สำคัญของทางราชการ และกักขังพระบรมวงศานุวงศ์ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เป็นประกัน
 
ระหว่างนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ [[วังไกลกังวล_หัวหิน|วังไกลกังวล หัวหิน]] พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เมื่อทางกรุงเทพฯ ส่ง[[หลวงศุภชลาศัย|หลวงศุภชลาศัย]]เข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จกลับโดย[[เรือหลวงสุโขทัย|เรือหลวงสุโขทัย]] เมื่อไม่โปรดเสด็จกลับโดยเรือหลวงสุโขทัย หลวงศุภชลาศัยจึงเดินทางกลับ จากเหตุการณ์นี้จึงทรงปรึกษาสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชินีทรงมีความเห็นว่า “เข้าไปตายก็ไม่เป็นไร ต้องมีศักดิ์ศรี มีสัจจะ”<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๖๘.</ref> คำตอบนี้รวมทั้งความเห็นของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นที่ทรงชื่นชม ดังความในพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ในเดือนสิงหาคม ๒๔๗๕ ว่า


ระหว่างนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ [[วังไกลกังวล หัวหิน]] พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี  พระบรมราชินี  เมื่อทางกรุงเทพฯ ส่ง[[หลวงศุภชลาศัย]]เข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จกลับโดย[[เรือหลวงสุโขทัย]] เมื่อไม่โปรดเสด็จกลับโดยเรือหลวงสุโขทัย หลวงศุภชลาศัยจึงเดินทางกลับ จากเหตุการณ์นี้จึงทรงปรึกษาสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชินีทรงมีความเห็นว่า “เข้าไปตายก็ไม่เป็นไร ต้องมีศักดิ์ศรี มีสัจจะ”<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๖๘.</ref>  คำตอบนี้รวมทั้งความเห็นของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นที่ทรงชื่นชม ดังความในพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ในเดือนสิงหาคม ๒๔๗๕ ว่า
“... ทั้งสมเด็จ (พระบรมราชินี) และแม่ของสมเด็จ (พระองค์เจ้าอาภาพรรณี) บอกว่า เราต้องกลับกรุงเทพฯ ให้ได้ ฉันต้องยอมรับว่าทั้งสมเด็จและหญิงอาภาควรจะได้รับเกียรติศักดิ์อย่างสูง ที่แสดงความกล้าหาญอย่างยิ่งเช่นนั้น เพราะเราทุกๆคนทราบดีว่าถึงเรายอมกลับกรุงเทพฯ ต่อไปเขาจะฆ่าเราเสียก็ได้ ผู้หญิงสองคนนั้นเขากล้ายอมตายเสียดีกว่าที่จะเสียเกียรติศักดิ์ เมื่อเขาตกลงเช่นนั้นฉันก็เห็นด้วยทันที...”<ref>จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. ๒๕๔๑. เจ้าชีวิต-สยามก่อนยุคประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ห้า กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), หน้า  ๓๒๒.</ref>
“... ทั้งสมเด็จ (พระบรมราชินี) และแม่ของสมเด็จ (พระองค์เจ้าอาภาพรรณี) บอกว่า เราต้องกลับกรุงเทพฯ ให้ได้ ฉันต้องยอมรับว่าทั้งสมเด็จและหญิงอาภาควรจะได้รับเกียรติศักดิ์อย่างสูง ที่แสดงความกล้าหาญอย่างยิ่งเช่นนั้น เพราะเราทุกๆคนทราบดีว่าถึงเรายอมกลับกรุงเทพฯ ต่อไปเขาจะฆ่าเราเสียก็ได้ ผู้หญิงสองคนนั้นเขากล้ายอมตายเสียดีกว่าที่จะเสียเกียรติศักดิ์ เมื่อเขาตกลงเช่นนั้นฉันก็เห็นด้วยทันที...”<ref>จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. ๒๕๔๑. เจ้าชีวิต-สยามก่อนยุคประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ห้า กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), หน้า  ๓๒๒.</ref>


คืนวันที่ ๒๔ มิถุนายน เสด็จพระราชดำเนินจากหัวหินโดยรถไฟพระที่นั่ง เสด็จนิวัตพระนครในวันรุ่งขึ้นต่อมาวันที่ ๒๗ มิถุนายน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยใน[[พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]และรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวนับแต่นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินี พระองค์สุดท้ายในระบอบราชาธิปไตย และพระองค์แรกในระบอบ[[รัฐธรรมนูญ]]ของไทย
คืนวันที่ ๒๔ มิถุนายน เสด็จพระราชดำเนินจากหัวหินโดยรถไฟพระที่นั่ง เสด็จนิวัตพระนครในวันรุ่งขึ้นต่อมาวันที่ ๒๗ มิถุนายน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยใน[[พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง|พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]และรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวนับแต่นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินี พระองค์สุดท้ายในระบอบราชาธิปไตย และพระองค์แรกในระบอบ[[รัฐธรรมนูญ|รัฐธรรมนูญ]]ของไทย
 
นับแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เดือนมิถุนายน ๒๔๗๕ [[ความขัดแย้งทางการเมือง]]เริ่มต้นตั้งแต่ความคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง[[เค้าโครงเศรษฐกิจ]]ของนาย[[ปรีดี พนมยงค์]] ผู้ก่อการของคณะราษฎร ที่นำเสนอต่อ[[คณะรัฐมนตรี]] ขยายเป็นความขัดแย้งระหว่าง[[รัฐบาล]]กับคณะราษฎร และการช่วงชิงอำนาจทางการเมือง ขณะที่นายทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่งนำโดย[[พลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] ในนาม “[[คณะกู้บ้านกู้เมือง]]” ไม่เห็นด้วยกับคณะราษฎร นำทหารจากภาคกลางและอีสานมุ่งสู่กรุงเทพฯ เรียกร้องให้รัฐบาลลาออก ในวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ เหตุการณ์ลุกลามเป็นการต่อสู้ปะทะกัน ในวันที่ ๒๔ ตุลาคม ฝ่ายรัฐบาลปราบปรามได้สำเร็จ ต่อมาจึงเรียกเหตุการณ์นี้ว่า [[กบฏบวรเดช]]
นับแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เดือนมิถุนายน ๒๔๗๕ [[ความขัดแย้งทางการเมือง|ความขัดแย้งทางการเมือง]]เริ่มต้นตั้งแต่ความคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง[[เค้าโครงเศรษฐกิจ|เค้าโครงเศรษฐกิจ]]ของนาย[[ปรีดี_พนมยงค์|ปรีดี พนมยงค์]] ผู้ก่อการของคณะราษฎร ที่นำเสนอต่อ[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]] ขยายเป็นความขัดแย้งระหว่าง[[รัฐบาล|รัฐบาล]]กับคณะราษฎร และการช่วงชิงอำนาจทางการเมือง ขณะที่นายทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่งนำโดย[[พลเอกพระวรวงศ์เธอ_พระองค์เจ้าบวรเดช|พลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] ในนาม “[[คณะกู้บ้านกู้เมือง|คณะกู้บ้านกู้เมือง]]” ไม่เห็นด้วยกับคณะราษฎร นำทหารจากภาคกลางและอีสานมุ่งสู่กรุงเทพฯ เรียกร้องให้รัฐบาลลาออก ในวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ เหตุการณ์ลุกลามเป็นการต่อสู้ปะทะกัน ในวันที่ ๒๔ ตุลาคม ฝ่ายรัฐบาลปราบปรามได้สำเร็จ ต่อมาจึงเรียกเหตุการณ์นี้ว่า [[กบฏบวรเดช|กบฏบวรเดช]]
 
ช่วงที่เกิดเหตุการณ์กบฏบวรเดช พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ วังไกลกังวล ทรงพระวิตกในเหตุการณ์ เนื่องจากไม่มีพระราชประสงค์ทรงเข้ากับฝ่ายใด จึงเลี่ยงเสด็จฯกลับพระนคร และตัดสินพระราชหฤทัยประทับเรือยนต์พระที่นั่งขนาดเล็กฝ่าคลื่นลมมุ่งลงทางใต้ แล้วเสด็จฯ โดยเรือของบริษัทอิสต์เอเชียติกไปยังจังหวัดสงขลา ประทับที่พระตำหนักเขาน้อยของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศร์
ช่วงที่เกิดเหตุการณ์กบฏบวรเดช พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ วังไกลกังวล ทรงพระวิตกในเหตุการณ์ เนื่องจากไม่มีพระราชประสงค์ทรงเข้ากับฝ่ายใด จึงเลี่ยงเสด็จฯกลับพระนคร และตัดสินพระราชหฤทัยประทับเรือยนต์พระที่นั่งขนาดเล็กฝ่าคลื่นลมมุ่งลงทางใต้ แล้วเสด็จฯ โดยเรือของบริษัทอิสต์เอเชียติกไปยังจังหวัดสงขลา ประทับที่พระตำหนักเขาน้อยของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศร์
 
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี มีพระราชดำรัสถึงเหตุการณ์ดังกล่าวภายหลังว่า “ฉันไม่คิด ไม่รู้สึกอะไรทั้งนั้น ถ้าจะตายก็ตายด้วยกัน”<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๗๔.</ref> ทั้งสองพระองค์เสด็จกลับพระนครในเดือนธันวาคม ๒๔๗๖ “ท่ามกลางเหตุการณ์ไม่ค่อยจะดีนัก และดูเหมือนว่าจะมีอะไรรุนแรงมากขึ้นทุกที”<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๕.</ref> จนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีรับสั่งว่า ถ้าจะมีเรื่องเกิดขึ้นก็จะทรงใช้พระแสงปืนยิงพระองค์เอง แล้วให้หม่อมราชวงศ์สมัครสมาน กฤดากรยิงสมเด็จพระบรมราชินี แต่ไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงดังที่ทรงพระราชดำริไว้<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๕.</ref>
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี มีพระราชดำรัสถึงเหตุการณ์ดังกล่าวภายหลังว่า “ฉันไม่คิด ไม่รู้สึกอะไรทั้งนั้น ถ้าจะตายก็ตายด้วยกัน”<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๗๔.</ref> ทั้งสองพระองค์เสด็จกลับพระนครในเดือนธันวาคม ๒๔๗๖ “ท่ามกลางเหตุการณ์ไม่ค่อยจะดีนัก และดูเหมือนว่าจะมีอะไรรุนแรงมากขึ้นทุกที”<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๕.</ref> จนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีรับสั่งว่า ถ้าจะมีเรื่องเกิดขึ้นก็จะทรงใช้พระแสงปืนยิงพระองค์เอง แล้วให้หม่อมราชวงศ์สมัครสมาน กฤดากรยิงสมเด็จพระบรมราชินี แต่ไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงดังที่ทรงพระราชดำริไว้<ref>ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘.  พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๕.</ref>
 
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินเยือนยุโรป ในเดือนมกราคม ๒๔๗๖ ถึงเดือนสิงหาคม ๒๔๗๗ จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงรักษาพระเนตรที่ประเทศอังกฤษประทับที่ [[บ้านโนล]]หรือ [[พระตำหนักโนล]] (Knowle House) ในหมู่บ้านแครนลีย์ (Cranleigh) มณฑลเซอร์เรย์ (Surrey) ท่ามกลางกระแสความขัดแย้งกับรัฐบาล สมเด็จพระบรมราชินี มีรับสั่งในภายหลังว่า เมื่อเสด็จประพาสประเทศอียิปต์ ทางรัฐบาลกล่าวหาว่าทรงส้องสุมผู้คนเพื่อชิงอำนาจคืน เมื่อทรงพบปะพระบรมวงศานุวงศ์ก็ถูกกล่าวหาว่าคบคิดกัน  
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินเยือนยุโรป ในเดือนมกราคม ๒๔๗๖ ถึงเดือนสิงหาคม ๒๔๗๗ จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงรักษาพระเนตรที่ประเทศอังกฤษประทับที่ [[บ้านโนล|บ้านโนล]]หรือ [[พระตำหนักโนล|พระตำหนักโนล]] (Knowle House) ในหมู่บ้านแครนลีย์ (Cranleigh) มณฑลเซอร์เรย์ (Surrey) ท่ามกลางกระแสความขัดแย้งกับรัฐบาล สมเด็จพระบรมราชินี มีรับสั่งในภายหลังว่า เมื่อเสด็จประพาสประเทศอียิปต์ ทางรัฐบาลกล่าวหาว่าทรงส้องสุมผู้คนเพื่อชิงอำนาจคืน เมื่อทรงพบปะพระบรมวงศานุวงศ์ก็ถูกกล่าวหาว่าคบคิดกัน


ตลอดเวลาประทับที่ประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงติดต่อเจรจากับรัฐบาล ท้ายสุดคือรัฐบาลไม่ดำเนินการตามพระราชประสงค์
ตลอดเวลาประทับที่ประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงติดต่อเจรจากับรัฐบาล ท้ายสุดคือรัฐบาลไม่ดำเนินการตามพระราชประสงค์


เหตุการณ์ผกผันในพระชนม์ชีพของสมเด็จพระบรมราชินีอีกครั้ง เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยประกาศสละราชสมบัติ วันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ ณ พระตำหนักโนล   แต่ไม่ว่าจะเกิดสิ่งใดอันเป็นผลกระทบต่อมา เช่น รัฐบาลลดพระเกียรติยศลง ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สถานการณ์ภาวะสงครามเริ่มปะทุในยุโรป   พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีสมเด็จพระบรมราชินีเคียงข้างทุกสถานการณ์ แต่สมเด็จพระบรมราชินีกลับต้องสูญเสียพระราชสวามีที่รักยิ่งในวันที่ [[๓๐ พฤษภาคม ๒๔๘๔]] ณ [[เคหาสน์คอมพ์ตัน]] เวอร์จิเนีย วอเตอร์ ด้วยพระชนมพรรษา 48 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีมิได้ทรงแสดงออกถึงความวิปโยคโศกเศร้า ด้วยทรงควบคุมพระสติมั่นคง  
เหตุการณ์ผกผันในพระชนม์ชีพของสมเด็จพระบรมราชินีอีกครั้ง เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยประกาศสละราชสมบัติ วันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ ณ พระตำหนักโนล แต่ไม่ว่าจะเกิดสิ่งใดอันเป็นผลกระทบต่อมา เช่น รัฐบาลลดพระเกียรติยศลง ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สถานการณ์ภาวะสงครามเริ่มปะทุในยุโรป พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีสมเด็จพระบรมราชินีเคียงข้างทุกสถานการณ์ แต่สมเด็จพระบรมราชินีกลับต้องสูญเสียพระราชสวามีที่รักยิ่งในวันที่ [[๓๐_พฤษภาคม_๒๔๘๔|๓๐ พฤษภาคม ๒๔๘๔]] ณ [[เคหาสน์คอมพ์ตัน|เคหาสน์คอมพ์ตัน]] เวอร์จิเนีย วอเตอร์ ด้วยพระชนมพรรษา 48 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีมิได้ทรงแสดงออกถึงความวิปโยคโศกเศร้า ด้วยทรงควบคุมพระสติมั่นคง


ภายหลังพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชินีประทับอยู่ ณ [[บ้านลิแนม]]ของ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] จนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๔ จึงเสด็จฯกลับไปประทับ ณ เคหาสน์คอมพ์ตัน  
ภายหลังพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชินีประทับอยู่ ณ [[บ้านลิแนม|บ้านลิแนม]]ของ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์|พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] จนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๔ จึงเสด็จฯกลับไปประทับ ณ เคหาสน์คอมพ์ตัน


หลังสงครามสิ้นสุดลง สมเด็จพระบรมราชินียังประทับที่อังกฤษ จนถึง พ.ศ. ๒๔๙๑ รัฐบาลกราบบังคมทูลขอพระราชทานให้ทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจากเคหาสน์คอมพ์ตันเวอร์จิเนีย วอเตอร์ ประเทศอังกฤษ กลับประเทศไทย การนี้รัฐบาลถวายพระเกียรติยศในฐานะพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีทุกประการ
หลังสงครามสิ้นสุดลง สมเด็จพระบรมราชินียังประทับที่อังกฤษ จนถึง พ.ศ. ๒๔๙๑ รัฐบาลกราบบังคมทูลขอพระราชทานให้ทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจากเคหาสน์คอมพ์ตันเวอร์จิเนีย วอเตอร์ ประเทศอังกฤษ กลับประเทศไทย การนี้รัฐบาลถวายพระเกียรติยศในฐานะพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีทุกประการ


&nbsp;


== สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ==
== สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ==
เมื่อเสด็จนิวัติพระนคร    สมเด็จพระบรมราชินีทรงร่วมงานพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส และพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในพระราชพิธีสำคัญนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี  ในส่วนสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี  จึงเป็นที่ขนานพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗


ภายหลังงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว  ไม่มีการพระราชพิธีสำคัญ  สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 จึงเสด็จฯไปประทับ ณ [[สวนบ้านแก้ว]]  จังหวัดจันทบุรี  ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่พัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนเกษตร  เรียกได้ว่าทรงเป็นนักพัฒนาการเกษตร งานเกษตรนั้นทรงคุ้นเคยตั้งแต่เยาว์พระขันษา จนเสด็จประทับ ณ พระตำหนักวังศุโขทัย ก็โปรดเสด็จลงทำสวน เมื่อเสด็จไปประทับที่อังกฤษ ทั้งสองพระองค์มีสวนดอกไม้ที่ทรงดูแลเองที่สวนบ้านแก้วนี้ มีพระราชประสงค์ทดลองหาพืชที่เหมาะสมเจริญงอกงามดีไปแนะนำเผยแพร่แก่ราษฎรในท้องถิ่น 
เมื่อเสด็จนิวัติพระนคร สมเด็จพระบรมราชินีทรงร่วมงานพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส และพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในพระราชพิธีสำคัญนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ในส่วนสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จึงเป็นที่ขนานพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่


สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ทรงเป็นนักพัฒนางานหัตถกรรม ทรงศึกษาเรียนรู้เทคนิคใหม่ การออกแบบที่ทันสมัย จนทำให้เสื่อจันทบูรณ์ เป็นหัตถกรรมที่รู้จักกันแพร่หลายในนามผลิตภัณฑ์ “[[เสื่อสมเด็จ]]”ทรงเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนทำให้รูปแบบผลิตภัณฑ์หลากหลายตรงกับความต้องการใช้งาน
ภายหลังงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ไม่มีการพระราชพิธีสำคัญ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 จึงเสด็จฯไปประทับ ณ [[สวนบ้านแก้ว|สวนบ้านแก้ว]] จังหวัดจันทบุรี ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่พัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนเกษตร เรียกได้ว่าทรงเป็นนักพัฒนาการเกษตร งานเกษตรนั้นทรงคุ้นเคยตั้งแต่เยาว์พระขันษา จนเสด็จประทับ ณ พระตำหนักวังศุโขทัย ก็โปรดเสด็จลงทำสวน เมื่อเสด็จไปประทับที่อังกฤษ ทั้งสองพระองค์มีสวนดอกไม้ที่ทรงดูแลเองที่สวนบ้านแก้วนี้ มีพระราชประสงค์ทดลองหาพืชที่เหมาะสมเจริญงอกงามดีไปแนะนำเผยแพร่แก่ราษฎรในท้องถิ่น


เมื่อสมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ มีพระชนมายุสูงขึ้น มิได้เสด็จไปประทับที่สวนบ้านแก้ว  โปรดเกล้าฯ ให้ขายสวนบ้านแก้วในราคาถูกแก่กระทรวงศึกษาธิการ  ให้เป็นที่ตั้ง[[วิทยาลัยครูรำไพพรรณี]] ต่อมา คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]] ซึ่งยังคงอนุรักษ์พระตำหนักเป็นแหล่งเรียนรู้พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ
สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ทรงเป็นนักพัฒนางานหัตถกรรม ทรงศึกษาเรียนรู้เทคนิคใหม่ การออกแบบที่ทันสมัย จนทำให้เสื่อจันทบูรณ์ เป็นหัตถกรรมที่รู้จักกันแพร่หลายในนามผลิตภัณฑ์ “[[เสื่อสมเด็จ|เสื่อสมเด็จ]]”ทรงเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนทำให้รูปแบบผลิตภัณฑ์หลากหลายตรงกับความต้องการใช้งาน


สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสมอ ที่จันทบุรี พระราชทานเงินสร้างอาคารโรงพยาบาล ทรงอุปถัมภ์เพื่อยกระดับและพัฒนาโรงพยาบาลจันทบุรีให้สามารถรับใช้ประชาชนจันทบุรีและจังหวัดใกล้เคียง ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลจึงได้รับพระราชทานนามใหม่ว่า [[โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี]]
เมื่อสมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ มีพระชนมายุสูงขึ้น มิได้เสด็จไปประทับที่สวนบ้านแก้ว โปรดเกล้าฯ ให้ขายสวนบ้านแก้วในราคาถูกแก่กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นที่ตั้ง[[วิทยาลัยครูรำไพพรรณี|วิทยาลัยครูรำไพพรรณี]] ต่อมา คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี|มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]] ซึ่งยังคงอนุรักษ์พระตำหนักเป็นแหล่งเรียนรู้พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ


สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ทรงปฏิบัติบำเพ็ญพระราชกรณียกิจแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และทรงประกอบพระราชกรณีกิจเพื่อพสกนิกร เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนราษฎร พระราชทานความช่วยเหลือ จนเป็นที่กล่าวขานว่า “งานหลวงมิได้ขาด งานราษฎร์มิได้เว้น”  แต่เหนือสิ่งอื่นใดทรงเทิดทูนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วยทรงจงรักภักดี  ทรงเป็นธุระในการที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ อยู่เสมอไป
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสมอ ที่จันทบุรี พระราชทานเงินสร้างอาคารโรงพยาบาล ทรงอุปถัมภ์เพื่อยกระดับและพัฒนาโรงพยาบาลจันทบุรีให้สามารถรับใช้ประชาชนจันทบุรีและจังหวัดใกล้เคียง ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลจึงได้รับพระราชทานนามใหม่ว่า [[โรงพยาบาลพระปกเกล้า_จันทบุรี|โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี]]


สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ประชวรสวรรคตด้วยพระหทัยวายณ วังศุโขทัย“บ้าน” ที่ทรงร่วมทุกข์ร่วมสุขกับพระราชสวามี  ในวันอังคารที่ [[๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗]] พระชนมพรรษา ๗๙ ปี
สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ทรงปฏิบัติบำเพ็ญพระราชกรณียกิจแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และทรงประกอบพระราชกรณีกิจเพื่อพสกนิกร เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนราษฎร พระราชทานความช่วยเหลือ จนเป็นที่กล่าวขานว่า “งานหลวงมิได้ขาด งานราษฎร์มิได้เว้น” แต่เหนือสิ่งอื่นใดทรงเทิดทูนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วยทรงจงรักภักดี ทรงเป็นธุระในการที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ อยู่เสมอไป


สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ประชวรสวรรคตด้วยพระหทัยวายณ วังศุโขทัย“บ้าน” ที่ทรงร่วมทุกข์ร่วมสุขกับพระราชสวามี ในวันอังคารที่ [[๒๒_พฤษภาคม_พ.ศ._๒๕๒๗|๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗]] พระชนมพรรษา ๗๙ ปี
&nbsp;


== พระราชพิธีพระบรมศพ ==
== พระราชพิธีพระบรมศพ ==


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานพระบรมศพในพระโกศทองใหญ่ ภายใต้สัปตฎลเศวตฉัตร ประกอบและแวดล้อมด้วยเครื่องประดับพระบรมโกศครบตามราชประเพณี เครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคสำหรับตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสี และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยและต่างประเทศ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานพระบรมศพในพระโกศทองใหญ่ ภายใต้สัปตฎลเศวตฉัตร ประกอบและแวดล้อมด้วยเครื่องประดับพระบรมโกศครบตามราชประเพณี เครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคสำหรับตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสี และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยและต่างประเทศ
พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘ วันที่ ๑๐ เมษายน โปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระโกศพระบรมอัฐิประดิษฐาน ณ พระวิมานทอง หอพระบรมอัฐิ [[พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท]] และเชิญพระราชสรีรางคารไปประดิษฐาน ณ ฐานพุทธบัลลังก์พระพุทธอังคีรสในพระอุโบสถ วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม ในวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘


พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘ วันที่ ๑๐ เมษายน โปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระโกศพระบรมอัฐิประดิษฐาน ณ พระวิมานทอง หอพระบรมอัฐิ [[พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท|พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท]] และเชิญพระราชสรีรางคารไปประดิษฐาน ณ ฐานพุทธบัลลังก์พระพุทธอังคีรสในพระอุโบสถ วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม ในวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘


&nbsp;


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
<references/>


<references />
&nbsp;


== บรรณานุกรม ==
== บรรณานุกรม ==


กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า. ๒๕๔๗. มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า. ๒๕๔๗. มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา. กรุงเทพฯ&nbsp;: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.


จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. ๒๕๔๑. เจ้าชีวิต-สยามก่อนยุคประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ห้า กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. ๒๕๔๑. เจ้าชีวิต-สยามก่อนยุคประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ห้า กรุงเทพฯ&nbsp;: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).


ประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม รามนันทน์), พระยา. ๒๔๙๒. จดหมายเหตุบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม.
ประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม รามนันทน์), พระยา. ๒๔๙๒. จดหมายเหตุบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม.


ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด.
ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ&nbsp;: บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด.


ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. ประมวลพระฉายาลักษณ์และภาพพระราชกรณียกิจสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ (1984).
ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. ประมวลพระฉายาลักษณ์และภาพพระราชกรณียกิจสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ กรุงเทพฯ&nbsp;: โรงพิมพ์กรุงเทพ (1984).
[[หมวดหมู่:พระปกเกล้าศึกษา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:52, 19 พฤษภาคม 2560

ผู้เรียบเรียง : วิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิ เตชานันท์


 

 

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 7 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงเคียงข้างพระราชสวามีทั้งยามทุกข์และสุข ตลอดเวลา ๒๓ ปี

นับแต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ครองพระองค์ลำพังท่ามกลางหมู่พระประยูรญาติ ทรงยึดมั่นในพระเกียรติยศแห่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงปฏิบัติบำเพ็ญพระราชกรณียกิจในพระราชฐานะสมเด็จพระอัครมเหสีและสมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ตราบจนเสด็จสู่สวรรคาลัย เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗

 

 

เมื่อทรงพระเยาว์

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ พระนามเดิมหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี เป็นพระธิดาของพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมหมื่นสวัสดิวัดนวิศิษฎ์(สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ พระอนุชาในสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ) กับหม่อมเจ้าหญิงอาภาพรรณี (พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี พระธิดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันอังคารที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๗ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมพระมารดา รวม ๗ พระองค์ จำนวนนี้สิ้นชีพิตักษัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ๓ พระองค์

พ.ศ. ๒๔๔๙ เวลานั้นพระราชโอรสรุ่นเล็กในสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถเสด็จไปทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา พระราชโอรสพระองค์เล็ก เสด็จไปในปีนี้ สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงรับเจ้านายเล็กๆ และบุตรหลานข้าราชบริพารจำนวนมากไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ด้วยมีพระราชอัชฌาศัยทรงพระเมตตาเด็กๆ หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระชันษา ๒ ปี เป็นพระนัดดาใกล้ชิด “สมเด็จป้า” จึงโปรดให้เสด็จมาประทับ ณ พระตำหนักสวนสี่ฤดู พระราชวังดุสิต ให้ทรงหัดเรียนเขียนอ่าน ทรงฝึกฝนการเย็บปักถักร้อยงานผ้า ดอกไม้ และอาหาร เป็นความรู้สำหรับราชกุมารีตามราชประเพณี

เมื่อหม่อมเจ้ารำไพพรรณีประทับที่พระตำหนักสวนสี่ฤดู เป็นช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ “สมเด็จป้า” ทั้งสองพระองค์โปรดทรงงานเกษตรกรรม ทรงทดลองการเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชผักทำนาในแปลงนาส่วนพระองค์ ที่ทุ่งพญาไท

บางโอกาส หม่อมเจ้ารำไพพรรณีตามเสด็จพระบิดามารดาไปประทับร่วมกับเจ้าพี่เจ้าน้อง ทรงพระสำราญด้วยสภาพแวดล้อมแปลกแตกต่างจากในราชสำนัก บางครั้งทรงลงสรงน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยากับเจ้านายพี่น้องฝ่ายชาย นับเป็นวีรกรรมตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทั้งสองบรรยากาศเป็นพระประสบการณ์และพื้นฐานสำหรับพระราชกรณียกิจต่อมา

วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชินีนาถเสด็จฯ ไปประทับเพื่อทรงจัดการงานพระบรมศพ ณ พระบรมมหาราชวัง หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระชันษา ๖ ปี ตามเสด็จไปด้วย จึงโปรดให้ทรงเริ่มต้นการศึกษา ณ โรงเรียนราชินี

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี เสด็จประทับ ณ พระตำหนักวังพญาไทจึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดครูถวายการสอนหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีที่พระตำหนัก เนื่องจากวังพญาไทอยู่ห่างจากไกลโรงเรียนราชินี

วันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีเกศากันต์พระราชทานพร้อมเจ้านายพี่น้องหลายพระองค์ เมื่อเกศากันต์แล้วยังคงประทับที่วังพญาไท โปรดเกล้าฯ ให้ทรงศึกษาวิชาความรู้สำหรับราชกุมารีและวิชาตามพระอัธยาศัย

 

พระชายาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา

เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาวิชาทหารจากอังกฤษแล้ว สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา เสด็จกลับเมืองไทย ทรงรับราชการทหาร เมื่อเสด็จมาเฝ้าสมเด็จแม่ที่วังพญาไท สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถโปรดให้หม่อมเจ้ารำไพพรรณีทรงรับใช้ใกล้ชิดจนสองพระองค์มีพระหฤทัยผูกพัน ภายหลังสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนศุโขทัยธรรมราชาทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนาแล้ว จึงกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสกสมรส

พิธีเสกสมรสพระราชทานจัดขึ้น เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๑พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน พระนครศรีอยุธยา เป็นวาระแรกที่มีพิธีการตามแบบแผนพระราชนิยมในรัชกาลที่ ๖ กล่าวคือ มีการให้คำปฏิญาณ และการลงพระนามในสมุดทะเบียนแต่งงาน

สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชา และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ประทับ ณ พระตำหนักหอ วังศุโขทัย ในฐานะพระชายาทรงฝึกฝนเรียนรู้พระราชกิจ ทรงปกครองวังศุโขทัยตั้งแต่พระชนมายุเพียง ๑๔-๑๕ พรรษา ทรงครองพระองค์ร่วมกันในวิถีสมัยใหม่ โปรดอ่านหนังสือเพื่อข่าวสารและความรู้ ทรงกีฬาต่าง ๆ ทรงมีรสนิยมไปในทางเดียวกัน จึงเพิ่มพูนความกลมเกลียวผูกพัน

ภายหลังงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชากราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสด็จไปรักษาพระองค์ ณ ทวีปยุโรป เมื่อพระอาการประชวรคลายลงแล้ว จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตทรงศึกษาวิชาการทหารชั้นสูงเพิ่มเติม ณ ประเทศฝรั่งเศส พระชายาซึ่งตามเสด็จไปด้วยทรงศึกษาภาษาฝรั่งเศสและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เสด็จไปทัศนศึกษาสถานที่ต่าง ๆ เป็นเวลา ๔ ปีที่สองพระองค์ประทับในต่างประเทศ เป็นเวลาที่พระชายาทรงบ่มเพาะพระประสบการณ์ แต่หลายสิ่งอย่างทรงซึมซับและเรียนรู้จากพระสวามีด้วย

เมื่อเสด็จกลับพระนคร สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนศุโขทัยธรรมราชาทรงรับราชการในตำแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก เป็นนายพันเอก ผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ ๒ ผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ ที่ ๒ และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงศึกษางานราชการในฐานะ “รัชทายาท” ด้วย ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศุโขทัยธรรมราชา

 

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี พระราชินีองค์แรกแห่งระบอบประชาธิปไตย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ที่ประชุมพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เห็นพ้องเป็นเอกฉันท์อัญเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศุโขทัยธรรมราชา ขึ้นครองราชย์

วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์อย่างสมบูรณ์ ตามลำดับพระราชพิธีนั้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาหม่อมเจ้ารำไพพรรณี ขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเครื่องราชูปโภคสำหรับตำแหน่งพระอัครมเหสีด้วย[1] เป็นครั้งแรกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่มีการสถาปนาพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินี ต่อมาในเดือนมีนาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สตรีมีศักดิ์เป็นนางสนองพระโอฐและนางพระกำนัล รับราชการในสมเด็จพระบรมราชินี

ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จพระราชดำเนินจากเหนือสุดของประเทศไปถึงใต้สุดประเทศ ทรงสร้างเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศตั้งแต่ระดับเพื่อนบ้าน ประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย ไปถึงทวีปยุโรปและอเมริกา สมเด็จพระบรมราชินีทรงเป็นที่กล่าวขานถึงพระสิริโฉม และพระราชจรรยาอัชฌาศัยอ่อนหวาน เรียบง่าย พระราชจริยาวัตรทันสมัยทันโลก

ช่วงระยะเวลา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวครองสิริราชสมบัติ เมืองไทยประสบความผันผวนด้านเศรษฐกิจ ต่อเนื่องถึงเหตุการณ์ทางการเมืองขั้นรุนแรง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเผชิญปัญหาเหล่านี้อย่างทรงหลีกเลี่ยงไม่ได้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเคียงข้างเสมอ

 

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เช้าตรู่ วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ คณะบุคคลกลุ่มหนึ่ง เรียกตนเองว่า คณะราษฎร ประกอบด้วยทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ ทำการยึดสถานที่สำคัญของทางราชการ และกักขังพระบรมวงศานุวงศ์ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เป็นประกัน

ระหว่างนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล หัวหิน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เมื่อทางกรุงเทพฯ ส่งหลวงศุภชลาศัยเข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จกลับโดยเรือหลวงสุโขทัย เมื่อไม่โปรดเสด็จกลับโดยเรือหลวงสุโขทัย หลวงศุภชลาศัยจึงเดินทางกลับ จากเหตุการณ์นี้จึงทรงปรึกษาสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชินีทรงมีความเห็นว่า “เข้าไปตายก็ไม่เป็นไร ต้องมีศักดิ์ศรี มีสัจจะ”[2] คำตอบนี้รวมทั้งความเห็นของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นที่ทรงชื่นชม ดังความในพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ในเดือนสิงหาคม ๒๔๗๕ ว่า

“... ทั้งสมเด็จ (พระบรมราชินี) และแม่ของสมเด็จ (พระองค์เจ้าอาภาพรรณี) บอกว่า เราต้องกลับกรุงเทพฯ ให้ได้ ฉันต้องยอมรับว่าทั้งสมเด็จและหญิงอาภาควรจะได้รับเกียรติศักดิ์อย่างสูง ที่แสดงความกล้าหาญอย่างยิ่งเช่นนั้น เพราะเราทุกๆคนทราบดีว่าถึงเรายอมกลับกรุงเทพฯ ต่อไปเขาจะฆ่าเราเสียก็ได้ ผู้หญิงสองคนนั้นเขากล้ายอมตายเสียดีกว่าที่จะเสียเกียรติศักดิ์ เมื่อเขาตกลงเช่นนั้นฉันก็เห็นด้วยทันที...”[3]

คืนวันที่ ๒๔ มิถุนายน เสด็จพระราชดำเนินจากหัวหินโดยรถไฟพระที่นั่ง เสด็จนิวัตพระนครในวันรุ่งขึ้นต่อมาวันที่ ๒๗ มิถุนายน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครองและรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวนับแต่นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินี พระองค์สุดท้ายในระบอบราชาธิปไตย และพระองค์แรกในระบอบรัฐธรรมนูญของไทย

นับแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เดือนมิถุนายน ๒๔๗๕ ความขัดแย้งทางการเมืองเริ่มต้นตั้งแต่ความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างเค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ก่อการของคณะราษฎร ที่นำเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ขยายเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับคณะราษฎร และการช่วงชิงอำนาจทางการเมือง ขณะที่นายทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่งนำโดยพลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ในนาม “คณะกู้บ้านกู้เมือง” ไม่เห็นด้วยกับคณะราษฎร นำทหารจากภาคกลางและอีสานมุ่งสู่กรุงเทพฯ เรียกร้องให้รัฐบาลลาออก ในวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ เหตุการณ์ลุกลามเป็นการต่อสู้ปะทะกัน ในวันที่ ๒๔ ตุลาคม ฝ่ายรัฐบาลปราบปรามได้สำเร็จ ต่อมาจึงเรียกเหตุการณ์นี้ว่า กบฏบวรเดช

ช่วงที่เกิดเหตุการณ์กบฏบวรเดช พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ วังไกลกังวล ทรงพระวิตกในเหตุการณ์ เนื่องจากไม่มีพระราชประสงค์ทรงเข้ากับฝ่ายใด จึงเลี่ยงเสด็จฯกลับพระนคร และตัดสินพระราชหฤทัยประทับเรือยนต์พระที่นั่งขนาดเล็กฝ่าคลื่นลมมุ่งลงทางใต้ แล้วเสด็จฯ โดยเรือของบริษัทอิสต์เอเชียติกไปยังจังหวัดสงขลา ประทับที่พระตำหนักเขาน้อยของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศร์

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี มีพระราชดำรัสถึงเหตุการณ์ดังกล่าวภายหลังว่า “ฉันไม่คิด ไม่รู้สึกอะไรทั้งนั้น ถ้าจะตายก็ตายด้วยกัน”[4] ทั้งสองพระองค์เสด็จกลับพระนครในเดือนธันวาคม ๒๔๗๖ “ท่ามกลางเหตุการณ์ไม่ค่อยจะดีนัก และดูเหมือนว่าจะมีอะไรรุนแรงมากขึ้นทุกที”[5] จนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีรับสั่งว่า ถ้าจะมีเรื่องเกิดขึ้นก็จะทรงใช้พระแสงปืนยิงพระองค์เอง แล้วให้หม่อมราชวงศ์สมัครสมาน กฤดากรยิงสมเด็จพระบรมราชินี แต่ไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงดังที่ทรงพระราชดำริไว้[6]

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินเยือนยุโรป ในเดือนมกราคม ๒๔๗๖ ถึงเดือนสิงหาคม ๒๔๗๗ จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงรักษาพระเนตรที่ประเทศอังกฤษประทับที่ บ้านโนลหรือ พระตำหนักโนล (Knowle House) ในหมู่บ้านแครนลีย์ (Cranleigh) มณฑลเซอร์เรย์ (Surrey) ท่ามกลางกระแสความขัดแย้งกับรัฐบาล สมเด็จพระบรมราชินี มีรับสั่งในภายหลังว่า เมื่อเสด็จประพาสประเทศอียิปต์ ทางรัฐบาลกล่าวหาว่าทรงส้องสุมผู้คนเพื่อชิงอำนาจคืน เมื่อทรงพบปะพระบรมวงศานุวงศ์ก็ถูกกล่าวหาว่าคบคิดกัน

ตลอดเวลาประทับที่ประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงติดต่อเจรจากับรัฐบาล ท้ายสุดคือรัฐบาลไม่ดำเนินการตามพระราชประสงค์

เหตุการณ์ผกผันในพระชนม์ชีพของสมเด็จพระบรมราชินีอีกครั้ง เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยประกาศสละราชสมบัติ วันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ ณ พระตำหนักโนล แต่ไม่ว่าจะเกิดสิ่งใดอันเป็นผลกระทบต่อมา เช่น รัฐบาลลดพระเกียรติยศลง ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สถานการณ์ภาวะสงครามเริ่มปะทุในยุโรป พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีสมเด็จพระบรมราชินีเคียงข้างทุกสถานการณ์ แต่สมเด็จพระบรมราชินีกลับต้องสูญเสียพระราชสวามีที่รักยิ่งในวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๔๘๔เคหาสน์คอมพ์ตัน เวอร์จิเนีย วอเตอร์ ด้วยพระชนมพรรษา 48 พรรษา สมเด็จพระบรมราชินีมิได้ทรงแสดงออกถึงความวิปโยคโศกเศร้า ด้วยทรงควบคุมพระสติมั่นคง

ภายหลังพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชินีประทับอยู่ ณ บ้านลิแนมของพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ จนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๔ จึงเสด็จฯกลับไปประทับ ณ เคหาสน์คอมพ์ตัน

หลังสงครามสิ้นสุดลง สมเด็จพระบรมราชินียังประทับที่อังกฤษ จนถึง พ.ศ. ๒๔๙๑ รัฐบาลกราบบังคมทูลขอพระราชทานให้ทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจากเคหาสน์คอมพ์ตันเวอร์จิเนีย วอเตอร์ ประเทศอังกฤษ กลับประเทศไทย การนี้รัฐบาลถวายพระเกียรติยศในฐานะพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีทุกประการ

 

สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗

เมื่อเสด็จนิวัติพระนคร สมเด็จพระบรมราชินีทรงร่วมงานพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส และพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในพระราชพิธีสำคัญนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ในส่วนสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จึงเป็นที่ขนานพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗

ภายหลังงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ไม่มีการพระราชพิธีสำคัญ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 จึงเสด็จฯไปประทับ ณ สวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่พัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนเกษตร เรียกได้ว่าทรงเป็นนักพัฒนาการเกษตร งานเกษตรนั้นทรงคุ้นเคยตั้งแต่เยาว์พระขันษา จนเสด็จประทับ ณ พระตำหนักวังศุโขทัย ก็โปรดเสด็จลงทำสวน เมื่อเสด็จไปประทับที่อังกฤษ ทั้งสองพระองค์มีสวนดอกไม้ที่ทรงดูแลเองที่สวนบ้านแก้วนี้ มีพระราชประสงค์ทดลองหาพืชที่เหมาะสมเจริญงอกงามดีไปแนะนำเผยแพร่แก่ราษฎรในท้องถิ่น

สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ทรงเป็นนักพัฒนางานหัตถกรรม ทรงศึกษาเรียนรู้เทคนิคใหม่ การออกแบบที่ทันสมัย จนทำให้เสื่อจันทบูรณ์ เป็นหัตถกรรมที่รู้จักกันแพร่หลายในนามผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ”ทรงเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนทำให้รูปแบบผลิตภัณฑ์หลากหลายตรงกับความต้องการใช้งาน

เมื่อสมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ มีพระชนมายุสูงขึ้น มิได้เสด็จไปประทับที่สวนบ้านแก้ว โปรดเกล้าฯ ให้ขายสวนบ้านแก้วในราคาถูกแก่กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นที่ตั้งวิทยาลัยครูรำไพพรรณี ต่อมา คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ซึ่งยังคงอนุรักษ์พระตำหนักเป็นแหล่งเรียนรู้พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสมอ ที่จันทบุรี พระราชทานเงินสร้างอาคารโรงพยาบาล ทรงอุปถัมภ์เพื่อยกระดับและพัฒนาโรงพยาบาลจันทบุรีให้สามารถรับใช้ประชาชนจันทบุรีและจังหวัดใกล้เคียง ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลจึงได้รับพระราชทานนามใหม่ว่า โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี

สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ทรงปฏิบัติบำเพ็ญพระราชกรณียกิจแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และทรงประกอบพระราชกรณีกิจเพื่อพสกนิกร เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนราษฎร พระราชทานความช่วยเหลือ จนเป็นที่กล่าวขานว่า “งานหลวงมิได้ขาด งานราษฎร์มิได้เว้น” แต่เหนือสิ่งอื่นใดทรงเทิดทูนพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วยทรงจงรักภักดี ทรงเป็นธุระในการที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ อยู่เสมอไป

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ประชวรสวรรคตด้วยพระหทัยวายณ วังศุโขทัย“บ้าน” ที่ทรงร่วมทุกข์ร่วมสุขกับพระราชสวามี ในวันอังคารที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ พระชนมพรรษา ๗๙ ปี

 

พระราชพิธีพระบรมศพ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานพระบรมศพในพระโกศทองใหญ่ ภายใต้สัปตฎลเศวตฉัตร ประกอบและแวดล้อมด้วยเครื่องประดับพระบรมโกศครบตามราชประเพณี เครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคสำหรับตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสี และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยและต่างประเทศ

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘ วันที่ ๑๐ เมษายน โปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระโกศพระบรมอัฐิประดิษฐาน ณ พระวิมานทอง หอพระบรมอัฐิ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และเชิญพระราชสรีรางคารไปประดิษฐาน ณ ฐานพุทธบัลลังก์พระพุทธอังคีรสในพระอุโบสถ วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม ในวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘

 

อ้างอิง

  1. ประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม รามนันทน์), พระยา. ๒๔๙๒. จดหมายเหตุบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม. , หน้า ๓๙.
  2. ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๖๘.
  3. จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. ๒๕๔๑. เจ้าชีวิต-สยามก่อนยุคประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ห้า กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), หน้า ๓๒๒.
  4. ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๗๔.
  5. ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๕.
  6. ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด. หน้า ๗๕.

 

บรรณานุกรม

กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า. ๒๕๔๗. มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. ๒๕๔๑. เจ้าชีวิต-สยามก่อนยุคประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ห้า กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

ประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม รามนันทน์), พระยา. ๒๔๙๒. จดหมายเหตุบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๖๘. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม.

ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. พระราชประวัติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด.

ราชเลขาธิการ, สำนัก. ๒๕๒๘. ประมวลพระฉายาลักษณ์และภาพพระราชกรณียกิจสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ (1984).