ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทียนแห่งธรรม (พ.ศ. 2551)"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''พรรคเทียนแห่งธรรม''' | '''พรรคเทียนแห่งธรรม''' | ||
พรรคเทียนแห่งธรรมจดทะเบียนจัดตั้ง[[พรรคการเมือง]]เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2551 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 70ง หน้า 104</ref> โดยมีนายธนากร วีรกุลเดชทวี เป็น[[หัวหน้าพรรค]]และนางจันทิมา วีระกุลเดชทวี <ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 70ง หน้า 140</ref> ดำรงตำแหน่งเป็น[[เลขาธิการพรรค]] ซึ่งในการจัดตั้งพรรคเทียนแห่งธรรมนั้นได้มีหลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตต่อการจัดตั้งพรรคดังกล่าวว่าเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มพันธมิตรหรือไม่ก็เป็นการจัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มมวลชนที่สนับสนุน[[กลุ่มพันธมิตร]] แต่ถ้าดูจากรายชื่อ[[คณะกรรมการบริหารพรรค]]เทียนแห่งธรรม จำนวน 9 คน ที่ถูกระบุไว้ในราชกิจจานุเบกษาแล้วนั้นกลับไม่พบชื่อแกนนำของกลุ่มพันธมิตรทั้ง 5 คนแต่อย่างใด | |||
สำหรับการดำเนินการทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคเทียนแห่งธรรมนั้นที่ผ่านมาพรรคยังไม่ได้เข้าร่วม[[การเลือกตั้ง]][[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]แต่อย่างใดเนื่องจากพรรคถูกจัดตั้ง | |||
ขึ้นหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แล้วนั่นเอง | ขึ้นหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แล้วนั่นเอง | ||
รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ | รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ | ||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
1.สนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารนโยบายของพรรคโดยไม่มีข้อจำกัด | 1.สนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารนโยบายของพรรคโดยไม่มีข้อจำกัด | ||
2. | 2.มุ่งส่งเสริม[[การปกครองส่วนท้องถิ่น]] | ||
3. | 3.ปรับปรุง[[การบริหารราชการส่วนกลาง]] [[ส่วนภูมิภาค]]และ[[ส่วนท้องถิ่น]]ให้เกิดความสอดคล้องกันในการบริหารงาน | ||
4.นำระบบคุณธรรมมาใช้เป็นหลักในการบริหาร ส่งเสริมความซื่อสัตย์สุจริต | 4.นำระบบคุณธรรมมาใช้เป็นหลักในการบริหาร ส่งเสริมความซื่อสัตย์สุจริต | ||
บรรทัดที่ 46: | บรรทัดที่ 46: | ||
6.ทำนุบำรุงศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชาติ | 6.ทำนุบำรุงศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชาติ | ||
7. | 7.ส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรทางด้านสถาบัน[[ตุลาการ]] | ||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:24, 23 มิถุนายน 2553
พรรคเทียนแห่งธรรม
พรรคเทียนแห่งธรรมจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2551 [1] โดยมีนายธนากร วีรกุลเดชทวี เป็นหัวหน้าพรรคและนางจันทิมา วีระกุลเดชทวี [2] ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค ซึ่งในการจัดตั้งพรรคเทียนแห่งธรรมนั้นได้มีหลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตต่อการจัดตั้งพรรคดังกล่าวว่าเป็นพรรคที่จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มพันธมิตรหรือไม่ก็เป็นการจัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มมวลชนที่สนับสนุนกลุ่มพันธมิตร แต่ถ้าดูจากรายชื่อคณะกรรมการบริหารพรรคเทียนแห่งธรรม จำนวน 9 คน ที่ถูกระบุไว้ในราชกิจจานุเบกษาแล้วนั้นกลับไม่พบชื่อแกนนำของกลุ่มพันธมิตรทั้ง 5 คนแต่อย่างใด
สำหรับการดำเนินการทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคเทียนแห่งธรรมนั้นที่ผ่านมาพรรคยังไม่ได้เข้าร่วมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่อย่างใดเนื่องจากพรรคถูกจัดตั้ง ขึ้นหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แล้วนั่นเอง รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ
1. ด้านการบริหารจัดการ
1.สนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารนโยบายของพรรคโดยไม่มีข้อจำกัด
2.มุ่งส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
3.ปรับปรุงการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นให้เกิดความสอดคล้องกันในการบริหารงาน
4.นำระบบคุณธรรมมาใช้เป็นหลักในการบริหาร ส่งเสริมความซื่อสัตย์สุจริต
5.มุ่งเสริมสร้างสมรรถนะทางการทหาร ตำรวจเพื่อความมั่นคงทั้งภายในและภายนอกประเทศ
2. ด้านเศรษฐกิจ
1.สนับสนุนระบบสหกรณ์หมู่บ้าน
2.สนับสนุนข้อมูลวิชาการ เงินทุนเพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการประกอบอาชีพ
3.มุ่งเน้นการฟื้นฟูทรัพยากรทางธรรมชาติ เช่น ป่าไม้และแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อให้พอเพียงต่อการใช้สอยในทั้งภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมรวมทั้งแก้ไขปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมควบคู่กันไป
4.พัฒนาระบบบริหารและบริการของรัฐวิสาหกิจ
3. ด้านสังคม
1.ช่วยเหลือบรรดาลูกจ้าง ผู้ใช้แรงงานที่ถูกเอารัดเอาเปรียบทั้งในและต่างประเทศโดยจะตั้งศูนย์ประสานงานรับเรื่องราวพร้อมเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของคู่กรณี
2.จัดหาการบริการทางการแพทย์ให้เข้าถึงประชาชนในทุกท้องถิ่น
3.ส่งเสริมการออกกำลังกาย
4.มุ่งส่งเสริมสวัสดิภาพและรายได้ของข้าราชการและพนักงานของรัฐ พัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อให้เยาวชนและบุคลากรของรัฐมีความรู้ทัดเทียมกับต่างประเทศ
5.ส่งเสริมการศึกษาโดยการจัดหาทุนเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง
6.ทำนุบำรุงศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชาติ
7.ส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรทางด้านสถาบันตุลาการ
4. ด้านการต่างประเทศ
1.ส่งเสริมการผูกมิตรกับนานาประเทศเพื่อให้เกิดการพึ่งพาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคง
2.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามระหว่างกัน