ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรณีสวรรคตรัชกาลที่ 8"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
== กรณีสวรรคตรัชกาลที่ 8 == | == กรณีสวรรคตรัชกาลที่ 8 == | ||
กรณีการสวรรคตของ[[รัชกาลที่ 8]] ([[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล | กรณีการสวรรคตของ[[รัชกาลที่ 8]] ([[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร]]) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงสวรรคตด้วยพระแสงปืนซึ่งยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร จนกระทั่งในปัจจุบันกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ก็ยังเป็นเหตุการณ์ที่มีการถกเถียงกันอยู่ และ ได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ | ||
อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาดังกล่าว กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ก่อให้เกิดผลต่อก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง โดยเฉพาะกรณี [[นายปรีดี พนมยงค์]] [[นายกรัฐมนตรี]]ในขณะนั้น และ[[กลุ่มการเมือง]]สายนายปรีดีถูกกลุ่ม[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]ทำการ[[รัฐประหาร | อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาดังกล่าว กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ก่อให้เกิดผลต่อก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง โดยเฉพาะกรณี [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]] [[นายกรัฐมนตรี]]ในขณะนั้น และ[[กลุ่มการเมือง]]สายนายปรีดีถูกกลุ่ม[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]ทำการ[[รัฐประหาร พ.ศ. 2490|รัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2490]] ด้วยเหตุผลเกี่ยวเนื่องกับคดีสวรรคตดังกล่าว | ||
== ลำดับเหตุการณ์lสำคัญก่อนการสวรรคต == | == ลำดับเหตุการณ์lสำคัญก่อนการสวรรคต == | ||
บรรทัดที่ 17: | บรรทัดที่ 17: | ||
'''2 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรเกี่ยวกับพระนาภี (มีอาการปวดท้อง) | '''2 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรเกี่ยวกับพระนาภี (มีอาการปวดท้อง) | ||
'''3 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' | '''3 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]พร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดข เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมประชาชนในย่านสำเพ็ง | ||
'''5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ทรงทอดพระเนตรการทำนาและกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่อำเภอ | '''5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ทรงทอดพระเนตรการทำนาและกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่อำเภอ | ||
'''7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' นายปรีดี | '''7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]]ได้รับเลือกจาก[[รัฐสภา]]ให้เข้าดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] (ครั้งที่ 2) และคืนวันนี้ นายปรีดี ได้ถูกเรียกให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อทรงซักถามความสมัครใจที่จะรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายปรีดี เข้าเฝ้าอยู่ประมาณชั่วโมงกว่า ๆ ก็ถวายทูลลากลับ | ||
'''8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี และวันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรพระนาภีมากขึ้น แพทย์ประจำพระองค์ (หลวงวินิตย์เวชวิศิษฐ์) ได้ถวายยาเม็ดตอนเย็น และแนะนำให้สมเด็จพระบรมราชชนนีสวนพระบังคลหนักให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ในค่ำนั้นและให้ถวายน้ำมันละหุ่งผสมนมสดและบรั่นดีในเช้าวันรุ่งขึ้น (สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงสวนพระบังคลหนักให้พระองค์ โดยมีนายชิต สิงหเสนีเป็นผู้ช่วย) ช่วงกลางคืนมีมหาดเล็กอยู่เวรยามทั้งชั้นล่างชั้นบนตลอดคืน | '''8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 :''' พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี และวันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรพระนาภีมากขึ้น แพทย์ประจำพระองค์ (หลวงวินิตย์เวชวิศิษฐ์) ได้ถวายยาเม็ดตอนเย็น และแนะนำให้สมเด็จพระบรมราชชนนีสวนพระบังคลหนักให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ในค่ำนั้นและให้ถวายน้ำมันละหุ่งผสมนมสดและบรั่นดีในเช้าวันรุ่งขึ้น (สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงสวนพระบังคลหนักให้พระองค์ โดยมีนายชิต สิงหเสนีเป็นผู้ช่วย) ช่วงกลางคืนมีมหาดเล็กอยู่เวรยามทั้งชั้นล่างชั้นบนตลอดคืน | ||
บรรทัดที่ 39: | บรรทัดที่ 39: | ||
:::จรูญ ตะละภัฎ ได้ให้การว่า '''เวลาประมาณ 9 นาฬิกา''' หลังจากกินอาหารเช้าที่ชั้นล่างแล้วได้ขึ้นมาที่ห้องนอนสมเด็จพระบรมราชชนนีแต่ไม่พบสมเด็จพระบรมราชชนนี“เข้าใจว่าคงเสด็จเข้าห้องสรง” เธอจึงทำการเก็บพระแท่นบรรทม (แต่สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ให้การว่า “มีพระพี่เลี้ยงเนื่องมาที่ห้องฉัน นางสาวจรูญเข้ามาด้วยหรือไม่นั้นจำไม่ได้แน่ แต่ตามความรู้สึกแล้วรู้สึกว่าไม่ได้มา” | :::จรูญ ตะละภัฎ ได้ให้การว่า '''เวลาประมาณ 9 นาฬิกา''' หลังจากกินอาหารเช้าที่ชั้นล่างแล้วได้ขึ้นมาที่ห้องนอนสมเด็จพระบรมราชชนนีแต่ไม่พบสมเด็จพระบรมราชชนนี“เข้าใจว่าคงเสด็จเข้าห้องสรง” เธอจึงทำการเก็บพระแท่นบรรทม (แต่สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ให้การว่า “มีพระพี่เลี้ยงเนื่องมาที่ห้องฉัน นางสาวจรูญเข้ามาด้วยหรือไม่นั้นจำไม่ได้แน่ แต่ตามความรู้สึกแล้วรู้สึกว่าไม่ได้มา” | ||
:::'''เวลาประมาณ 9.30 น.''' มีเสียงปืนดังขึ้นภายในห้องบรรทมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นายชิตวิ่งเข้าไปดู แล้ววิ่งไปตามสมเด็จพระบรมราชชนนีเมื่อสมเด็จพระบรมราชชนนีมาถึง พบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงนอนทอดพระวรกายบนที่นอนเหมือนทรงนอนหลับปกติพระกรทั้งสองวางอยู่ข้างพระองค์ (ไม่งอ) พระวิสูตร (มุ้ง) ถูกตลบขึ้นเหนือพระแท่น บนที่นอนบริเวณใกล้พระหัตถ์ซ้ายมีปืนสั้นวางอยู่ มีแผลกระสุนที่พระนลาฎ (หน้าผาก) เหนือคิ้ว บริเวณระหว่างพระขนง (คิ้ว) | :::'''เวลาประมาณ 9.30 น.''' มีเสียงปืนดังขึ้นภายในห้องบรรทมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นายชิตวิ่งเข้าไปดู แล้ววิ่งไปตามสมเด็จพระบรมราชชนนีเมื่อสมเด็จพระบรมราชชนนีมาถึง พบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงนอนทอดพระวรกายบนที่นอนเหมือนทรงนอนหลับปกติพระกรทั้งสองวางอยู่ข้างพระองค์ (ไม่งอ) พระวิสูตร (มุ้ง) ถูกตลบขึ้นเหนือพระแท่น บนที่นอนบริเวณใกล้พระหัตถ์ซ้ายมีปืนสั้นวางอยู่ มีแผลกระสุนที่พระนลาฎ (หน้าผาก) เหนือคิ้ว บริเวณระหว่างพระขนง (คิ้ว) ข้างพระศพบริเวณข้อพระกรซ้ายมีปืนพก US Army ขนาดกระสุน 11 มม. วางอยู่ในลักษณะชิดข้อศอก ด้ามปืนหันออกจากตัว ปากกระบอกปืนชี้ไปที่ปลายพระแท่นบรรทม สมเด็จพระบรมราชชนนีได้โถมพระองค์เข้ากอดพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล จนสมเด็จพระอนุชาธิราชต้องพยุงสมเด็จพระบรมราชชนนีไปประทับที่พระเก้าอี้ปลายแท่นพระบรรทม | ||
:::จากนั้นพระราชชนนีจึงมีรับสั่งให้ตาม พ.ต. นายแพทย์หลวงนิตย์เวช ชวิศิษฐ์ แพทย์ประจำพระองค์มาตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่วนพระพี่เลี้ยงเนื่องได้จับพระชีพจรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ข้อพระหัตถ์ซ้าย พบว่าพระชีพจรเต้นอยู่เล็กน้อยแล้วหยุด พระวรกายยังอุ่นอยู่ | :::จากนั้นพระราชชนนีจึงมีรับสั่งให้ตาม พ.ต. นายแพทย์หลวงนิตย์เวช ชวิศิษฐ์ แพทย์ประจำพระองค์มาตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่วนพระพี่เลี้ยงเนื่องได้จับพระชีพจรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ข้อพระหัตถ์ซ้าย พบว่าพระชีพจรเต้นอยู่เล็กน้อยแล้วหยุด พระวรกายยังอุ่นอยู่ จึงเอาผ้าคลุมพระองค์มาซับบริเวณปากแผลและปืนกระบอกที่คาดว่าเป็นเหตุทำให้พระองค์ทรงสวรรคต ไปให้นายบุศย์เก็บพระแสงปืนไว้ที่ลิ้นชักพระภูษา เหตุการณ์ช่วงนี้เองได้ก่อปัญหาในการพิสูจน์หลักฐานในเวลาต่อมาเมื่อมีการจัดตั้ง “[[ศาลกลางเมือง]]” เพื่อสอบสวนเกี่ยวกับกรณีสวรรคต | ||
:::'''เวลาประมาณ 10.00 น.''' หลวงนิตย์เวชชวิศิษฐ์ได้มาถึงสถานที่เกิดเหตุและตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พบว่าสวรรคตแน่นอนแล้วจึงกราบทูลให้สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงทราบ สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงรับสั่งให้ทำความสะอาดและตกแต่งพระบรมศพ เพื่อเตรียมการถวายน้ำทรงพระบรมศพในช่วงเย็น ในช่วงเวลาเดียวกันพระยาเทวาธิราช (ม.ร.ว. เทวาธิราช ป. มาลากุล) สมุหพระราชพิธีได้เดินทางไปที่ทำเนียบท่าช้าง ที่พักของนายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรีเพื่อแจ้งข่าวการสวรรคต ( | :::'''เวลาประมาณ 10.00 น.''' หลวงนิตย์เวชชวิศิษฐ์ได้มาถึงสถานที่เกิดเหตุและตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พบว่าสวรรคตแน่นอนแล้วจึงกราบทูลให้สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงทราบ สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงรับสั่งให้ทำความสะอาดและตกแต่งพระบรมศพ เพื่อเตรียมการถวายน้ำทรงพระบรมศพในช่วงเย็น ในช่วงเวลาเดียวกันพระยาเทวาธิราช (ม.ร.ว. เทวาธิราช ป. มาลากุล) สมุหพระราชพิธีได้เดินทางไปที่ทำเนียบท่าช้าง ที่พักของนายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรีเพื่อแจ้งข่าวการสวรรคต (ขณะนั้นนายปรีดีประชุมอยู่กับ[[หลวงเชวงศักดิ์สงคราม]] (รมว. มหาดไทย) พล.ต.อ. พระรามอินทรา (อธิบดีกรมตำรวจ) และ หลวงสัมฤทธิ์สุขุมวาท (ผู้บังคับการตำรวจสันติบาล) ในเรื่องกรรมกรที่มักกะสันหยุดงาน[[ประท้วง]]) | ||
:::'''เวลาประมาณ 11.00 น.''' นายปรีดีมาถึงพระที่นั่งบรมพิมาน | :::'''เวลาประมาณ 11.00 น.''' นายปรีดีมาถึงพระที่นั่งบรมพิมาน และสั่งให้พระยาชาติเดชอุดมอัญเชิญพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่และเชิญ[[คณะรัฐมนตรี]] มาประชุมเกี่ยวกับเรื่องการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ประชุมสรุปว่าให้ออกแถลงการณ์แจ้งให้ประชาชนทราบว่า การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเป็นอุบัติเหตุ แถลงการณ์ของกรมตำรวจที่ออกมาในวันนั้นก็มีเนื้อหาในลักษณะเดียวกัน | ||
:::'''เวลา 21.00 น.''' | :::'''เวลา 21.00 น.''' [[รัฐบาล]]เรียกประชุม[[รัฐสภา]]เป็นการด่วน เพื่อแจ้งให้สภาทราบเรื่องการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และสรรหาผู้สืบราชสมบัติ ที่ประชุมได้ลงมติถวายราชสมบัติให้แก่สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นสืบราชสมบัติ เป็[[นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] [[รัชกาลที่ 9]] แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ต่อไป จากนั้นนายปรีดีได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อแสดงความรับผิดชอบในกรณีสวรรคต | ||
'''10 มิถุนายน 2489 :''' เจ้าหน้าที่และแพทย์จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้เดินทางมาทำการฉีดยารักษาสภาพพระบรมศพระหว่างการทำความสะอาดพระบรมศพเพื่อเตรียมการฉีดยานั้น คณะแพทย์และเจ้าหน้าที่ได้พบบาดแผลที่พระปฤษฎางค์ (ท้ายทอย) ซึ่งเป็นบาดแผลที่พบใหม่ไม่ตรงกับคำแถลงการณ์ที่ออกมาในตอนแรก | '''10 มิถุนายน 2489 :''' เจ้าหน้าที่และแพทย์จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้เดินทางมาทำการฉีดยารักษาสภาพพระบรมศพระหว่างการทำความสะอาดพระบรมศพเพื่อเตรียมการฉีดยานั้น คณะแพทย์และเจ้าหน้าที่ได้พบบาดแผลที่พระปฤษฎางค์ (ท้ายทอย) ซึ่งเป็นบาดแผลที่พบใหม่ไม่ตรงกับคำแถลงการณ์ที่ออกมาในตอนแรก ทำให้ประชาชนเกิดความสงสัยว่ารัฐบาลมีส่วนในการปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรมตำรวจจึงออกแถลงการณ์เพิ่มเติมว่าได้ตั้งประเด็นการสวรรคตไว้ 3 ประเด็น คือ | ||
1. มีผู้ลอบปลงพระชนม์ | 1. มีผู้ลอบปลงพระชนม์ | ||
บรรทัดที่ 63: | บรรทัดที่ 63: | ||
== การอธิบายความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุสวรรคต == | == การอธิบายความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุสวรรคต == | ||
แม้ว่าการพิจารณาคดีกรณีสวรรคตของ[[รัชกาลที่ 8]] จะถึงที่สิ้นสุดแล้วโดยคำพิพากษาของศาลฏีกาแต่ก็ยังไม่มีคำอธิบายที่กระจ่างชัดเจนในกรณีนี้ ทำให้การอธิบายเกี่ยวกับกรณีสวรรคตครั้งนี้มักถูกกล่าวไว้ในทำนองว่า “เสด็จสวรรคตด้วยพระแสงปืน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง” หรือหลายฉบับระบุสาเหตุเพิ่มเติมด้วยว่า “เป็นเพราะพระแสงปืนลั่นระหว่างทรงทำความสะอาดพระแสงปืน” | |||
ด้วยเหตุนี้ กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 จึงยังเป็นคดีที่ยังมีเงื่อนงำเนื่องจากกรณีของคดีดังกล่าวถูกโยงเข้ากับการเมืองในช่วงเวลาดังกล่าวในแง่ของ “ใครอยู่เบื้องหลังกรณีสวรรคต” ซึ่งพุ่งเป้าไปที่นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี ซึ่งมีศัตรูทางการเมืองอยู่จำนวนมาก เช่น กลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจกลังร่วมกับญี่ปุ่นนำประเทศเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 | |||
ด้วยเหตุนี้ กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 จึงยังเป็นคดีที่ยังมีเงื่อนงำเนื่องจากกรณีของคดีดังกล่าวถูกโยงเข้ากับการเมืองในช่วงเวลาดังกล่าวในแง่ของ “ใครอยู่เบื้องหลังกรณีสวรรคต” ซึ่งพุ่งเป้าไปที่นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี ซึ่งมีศัตรูทางการเมืองอยู่จำนวนมาก เช่น กลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจกลังร่วมกับญี่ปุ่นนำประเทศเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 และ[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]ซึ่งเป็น[[พรรคฝ่ายค้าน]]ในขณะนั้น และยังมีประเด็นของจำเลยที่ถูก[[ศาลฎีกา]]ตัดสินว่ากระทำความผิดนั้น แท้จริงแล้วเป็นผู้บริสุทธิ์หรือไม่ หรือเพียงเป็นเหยื่อของการเมือง หรืออย่างไร ฉะนั้น การอธิบายกรณีดังกล่าวจึงมุ่งอธิบายใน สองประเด็นหลัก ประการที่หนึ่ง กรณีสวรรคตนี้เป็นการปลงพระชนม์โดยบุคคลอื่น และประการที่สอง ในหลวงรัชกาลที่ 8 ทรงกระทำการอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เอง | |||
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษาหาหลักฐานเกี่ยวกับกรณีสวรรคตมากสักเพียงใด มีการเสนอทฤษฎีและคำอธิบายต่อกรณีดังกล่าวมากสักเพียงใด ปัจจุบันก็ไม่มีทฤษฏีใดเลยที่ได้รับการยอมรับโดยไม่มีข้อโต้แย้ง และถึงแม้ว่าสังคมจะยอมรับกันว่านายปรีดีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวกับการสวรรคต แต่กรณีคดีของจำเลยทั้งสามที่ถูกประหารชีวิตไปก็ไม่เคยถูกรื้อฟื้นคดีขึ้นมาพิจารณาใหม่ ทั้งกระบวนการยุติธรรม หรือ การศึกษาหาความจริงใหม่ ทั้งที่ข้อกล่าวหาของจำเลยทั้งสามและปรีดีนั้น มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด ข้อกล่าวหาคือ ปรีดี เป็นผู้อยู่เบื้องหลังของจำเลยทั้งสาม และมีหลักฐานที่ทำให้เชื่อได้ว่า อย่างน้อยนายเฉลียวหนึ่งในสามจำเลยนั้นน่าจะเป็นผู้บริสุทธิ์ | อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษาหาหลักฐานเกี่ยวกับกรณีสวรรคตมากสักเพียงใด มีการเสนอทฤษฎีและคำอธิบายต่อกรณีดังกล่าวมากสักเพียงใด ปัจจุบันก็ไม่มีทฤษฏีใดเลยที่ได้รับการยอมรับโดยไม่มีข้อโต้แย้ง และถึงแม้ว่าสังคมจะยอมรับกันว่านายปรีดีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวกับการสวรรคต แต่กรณีคดีของจำเลยทั้งสามที่ถูกประหารชีวิตไปก็ไม่เคยถูกรื้อฟื้นคดีขึ้นมาพิจารณาใหม่ ทั้งกระบวนการยุติธรรม หรือ การศึกษาหาความจริงใหม่ ทั้งที่ข้อกล่าวหาของจำเลยทั้งสามและปรีดีนั้น มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด ข้อกล่าวหาคือ ปรีดี เป็นผู้อยู่เบื้องหลังของจำเลยทั้งสาม และมีหลักฐานที่ทำให้เชื่อได้ว่า อย่างน้อยนายเฉลียวหนึ่งในสามจำเลยนั้นน่าจะเป็นผู้บริสุทธิ์ | ||
== การอธิบายในแง่ของการถูกลอบปลงพระชนม์ == | == การอธิบายในแง่ของการถูกลอบปลงพระชนม์ == | ||
ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับการตัดสินให้จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และ นายเฉลียว มหาดเล็ก กระทำผิดและถูกตัดสินให้ประหารชีวิต ซึ่งยังเป็นคำถามที่ค้างคาใจว่าทั้งสามเป็นผู้บริสุทธิ์หรือไม่ เนื่องจาก ทั้งสามถูกโยงเข้ากับ การกล่าวหานายปรีดี พนมยงค์ที่ถูกกล่าวหาว่า “ปรีดีฆ่าในหลวง” เนื่องจากชี้แจงสาเหตุการสวรรคตแก่ประชาชนได้ไม่ชัดเจน และคลี่คลายคดีนี้ไม่สำเร็จ และกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้นายปรีดีไม่เดินทางกลับมาประเทศไทยอีกเลยจนสิ้นชีวิต | ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับการตัดสินให้จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และ นายเฉลียว มหาดเล็ก กระทำผิดและถูกตัดสินให้ประหารชีวิต ซึ่งยังเป็นคำถามที่ค้างคาใจว่าทั้งสามเป็นผู้บริสุทธิ์หรือไม่ เนื่องจาก ทั้งสามถูกโยงเข้ากับ การกล่าวหานายปรีดี พนมยงค์ที่ถูกกล่าวหาว่า “ปรีดีฆ่าในหลวง” เนื่องจากชี้แจงสาเหตุการสวรรคตแก่ประชาชนได้ไม่ชัดเจน และคลี่คลายคดีนี้ไม่สำเร็จ และกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้นายปรีดีไม่เดินทางกลับมาประเทศไทยอีกเลยจนสิ้นชีวิต หลังจาก[[การลี้ภัยทางการเมือง]]เพราะเหตุการณ์[[กบฏวังหลวง]] พ.ศ. 2492 อย่างไรก็ตาม ในขณะที่มีชีวิตอยู่ก็ได้ให้ลูกชาย (ปาล พนมยงค์) และคนรู้จักที่อยู่เมืองไทยคอยช่วยต่อสู้คดีหมิ่นประมาทจากกรณีสวรรคตอยู่ตลอด เพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ว่าตนเองไม่ได้มีส่วนก่อคดีสวรรคตนี้แต่อย่างใด ซึ่งผลปรากฏว่าชนะทุกคดี | ||
อีกทั้ง คดีนี้ได้กลายเป็นข้ออ้างสำคัญประการหนึ่งในการทำ[[รัฐประหาร พ.ศ. 2490]] ซึ่งในขณะที่การสืบสวนโดย[[รัฐบาล]][[หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]]กำลังคืบหน้านั้น พรรค[[ประชาธิปัตย์]]ร่วมกับ[[คณะทหาร]]ทำการรัฐประหาร วันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 และเมื่อพรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นรัฐบาลและมี[[ควง อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี นายควงได้แต่งตั้ง พลตำรวจตรีพระพินิจชนคดี (พี่เขยของ [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช]] และ [[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] แห่งพรรคประชาธิปัตย์) ซึ่งออกจากราชการไปแล้ว ให้กลับเข้ารับราชการ เพื่อทำหน้าที่สืบสวนกรณีสวรรคตเสียใหม่ อันนำไปสู่การจับกุมจำเลยทั้งสามในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เพียง 12 วันหลังรัฐประหาร และหลังจากการจับกุมนั้น พระพินิจชนคดี ก็ยังไม่สามารถหาพยานหลักฐานได้ทันในระยะเวลาสอบสวนตามที่กฎหมายกำหนดคือ 90 วัน รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ที่มีจึงได้เสนอ[[กฎหมาย]]ต่อ[[สภาผู้แทนราษฎร]] เมื่อ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2491 ขยายกำหนดเวลาขังผู้ต้องหาในกรณีสวรรคตได้เป็นพิเศษ ให้ศาลอนุญาตให้ขังผู้ต้องหาได้หลายครั้ง รวมเวลาไม่เกิน 180 วัน ก่อนการประหารชีวิต นายเฉลียว ปทุมรส 1 ใน 3 จำเลยของคดีดังกล่าว ได้ขอพบ [[เผ่า ศรียานนท์|พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์]] อธิบดีกรมตำรวจ และเล่ากันว่านายเฉลียวได้บอกชื่อฆาตรกรตัวจริงให้ พลตำรวจเอก เผ่า ทราบ | |||
สำหรับการอธิบายว่า ปรีดี เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการปลงพระชนม์ นั้น ก็มีกลุ่มที่เป็นลูกศิษย์นายปรีดี เช่น นายสุพจน์ ด่านตระกูล อธิบายไว้ว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวนั้น ในวันที่ 9 มิถุนายน ได้มีการเรียกประชุมด่วนในเวลา 21.10 น. โดยมี[[สมาชิกพฤฒสภา]] เข้าร่วมประชุม 64 นาย [[สมาชิกสภาราษฏร]] 63 นาย รวมเป็น 127 และนายปรีดีได้รายงานให้ที่ประชุมทราบถึงเหตุการณ์สวรรคตที่เกิดขึ้น เมื่อรายงานจบแล้ว สมาชิกแห่ง[[รัฐสภา]]ๆได้ยืนไว้อาลัยแด่ในหลวง และได้มีการซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น | |||
สำหรับการอธิบายว่า ปรีดี เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการปลงพระชนม์ นั้น ก็มีกลุ่มที่เป็นลูกศิษย์นายปรีดี เช่น นายสุพจน์ ด่านตระกูล อธิบายไว้ว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวนั้น ในวันที่ 9 มิถุนายน ได้มีการเรียกประชุมด่วนในเวลา 21.10 น. | |||
รวมทั้งนายปรีดีได้ชี้แจงในที่ประชุมรัฐสภาในวันที่ประชุม ต่อข่าวลือที่นายปรีดีถูกใส่ร้ายป้ายสีเป็น “ผู้ปลงพระชนม์” | รวมทั้งนายปรีดีได้ชี้แจงในที่ประชุมรัฐสภาในวันที่ประชุม ต่อข่าวลือที่นายปรีดีถูกใส่ร้ายป้ายสีเป็น “ผู้ปลงพระชนม์” | ||
“... เสียงลืออกุศลว่าคนนั้น คนนี้ออกมาแล้วไปทำอย่างนั้น อย่างนี้ นี่ก็เป็นเรื่องสืบเนื่องมาจากความอิจฉาริษยาเป็นมูลหรือมีบ่างช่างยุเป็นต้น เป็นมูลเหตุสืบเนื่องอย่างนั้น ... และอีกอย่างหนึ่ง สำหรับเรื่องพระองค์นี้ ข้าพเจ้ารู้สึกว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้ซึ่งจงรักภักดีต่อท่านมากที่สุดกว่าหลาย ๆ คน ในขณะที่ท่านประจำอยู่ในต่างประเทศหรือที่ท่านได้กลับมาแล้วก็ดี สิ่งใดอันเป็นสิ่งที่ท่านพึงปรารถนาในส่วนพระองค์ท่าน ข้าพเจ้าจัดถวายหรือบางสิ่งบางอย่างเมื่อท่านทรงรับสั่งถาม ข้อความอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ข้าพเจ้าก็ได้ชี้แจงตามระเบียบแบบแผนของแนว[[รัฐธรรมนูญ]]ตามนิสัยของข้าพเจ้า | :::“... เสียงลืออกุศลว่าคนนั้น คนนี้ออกมาแล้วไปทำอย่างนั้น อย่างนี้ นี่ก็เป็นเรื่องสืบเนื่องมาจากความอิจฉาริษยาเป็นมูลหรือมีบ่างช่างยุเป็นต้น เป็นมูลเหตุสืบเนื่องอย่างนั้น ... และอีกอย่างหนึ่ง สำหรับเรื่องพระองค์นี้ ข้าพเจ้ารู้สึกว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้ซึ่งจงรักภักดีต่อท่านมากที่สุดกว่าหลาย ๆ คน ในขณะที่ท่านประจำอยู่ในต่างประเทศหรือที่ท่านได้กลับมาแล้วก็ดี สิ่งใดอันเป็นสิ่งที่ท่านพึงปรารถนาในส่วนพระองค์ท่าน ข้าพเจ้าจัดถวายหรือบางสิ่งบางอย่างเมื่อท่านทรงรับสั่งถาม ข้อความอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ข้าพเจ้าก็ได้ชี้แจงตามระเบียบแบบแผนของแนว[[รัฐธรรมนูญ]]ตามนิสัยของข้าพเจ้า ซึ่งข้าพเจ้าถือว่าซื่อสัตย์ต่อ[[พระมหากษัตริย์]] ข้าพเจ้าไม่อ้างพระนามหรือเอาพระนามของท่านไปอ้างในที่ชุมนุมชนใด ๆ ซึ่งบางแห่งทำกัน หรือ ในกรณีที่ท่านสวรรคตแล้ว ข้าพเจ้าก็พยายามที่สุดที่จะพยายามทำในเรื่องนี้ ให้ขาวกระจ่างเพราะเป็นพระมหากษัตริย์ เราจะทำให้เรื่องเงียบอยู่เฉย ๆ ไม่ได้ ข้าพเจ้าไม่ปรารถนาทำอย่างคนบางคนทำให้ฉวยโอกาสเอาเรื่องสวรรคตของท่านไปโพนทะนากล่าวร้าย” | ||
“และวันนั้นจะต้องกล่าวเสียด้วย ข่าวที่ข้าพเจ้าได้ทราบเกี่ยวกับแก่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคตนั้น ข้าพเจ้าได้ทราบราวประมาณเกือบ 10 นาฬิกา เวลานั้น[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]กับอธิบดีกรมตำรวจได้มาที่บ้าน เนื่องจากกรรมกรมักกะสันสไตรค์ ข้าพเจ้าจึงโทรศัพท์เชิญราชเลขาไปด้วย เมื่อไปถึงแล้วเราอยู่ข้างล่างไม่ได้ขึ้นไปข้างบน เพราะเหตุว่าเกี่ยวแก่พระมหากษัตริย์ จึงได้เชิญเจ้านายผู้ใหญ่มาพร้อมแล้วจึงขึ้นไปชั้นบน | :::“และวันนั้นจะต้องกล่าวเสียด้วย ข่าวที่ข้าพเจ้าได้ทราบเกี่ยวกับแก่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคตนั้น ข้าพเจ้าได้ทราบราวประมาณเกือบ 10 นาฬิกา เวลานั้น[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]กับอธิบดีกรมตำรวจได้มาที่บ้าน เนื่องจากกรรมกรมักกะสันสไตรค์ ข้าพเจ้าจึงโทรศัพท์เชิญราชเลขาไปด้วย เมื่อไปถึงแล้วเราอยู่ข้างล่างไม่ได้ขึ้นไปข้างบน เพราะเหตุว่าเกี่ยวแก่พระมหากษัตริย์ จึงได้เชิญเจ้านายผู้ใหญ่มาพร้อมแล้วจึงขึ้นไปชั้นบน ส่วนในทางชั้นบนของท่านเป็นเรื่องที่ท่านปฐมพยาบาลในชั้นบน ข้าพเจ้าและรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]พร้อมด้วยเจ้านาย อันมีกรมขุนชัยนาทฯเป็นผู้นำขึ้นไป ได้ขึ้นไปเป็นเวลาเที่ยงเศษ ๆ แล้วขึ้นไปดูพระบรมศพ และความจริงในการตรวจเราจะไปถือกรณีพระมหากษัตริย์เหมือนเอกชนไม่ได้ ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนกฎหมาย ข้าพเจ้ารู้เรื่องวิธีพิจารณาความอาณาว่าเป็นอย่างไร และจะต้องทำอย่างไร ก็ได้บอกกับอธิบบดีกรมตำรวจว่าเราจะต้องทำให้แน่ชัด เช่น เหมือนอย่างว่า บอกให้หมอเอาโพล็กไปใส่พระกะโหลก ข้าพเจ้าก็ไม่รู้ราชาศัพท์ดี ได้ปรึกษาเจ้านาย บอกท่าน ท่านสั่นพระเศียร ข้าพเจ้าโดนทั้งขึ้นทั้งล่อง ถ้าจะต้องผ่ากะโหลกก็เป็นเรื่องพระศพของพระมหากษัตริย์ จะทำให้เสียพระราชประเพณี และวิธีพิจารณาทางอื่นก็มี เมื่อเป็นเช่นนี้จึงได้ตัดสินว่า เราจะต้องสอบถามผุ้ที่อยู่ใกล้ชิดและแพทย์ประจำพระองค์ คือ คุณหลวงนิตย์ เป็นผู้ปฐมพยาบาล. . .” | ||
แม้ว่านายปรีดีจะชี้แจงอย่างไร และ กลุ่มนายปรีดี ซึ่งหมายถึงกลุ่มของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ที่นายปรีดีไว้วางใจให้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อจากเขา ได้เคยระบุอย่างชัดเจนว่า หลักฐานที่ได้จากการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ ในสมัยที่เขาเป็นรัฐบาลบ่งบอกว่าใครคือ ผู้ต้องสงสัยแท้จริงในกรณีสวรรคต แต่ท่ามกลางข่าวลือสะพัดว่านายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง | แม้ว่านายปรีดีจะชี้แจงอย่างไร และ กลุ่มนายปรีดี ซึ่งหมายถึงกลุ่มของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ที่นายปรีดีไว้วางใจให้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อจากเขา ได้เคยระบุอย่างชัดเจนว่า หลักฐานที่ได้จากการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ ในสมัยที่เขาเป็นรัฐบาลบ่งบอกว่าใครคือ ผู้ต้องสงสัยแท้จริงในกรณีสวรรคต แต่ท่ามกลางข่าวลือสะพัดว่านายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้กลุ่ม[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]ทำการรัฐบาลและทำให้นายปรีดี ต้องลี้ภัยไปอยู่ที่จีน และในเวลาต่อมานายปรีดีได้ไปพำนักที่ฝรั่งเศส | ||
กรณีของนายปรีดีและในหลวงอานันท์นั้น สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลตั้งข้อสังเกตไว้ว่า จากบทสัมภาษณ์ของลูกศิษย์คนหนึ่งของนายปรีดีที่ว่า นายปรีดีไม่ยอมพูดถึงกรณีสวรรคตโดยเด็ดขาด ไม่ว่ากับใคร และ ได้รับการบอกเล่าเสมอว่า “อาจารย์ปรีดีเป็นผู้ปกป้องราชบัลลังก์ และยอมเสียสละตัวเองอย่างสูง” นัยของข้อความที่มีลักษณะเชิง “รหัส” แบบนี้คือ ปรีดีรู้ความจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคตแต่ไม่ยอมเปิดเผยออกไป เพื่อปกป้อง[[สถาบันกษัตริย์]] ทั้ง ๆ ที่ตัวเองต้องได้รับผลร้ายจากการไม่พูดนี้ | กรณีของนายปรีดีและในหลวงอานันท์นั้น สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลตั้งข้อสังเกตไว้ว่า จากบทสัมภาษณ์ของลูกศิษย์คนหนึ่งของนายปรีดีที่ว่า นายปรีดีไม่ยอมพูดถึงกรณีสวรรคตโดยเด็ดขาด ไม่ว่ากับใคร และ ได้รับการบอกเล่าเสมอว่า “อาจารย์ปรีดีเป็นผู้ปกป้องราชบัลลังก์ และยอมเสียสละตัวเองอย่างสูง” นัยของข้อความที่มีลักษณะเชิง “รหัส” แบบนี้คือ ปรีดีรู้ความจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคตแต่ไม่ยอมเปิดเผยออกไป เพื่อปกป้อง[[สถาบันกษัตริย์]] ทั้ง ๆ ที่ตัวเองต้องได้รับผลร้ายจากการไม่พูดนี้ | ||
นอกจากนั้น สมศักดิ์ยังอ้างงานของ แดเนียล ไฟน์แมน (Danial Fineman) A Special Relationship: the United State and Military Government in Thailand , 1947-1958 ที่กล่าวว่า การสวรรคตอย่างลึกลับในเดือนมิถุนายน 2498 ของในหลวงอานันทมหิดลเพิ่มปัญหาหนักขึ้นอีกให้ปรีดีผู้โชคไม่ดีต้องแบกรับแม้ว่าสภาพแวดล้อมของการสวรรคต จากการถูกปืนยิงที่พระเศียรในพระราชวัง ไม่เคยได้รับการสรุปอย่างแน่นอนลงไป ตั้งแต่ต้นเหตุการณ์ดังกล่าวสร้างความเสียหายแก่ชื่อเสียงของปรีดี น้อยคนเชื่อแถลงการณ์ของรัฐบาลที่ว่าในหลวงทรงยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ และ ความหวาดระแวงสงสัยยิ่งเพิ่มขึ้นเมื่อคณะกรรมการที่ปรีดีตั้งขึ้นตัดอุบัติเหตุ ออกจากสาเหตุของการสวรรคต ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใด ๆ ที่จะเชื่อมโยงปรีดีเข้ากับการสวรรคต แต่ข้อกล่าวหาเดิม ๆ | นอกจากนั้น สมศักดิ์ยังอ้างงานของ แดเนียล ไฟน์แมน (Danial Fineman) A Special Relationship: the United State and Military Government in Thailand , 1947-1958 ที่กล่าวว่า การสวรรคตอย่างลึกลับในเดือนมิถุนายน 2498 ของในหลวงอานันทมหิดลเพิ่มปัญหาหนักขึ้นอีกให้ปรีดีผู้โชคไม่ดีต้องแบกรับแม้ว่าสภาพแวดล้อมของการสวรรคต จากการถูกปืนยิงที่พระเศียรในพระราชวัง ไม่เคยได้รับการสรุปอย่างแน่นอนลงไป ตั้งแต่ต้นเหตุการณ์ดังกล่าวสร้างความเสียหายแก่ชื่อเสียงของปรีดี น้อยคนเชื่อแถลงการณ์ของรัฐบาลที่ว่าในหลวงทรงยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ และ ความหวาดระแวงสงสัยยิ่งเพิ่มขึ้นเมื่อคณะกรรมการที่ปรีดีตั้งขึ้นตัดอุบัติเหตุ ออกจากสาเหตุของการสวรรคต ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใด ๆ ที่จะเชื่อมโยงปรีดีเข้ากับการสวรรคต แต่ข้อกล่าวหาเดิม ๆ ที่ว่าปรีดีมีความคิดเอียงไปทาง[[สาธารณรัฐนิยม]] เพราะเขาเป็นผู้นำการยึดอำนาจ 2475 ทำให้ปรีดีตกอยู่ในฐานะถูกโจมตีได้ง่ายในเรื่องนี้ ควงกับพวกนิยมเจ้าโทษปรีดีเกือบจะทันทีที่เกิดเรื่องขึ้น พวกเขาปล่อยข่าวลือว่าปรีดีอยู่เบื้องหลังโศกนาฎกรรมนี้ หนังสือพิมพ์ฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์ชื่อ ประชาธิปไตย วิจารณ์การจัดการสืบสวนของปรีดีและกล่าวหาว่า รัฐบาลปรีดีปล่อยปละละเลยเรื่องการพิทักษ์สถาบันกษัตริย์ เสนีย์และคึกฤทธิ์ ปราโมชไปที่สถานทูตอเมริกันหลังการสวรรคตเพียงไม่กี่ชั่วโมงเพื่อไปกล่าวหาว่าปรีดีเกี่ยวข้องกับการสวรรคต | ||
ผลที่สะเทือนใจมากกว่านั้นคือ ศาลฏีกาได้ตัดสินให้จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และนายเฉลียวมีความผิดจนต้องประหารชีวิต ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ซึ่งแม้ว่าในเวลาเกือบ 2 สัปดาห์ต่อมาได้มีการนำเรื่องเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อนำหนังสือถวายฎีกาทูลเกล้าให้ในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งในวันที่ 5 พฤศจิกายน จำเลยทั้งสามได้ทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ โดยยื่นผ่านกรมราชทัณฑ์ แต่กว่าเรื่องจะขึ้นมาถึงระดับคณะรัฐมนตรีก็เป็นเวลา 1 เดือนเต็ม และในวันที่ 8 ธันวาคม ฎีกาของทั้งสามถูกนำเข้าพิจารณาในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี แต่การขอพระราชทานอภัยโทษนั้น คณะรัฐมนตรีมีความเห็นว่า | ผลที่สะเทือนใจมากกว่านั้นคือ ศาลฏีกาได้ตัดสินให้จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และนายเฉลียวมีความผิดจนต้องประหารชีวิต ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ซึ่งแม้ว่าในเวลาเกือบ 2 สัปดาห์ต่อมาได้มีการนำเรื่องเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อนำหนังสือถวายฎีกาทูลเกล้าให้ในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งในวันที่ 5 พฤศจิกายน จำเลยทั้งสามได้ทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ โดยยื่นผ่านกรมราชทัณฑ์ แต่กว่าเรื่องจะขึ้นมาถึงระดับคณะรัฐมนตรีก็เป็นเวลา 1 เดือนเต็ม และในวันที่ 8 ธันวาคม ฎีกาของทั้งสามถูกนำเข้าพิจารณาในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี แต่การขอพระราชทานอภัยโทษนั้น คณะรัฐมนตรีมีความเห็นว่า “ไม่ควรจะ[[พระราชทานอภัยโทษ]]ให้... เพราะเรื่องนี้ยังเป็นการประทุษร้ายแก่บุคคลสำคัญของประเทศ ตามหลักการของกระทรวงมหาดไทยซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบด้วยแล้วนั้น จะไม่ขอพระราชทานอภัยโทษให้ ควรยกฏีกาเสีย และผลสุดท้ายคือ ในหลวงยกฎีกา ตามความเห็นที่คณะรัฐมนตรีเสนอ | ||
เมื่อผลการถวายฎีกาออกมา หนังสือพิมพ์ลงข่าว “ในหลวงยกฎีกา” ส่งผลต่อญาติของผู้ต้องโทษทั้งสามอยู่ในอาการเสียใจสุดขีด ตามรายงานข่าวของ สยามนิกร ฉบับวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ภายใต้พาดหัวใหญ่ “ภรรยาเฉลียวร่ำไห้... ในหลวงยกฎีกาจำเลยสวรรคต เฉลียว-ชิต-บุศย์รอวันตายไม่มีหวังรอดแล้ว” และทั้งสามจึงถูกประหารชีวิตในเย็นวันที่ 16 กุมภาพันธ์ | |||
ตำนานนักโทษเล่า “ความลับ” กรณีสวรรคตให้เผ่าฟังในนาทีสุดท้าย การปรากฏตัวของเผ่าที่การประหารชีวิตคดีสวรรคต ไม่ใช่เป็นไปตามหน้าที่ (จึงไม่มีชื่อเขาอยู่ในแถลงการณ์กระทรวงมหาดไทย) แต่นอกจากจะมาสังเกตการณ์แล้วที่จะกลายเป็นปัญหาสำคัญต่อมา คือ เขาได้ทำอะไรที่นั่นอีกบ้างหรือไม่ พิมพ์ไทย รายงานว่า หลังพระเทศน์แล้ว เผ่าได้เข้าไปพบปะพูดคุยกับนักโทษทั้ง 3 คนที่ห้องขัง ประมาณ 10 นาที เพื่อปลอบใจ ขณะที่ เช้า ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับเดียวที่นำข่าวในหลวงทรงยกฎีกาของจำเลยมาเปิดเผยได้ก่อน ได้รายงานการพูดคุยระหว่างเผ่า กับ นักโทษคนหนึ่ง (เฉลียว) ในลักษณะชวนตื่นเต้นอย่างมาก ภายใต้การพาดหัวว่า “เฉลียวขอพบเผ่าแฉความลับทั้งหมดก่อนประหาร” และจากการพบ พล.ต.อ. เผ่า ก่อนถึงวาระสุดท้ายของนายเฉลียวครั้งนี้ ปรากฏว่าได้ใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 10 นาที นายเฉลียวได้กล่าวคำลา ส่วนถ้อยคำที่นายเฉลียวได้บอกแก่พล.ต.อ. เผ่า ก่อนที่นายเฉลียจะอำลาโลกนี้ไปนั้นเป็นความลับ รู้สึกว่า พล.ต.อ. เผ่ามีความสนใจเป็นอย่างมาก | |||
ตำนานนักโทษเล่า “ความลับ” กรณีสวรรคตให้เผ่าฟังในนาทีสุดท้าย การปรากฏตัวของเผ่าที่การประหารชีวิตคดีสวรรคต ไม่ใช่เป็นไปตามหน้าที่ (จึงไม่มีชื่อเขาอยู่ในแถลงการณ์กระทรวงมหาดไทย) แต่นอกจากจะมาสังเกตการณ์แล้วที่จะกลายเป็นปัญหาสำคัญต่อมา คือ เขาได้ทำอะไรที่นั่นอีกบ้างหรือไม่ พิมพ์ไทย รายงานว่า หลังพระเทศน์แล้ว เผ่าได้เข้าไปพบปะพูดคุยกับนักโทษทั้ง 3 | |||
กล่าวได้ว่า นี่คือจุดเริ่มต้น หรือ ต้นตอของข่าวลือที่แพร่หลายในช่วงใกล้ถึงปี “กึ่งพุทธกาล” (2500) ในทำนองที่ว่า เผ่าได้รู้ “ความลับ” ของกรณีสวรรคต ซึ่งจำเลย ( | กล่าวได้ว่า นี่คือจุดเริ่มต้น หรือ ต้นตอของข่าวลือที่แพร่หลายในช่วงใกล้ถึงปี “กึ่งพุทธกาล” (2500) ในทำนองที่ว่า เผ่าได้รู้ “ความลับ” ของกรณีสวรรคต ซึ่งจำเลย (จะเป็นคนเดียวหรือทั้งสามคนก็ตาม ได้เล่าให้ฟังก่อนตาย บางครั้งก็ลือกันในทำนองว่าเผ่าได้บันทึก “ความลับ” ที่ได้รับการบอกมานี้ไว้ด้วย ข่าวลือนี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการต่อสู้เพื่อความเป็นใหญ่ระหว่างกลุ่มการเมือง 3-4 กลุ่ม ในขณะนั้นคือ พิบูล เผ่า และสฤษดิ์ และพวกนิยมเจ้า | ||
== การอธิบายในแง่ในหลวงรัชกาลที่ 8 ทรงกระทำการอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เอง == | == การอธิบายในแง่ในหลวงรัชกาลที่ 8 ทรงกระทำการอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เอง == | ||
บรรทัดที่ 99: | บรรทัดที่ 101: | ||
การอธิบายในลักษณะเช่นนี้ ถูกอธิบายในสองประเด็น คือ ในหลวงอานันท์ทรงอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เองอันเนื่องมาจากปัญหา[[ความขัดแย้ง]]ในราชสำนักซึ่ง เอกสารสำคัญที่เสนอทฤษฎีนี้ก็คือ หนังสือ The Devil’s Discus: An Enquiry into the Death of Ananda, King Siam ของเรนย์ ครูเกอร์ ซึ่งตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2507 และถูกแปลเป็นภาษาไทยในชื่อ กงจักรปีศาจ โดย สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (ส. ศิวรักษ์) ซึ่งเขาได้เคยเขียนวิจารณ์หนังสือเล่มนี้ลงใน สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ว่าหนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลผิดพลาด รวมถึงวิจารณ์ตัวนายปรีดี พนมยงค์และผู้เขียนหนังสือ (เรนย์ ครูเกอร์ ) ไปพร้อมกันด้วย เนื่องจาก สุลักษณ์เชื่อว่านายปรีดี ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปลงพระชนม์ แต่เมื่อเวลาผ่านไปในภายหลัง สุลักษณ์ได้เขียนเล่าในปาจารยสาร ฉบับ กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. 2550 ว่าการเขียนวิจารณ์ในครั้งนั้น เป็นเพราะเขาหลงเชื่อคำโฆษณาชวนเชื่อ และต่อมาเขาจึงไถ่บาปด้วยการเขียนหนังสือเกี่ยวกับปรีดี และต่อมามีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ ในชื่อ Power that be: Pridi Banomyong through the rise and fall of Thai Democracy | การอธิบายในลักษณะเช่นนี้ ถูกอธิบายในสองประเด็น คือ ในหลวงอานันท์ทรงอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เองอันเนื่องมาจากปัญหา[[ความขัดแย้ง]]ในราชสำนักซึ่ง เอกสารสำคัญที่เสนอทฤษฎีนี้ก็คือ หนังสือ The Devil’s Discus: An Enquiry into the Death of Ananda, King Siam ของเรนย์ ครูเกอร์ ซึ่งตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2507 และถูกแปลเป็นภาษาไทยในชื่อ กงจักรปีศาจ โดย สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (ส. ศิวรักษ์) ซึ่งเขาได้เคยเขียนวิจารณ์หนังสือเล่มนี้ลงใน สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ว่าหนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลผิดพลาด รวมถึงวิจารณ์ตัวนายปรีดี พนมยงค์และผู้เขียนหนังสือ (เรนย์ ครูเกอร์ ) ไปพร้อมกันด้วย เนื่องจาก สุลักษณ์เชื่อว่านายปรีดี ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปลงพระชนม์ แต่เมื่อเวลาผ่านไปในภายหลัง สุลักษณ์ได้เขียนเล่าในปาจารยสาร ฉบับ กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. 2550 ว่าการเขียนวิจารณ์ในครั้งนั้น เป็นเพราะเขาหลงเชื่อคำโฆษณาชวนเชื่อ และต่อมาเขาจึงไถ่บาปด้วยการเขียนหนังสือเกี่ยวกับปรีดี และต่อมามีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ ในชื่อ Power that be: Pridi Banomyong through the rise and fall of Thai Democracy | ||
ส่วนเอกสารสำคัญอีกชั้นหนึ่งคือ หลักฐานจากท่านชิ้น ซึ่งสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลนำมาอภิปรายในแง่ที่ว่า อาจจะมีความเป็นไปได้ที่ในหลวงอานันท์ยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ ซึ่งหลักฐานของท่านชิ้น หรือ หม่อมเจ้าศุภวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน์ ผู้เป็นพี่ชายต่างมารดาของ[[พระนางเจ้ารำไพพรรณี]] | ส่วนเอกสารสำคัญอีกชั้นหนึ่งคือ หลักฐานจากท่านชิ้น ซึ่งสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลนำมาอภิปรายในแง่ที่ว่า อาจจะมีความเป็นไปได้ที่ในหลวงอานันท์ยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ ซึ่งหลักฐานของท่านชิ้น หรือ หม่อมเจ้าศุภวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน์ ผู้เป็นพี่ชายต่างมารดาของ[[พระนางเจ้ารำไพพรรณี]] พระราชินีใน[[รัชกาลที่ 7]] หรือถือเป็นคนรุ่นเดียวกับนายปรีดี เพราะเกิดปีเดียวกัน ในหนังสือ “ลูก-หลาน-เหลน” ของท่านพิมพ์ให้เนื่องในโอกาส 1 ศตวรรษของวันเกิด โดยรวบรวมเอางานเขียนของ “ท่านชิ้น” ในโอกาสต่าง ๆ ไว้ที่น่าสนใจที่สุด คือ งานเขียนที่เรียกว่า “จดหมายร้อยหน้า” คือ บันทึกที่ “ท่านชิ้น” เขียนส่งถึงในหลวงองค์ปัจจุบัน (รัชกาลที่ 9 ) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2490 คือ เพียง 12 เดือนภายหลังกรณีสวรรคต (วันที่ตามจดหมายปะหน้า แต่ “ท่านชิ้น” กล่าวว่าบันทึกใช้เวลาเขียน “นานมาก”) ต้นฉบับซึ่งเป็นภาษาอังกฤษมีความยาวกว่า 100 หน้า ทายาท “ท่านชิ้น” นำมาตีพิมพ์โดยไม่แปล มีความยาวกว่า 60 หน้า ในหนังสือ | ||
ในบันทึก “ท่านชิ้น” ได้เล่าและวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมืองของสยามขณะนั้นในทัศนะของท่านให้ในหลวงฟัง พูดถึงกลุ่มต่าง ๆ เช่น ปรีดี ซึ่ง “ท่านชิ้น” มองว่า | ในบันทึก “ท่านชิ้น” ได้เล่าและวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมืองของสยามขณะนั้นในทัศนะของท่านให้ในหลวงฟัง พูดถึงกลุ่มต่าง ๆ เช่น ปรีดี ซึ่ง “ท่านชิ้น” มองว่า เป็นความหวังของ[[เสรีนิยมประชาธิปไตย]]ที่สำคัญที่สุดในขณะนั้น จึงควรได้รับการสนับสนุน ซึ่งเป็นลักษณะที่วิจารณ์ค่อนข้างตรงไปตรงมา ส่วนในสำหรับในกรณีสวรรคต “ท่านชิ้น” เสนอว่า ในหลวงอานันท์สิ้นพระชนม์ ตามทฤษฎี “ในหลวงอานันท์ยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ” | ||
ซึ่งสมศักดิ์กล่าวถึงประเด็นสำคัญที่เป็น “ปมปริศนา” ไว้ 4 ข้อ ต่อเนื่องกันดังนี้ | |||
1. ขณะเกิดเหตุ มีทางเข้าห้องบรรทมได้เพียงทางเดียวเท่านั้น (คือด้านเฉลียงหลัง) ซึ่งมีมหาดเล็ก 2 คนนายบุศย์ ปัทมศริน และ นายชิต สิงหเสนี | 1. ขณะเกิดเหตุ มีทางเข้าห้องบรรทมได้เพียงทางเดียวเท่านั้น (คือด้านเฉลียงหลัง) ซึ่งมีมหาดเล็ก 2 คนนายบุศย์ ปัทมศริน และ นายชิต สิงหเสนี นั่งเฝ้าอยู่ | ||
2. ดังนั้น ถ้ามีผู้อื่น (นอกเหนือจากในหลวงอานันท์) เข้าไปในห้องบรรทม จะต้องผ่านมหาดเล็ก 2 คนนี้ | 2. ดังนั้น ถ้ามีผู้อื่น (นอกเหนือจากในหลวงอานันท์) เข้าไปในห้องบรรทม จะต้องผ่านมหาดเล็ก 2 คนนี้ | ||
บรรทัดที่ 119: | บรรทัดที่ 121: | ||
1. ในหลวงอานันท์ทรงเสวยยาถ่าย (น้ำมันละหุ่ง) และระหว่างที่รอให้ยาออกฤทธิ์ ทรงรู้สึกเบื่อ ๆ จึงนำปืนมาใส่กระสุนและขึ้นนกไว้ เตรียมจะทรงยิงนกยิงต้นไม้ทางหน้าต่างห้องบรรทม อย่างที่เคยทำมาก่อน | 1. ในหลวงอานันท์ทรงเสวยยาถ่าย (น้ำมันละหุ่ง) และระหว่างที่รอให้ยาออกฤทธิ์ ทรงรู้สึกเบื่อ ๆ จึงนำปืนมาใส่กระสุนและขึ้นนกไว้ เตรียมจะทรงยิงนกยิงต้นไม้ทางหน้าต่างห้องบรรทม อย่างที่เคยทำมาก่อน | ||
2. | 2. แต่ยังไม่ทันที่จะทรงได้ยิง ยาถ่ายก็ออกฤทธิ์ ทรงรีบเข้าห้องน้ำ โดยไม่มีโอกาสได้ปลดนกและถอดกระสุนปืนทรงวางปืนไว้บนโต๊ะข้างหัวเตียงด้านซ้าย (ทรงคิดว่าอย่างไรเสียก็คงไม่มีใครอื่นเข้ามาในห้องบรรทม) | ||
3. เมื่อออกจากห้องน้ำทรงเวียนหัว และอ่อนเพลีย (ผลของยาถ่าย) จึงทรงตรงไปที่เตียงเลย | 3. เมื่อออกจากห้องน้ำทรงเวียนหัว และอ่อนเพลีย (ผลของยาถ่าย) จึงทรงตรงไปที่เตียงเลย |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:25, 16 สิงหาคม 2556
ผู้เรียบเรียง ธิกานต์ ศรีนารา
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
กรณีสวรรคตรัชกาลที่ 8
กรณีการสวรรคตของรัชกาลที่ 8 (พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงสวรรคตด้วยพระแสงปืนซึ่งยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร จนกระทั่งในปัจจุบันกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ก็ยังเป็นเหตุการณ์ที่มีการถกเถียงกันอยู่ และ ได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่
อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาดังกล่าว กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ก่อให้เกิดผลต่อก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง โดยเฉพาะกรณี นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น และกลุ่มการเมืองสายนายปรีดีถูกกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงครามทำการรัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2490 ด้วยเหตุผลเกี่ยวเนื่องกับคดีสวรรคตดังกล่าว
ลำดับเหตุการณ์lสำคัญก่อนการสวรรคต
2 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรเกี่ยวกับพระนาภี (มีอาการปวดท้อง)
3 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดข เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมประชาชนในย่านสำเพ็ง
5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ทรงทอดพระเนตรการทำนาและกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่อำเภอ
7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : นายปรีดี พนมยงค์ได้รับเลือกจากรัฐสภาให้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (ครั้งที่ 2) และคืนวันนี้ นายปรีดี ได้ถูกเรียกให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อทรงซักถามความสมัครใจที่จะรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายปรีดี เข้าเฝ้าอยู่ประมาณชั่วโมงกว่า ๆ ก็ถวายทูลลากลับ
8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี และวันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลมีพระอาการประชวรพระนาภีมากขึ้น แพทย์ประจำพระองค์ (หลวงวินิตย์เวชวิศิษฐ์) ได้ถวายยาเม็ดตอนเย็น และแนะนำให้สมเด็จพระบรมราชชนนีสวนพระบังคลหนักให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ในค่ำนั้นและให้ถวายน้ำมันละหุ่งผสมนมสดและบรั่นดีในเช้าวันรุ่งขึ้น (สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงสวนพระบังคลหนักให้พระองค์ โดยมีนายชิต สิงหเสนีเป็นผู้ช่วย) ช่วงกลางคืนมีมหาดเล็กอยู่เวรยามทั้งชั้นล่างชั้นบนตลอดคืน
9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : เวลาตี 5 เศษ สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงตื่นบรรทมแล้วเสด็จเข้าไปปลุกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลที่ห้องนอน (เสด็จผ่านห้องแต่งพระองค์) เพื่อถวายน้ำมันละหุ่ง (มหาดเล็ก 2 คนช่วยยกถาดตามเสด็จ) หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงบรรทมต่อ สมเด็จพระบรมราชชนนีกลับไปบรรทมต่อเช่นกันในห้องของพระองค์เอง (มหาดเล็กกลับลงชั้นล่าง)
- เวลา 7 โมงเศษ นายบุศย์ ปัทมศริน มหาดเล็กห้องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มาเข้าเวรถวายงานที่พระที่นั่งบรมพิมานซึ่งเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และได้ยกแก้วน้ำส้มคั้นมาเตรียมถวาย โดยนั่งรออยู่หน้าห้องของพระองค์
- เวลา 7 โมงเศษ นายชิต สิงหเสนี ซึ่งปกติเป็นมหาดเล็กประจำห้องบรรทมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลสลับวันกับนายบุศย์ (ซึ่งวันนั้นไม่ใช่เวรของเขา) แต่เขาได้รับมอบหมายให้ไปทำหีบพระตรา เมื่อไปถึงร้านทำหีบที่เสาชิงช้า ช่างได้บอกว่า ต้องรู้ขนาดดวงพระตราก่อนจึงจะทำหีบได้ นายชิตจึงกลับมาที่พระที่นั่งบรมพิมานเพื่อมาวัดขนาดดวงพระตราที่อยู่ตู้เซฟในห้องแต่งพระองค์ เมื่อมาถึงจุดที่นายบุศย์นั่งอยู่ ได้รับบอกจากนายบุศย์ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงตื่นพระบรรทมแล้ว แต่กลับไปบรรทมอีก นายชิตจึงนั่งรออยู่ที่เดียวกับนายบุศย์ เพราะเกรงว่าหากเข้าไปวัดพระตราจะเป็นการรบกวน
- เวลา 7 โมงเศษ มหาดเล็กหลายคนรวมทั้งฉลาด เทียมงามสัจ ช่วยกันยกเครื่องพระกระยาหารเช้าจากชั้นล่างขึ้นไปจัดวางที่มุขหน้า หลังจากนั้น คนอื่น ๆ กลับลงไปชั้นล่าง ยกเว้นฉลาดอยู่เฝ้าเครื่องพระกระยาหาร
- เวลาประมาณ 8.00 น. นายบุศย์เห็นพระอนุชา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตื่นพระบรรทม และทรงเสด็จไปที่มุขหน้าเสวยอาหารเช้า ระหว่างนั้น นายมังกร ภมรบุตร และขุนวรศักดิ์พินิจขึ้นมาช่วยงาน หลังจากพระอนุชาทรงเสวยเสร็จก็ประมาณ 9 นาฬิกา ฉลาดยังคงอยู่เฝ้าเครื่องพระกระยาหารที่มุขหน้า (รอให้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และ พระบรมราชชนนีเสด็จมาเสวย) ส่วนพระอนุชา เสวยเสร็จแล้วทรงเสด็จจากมุขหน้าไปยังห้องบรรทมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ซึ่งเดินมาถึงจุดที่นายชิตและนายบุศย์นั่งอยู่หน้าห้องแต่งพระองค์ ทรงถามอาการพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล บุศย์ตอบว่าทรงตื่นบรรทมแล้ว และเข้าห้องสรง แล้วทรงเข้าบรรทมอีก หลังจากนั้น พระอนุชา(จากคำให้การของทั้งชิต, บุศย์ และพระอนุชาเอง) ทรงเสด็จกลับไปทางห้องของพระองค์เองโดยทางเฉลียงหลัง เมื่อถึงห้องของพระองค์แล้ว ทรงเข้าๆ ออกๆ อยู่สองห้องคือ ห้องนอนของพระองค์เองและห้องเครื่องเล่น
- เวลาใกล้เคียงกัน พระพี่เลี้ยงเนื่อง จิตตดุล ซึ่งมาถึงพระที่นั่งตั้งแต่ 7 โมงเศษ ถึง 8 โมง แต่ยังไม่ได้เข้าเฝ้าทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และสมเด็จพระบรมราชชนนีเพราะเห็นว่าทรงยังไม่ตื่นบรรทม จึงทำงานอื่นไปพลาง จนกระมาณ 9 นาฬิกา จึงไปที่ห้องสมเด็จพระบรมราชชนนี ซึ่งพบว่าพระองค์ทรงตื่นบรรทมแล้ว พระพี่เลี้ยงเนื่องจึงอยู่ในห้องสมเด็จพระบรมราชชนนี“เป็นเวลาราว 20 นาที” ก็เดินต่อเข้าไปยังห้องนอนพระอนุชา (สองห้องนอนเดินทะลุกันได้) เพื่อจัดเก็บฟิล์มภาพยนตร์ในห้องนั้น แต่ไม่ได้พบพระอนุชาในห้อง (“ข้าพเจ้าไม่พบใคร แม้แต่ในหลวงองค์ปัจจุบัน ซึ่งพระองค์จะเสด็จไปประทับอยู่ที่ไหนในขณะนั้นหาทราบไม่”
- จรูญ ตะละภัฎ ได้ให้การว่า เวลาประมาณ 9 นาฬิกา หลังจากกินอาหารเช้าที่ชั้นล่างแล้วได้ขึ้นมาที่ห้องนอนสมเด็จพระบรมราชชนนีแต่ไม่พบสมเด็จพระบรมราชชนนี“เข้าใจว่าคงเสด็จเข้าห้องสรง” เธอจึงทำการเก็บพระแท่นบรรทม (แต่สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ให้การว่า “มีพระพี่เลี้ยงเนื่องมาที่ห้องฉัน นางสาวจรูญเข้ามาด้วยหรือไม่นั้นจำไม่ได้แน่ แต่ตามความรู้สึกแล้วรู้สึกว่าไม่ได้มา”
- เวลาประมาณ 9.30 น. มีเสียงปืนดังขึ้นภายในห้องบรรทมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นายชิตวิ่งเข้าไปดู แล้ววิ่งไปตามสมเด็จพระบรมราชชนนีเมื่อสมเด็จพระบรมราชชนนีมาถึง พบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงนอนทอดพระวรกายบนที่นอนเหมือนทรงนอนหลับปกติพระกรทั้งสองวางอยู่ข้างพระองค์ (ไม่งอ) พระวิสูตร (มุ้ง) ถูกตลบขึ้นเหนือพระแท่น บนที่นอนบริเวณใกล้พระหัตถ์ซ้ายมีปืนสั้นวางอยู่ มีแผลกระสุนที่พระนลาฎ (หน้าผาก) เหนือคิ้ว บริเวณระหว่างพระขนง (คิ้ว) ข้างพระศพบริเวณข้อพระกรซ้ายมีปืนพก US Army ขนาดกระสุน 11 มม. วางอยู่ในลักษณะชิดข้อศอก ด้ามปืนหันออกจากตัว ปากกระบอกปืนชี้ไปที่ปลายพระแท่นบรรทม สมเด็จพระบรมราชชนนีได้โถมพระองค์เข้ากอดพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล จนสมเด็จพระอนุชาธิราชต้องพยุงสมเด็จพระบรมราชชนนีไปประทับที่พระเก้าอี้ปลายแท่นพระบรรทม
- จากนั้นพระราชชนนีจึงมีรับสั่งให้ตาม พ.ต. นายแพทย์หลวงนิตย์เวช ชวิศิษฐ์ แพทย์ประจำพระองค์มาตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่วนพระพี่เลี้ยงเนื่องได้จับพระชีพจรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ข้อพระหัตถ์ซ้าย พบว่าพระชีพจรเต้นอยู่เล็กน้อยแล้วหยุด พระวรกายยังอุ่นอยู่ จึงเอาผ้าคลุมพระองค์มาซับบริเวณปากแผลและปืนกระบอกที่คาดว่าเป็นเหตุทำให้พระองค์ทรงสวรรคต ไปให้นายบุศย์เก็บพระแสงปืนไว้ที่ลิ้นชักพระภูษา เหตุการณ์ช่วงนี้เองได้ก่อปัญหาในการพิสูจน์หลักฐานในเวลาต่อมาเมื่อมีการจัดตั้ง “ศาลกลางเมือง” เพื่อสอบสวนเกี่ยวกับกรณีสวรรคต
- เวลาประมาณ 10.00 น. หลวงนิตย์เวชชวิศิษฐ์ได้มาถึงสถานที่เกิดเหตุและตรวจพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พบว่าสวรรคตแน่นอนแล้วจึงกราบทูลให้สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงทราบ สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงรับสั่งให้ทำความสะอาดและตกแต่งพระบรมศพ เพื่อเตรียมการถวายน้ำทรงพระบรมศพในช่วงเย็น ในช่วงเวลาเดียวกันพระยาเทวาธิราช (ม.ร.ว. เทวาธิราช ป. มาลากุล) สมุหพระราชพิธีได้เดินทางไปที่ทำเนียบท่าช้าง ที่พักของนายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรีเพื่อแจ้งข่าวการสวรรคต (ขณะนั้นนายปรีดีประชุมอยู่กับหลวงเชวงศักดิ์สงคราม (รมว. มหาดไทย) พล.ต.อ. พระรามอินทรา (อธิบดีกรมตำรวจ) และ หลวงสัมฤทธิ์สุขุมวาท (ผู้บังคับการตำรวจสันติบาล) ในเรื่องกรรมกรที่มักกะสันหยุดงานประท้วง)
- เวลาประมาณ 11.00 น. นายปรีดีมาถึงพระที่นั่งบรมพิมาน และสั่งให้พระยาชาติเดชอุดมอัญเชิญพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่และเชิญคณะรัฐมนตรี มาประชุมเกี่ยวกับเรื่องการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ประชุมสรุปว่าให้ออกแถลงการณ์แจ้งให้ประชาชนทราบว่า การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเป็นอุบัติเหตุ แถลงการณ์ของกรมตำรวจที่ออกมาในวันนั้นก็มีเนื้อหาในลักษณะเดียวกัน
- เวลา 21.00 น. รัฐบาลเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการด่วน เพื่อแจ้งให้สภาทราบเรื่องการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และสรรหาผู้สืบราชสมบัติ ที่ประชุมได้ลงมติถวายราชสมบัติให้แก่สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นสืบราชสมบัติ เป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ต่อไป จากนั้นนายปรีดีได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อแสดงความรับผิดชอบในกรณีสวรรคต
10 มิถุนายน 2489 : เจ้าหน้าที่และแพทย์จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้เดินทางมาทำการฉีดยารักษาสภาพพระบรมศพระหว่างการทำความสะอาดพระบรมศพเพื่อเตรียมการฉีดยานั้น คณะแพทย์และเจ้าหน้าที่ได้พบบาดแผลที่พระปฤษฎางค์ (ท้ายทอย) ซึ่งเป็นบาดแผลที่พบใหม่ไม่ตรงกับคำแถลงการณ์ที่ออกมาในตอนแรก ทำให้ประชาชนเกิดความสงสัยว่ารัฐบาลมีส่วนในการปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรมตำรวจจึงออกแถลงการณ์เพิ่มเติมว่าได้ตั้งประเด็นการสวรรคตไว้ 3 ประเด็น คือ
1. มีผู้ลอบปลงพระชนม์
2. ทรงพระราชอัตวินิบาตกรรม (ปลงพระชนม์เอง)
3. อุบัติเหตุ
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 : กรมตำรวจยังคงแถลงการณ์ยืนยันว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคตด้วยอุบัติเหตุแต่ประชาชนยังคงมีความคลางแคลงใจต่อรัฐบาลอยู่เช่นเดิม ในวันนี้ทางกรมตำรวจได้นำปืนของกลางที่พบในวันสวรรคตไปให้กรมวิทยาศาสตร์ตรวจสอบ
นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากรัฐสภาให้ดำรงตำแหน่งนายก ฯ อีกครั้ง
การอธิบายความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุสวรรคต
แม้ว่าการพิจารณาคดีกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 จะถึงที่สิ้นสุดแล้วโดยคำพิพากษาของศาลฏีกาแต่ก็ยังไม่มีคำอธิบายที่กระจ่างชัดเจนในกรณีนี้ ทำให้การอธิบายเกี่ยวกับกรณีสวรรคตครั้งนี้มักถูกกล่าวไว้ในทำนองว่า “เสด็จสวรรคตด้วยพระแสงปืน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง” หรือหลายฉบับระบุสาเหตุเพิ่มเติมด้วยว่า “เป็นเพราะพระแสงปืนลั่นระหว่างทรงทำความสะอาดพระแสงปืน”
ด้วยเหตุนี้ กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 จึงยังเป็นคดีที่ยังมีเงื่อนงำเนื่องจากกรณีของคดีดังกล่าวถูกโยงเข้ากับการเมืองในช่วงเวลาดังกล่าวในแง่ของ “ใครอยู่เบื้องหลังกรณีสวรรคต” ซึ่งพุ่งเป้าไปที่นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี ซึ่งมีศัตรูทางการเมืองอยู่จำนวนมาก เช่น กลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจกลังร่วมกับญี่ปุ่นนำประเทศเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 และพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านในขณะนั้น และยังมีประเด็นของจำเลยที่ถูกศาลฎีกาตัดสินว่ากระทำความผิดนั้น แท้จริงแล้วเป็นผู้บริสุทธิ์หรือไม่ หรือเพียงเป็นเหยื่อของการเมือง หรืออย่างไร ฉะนั้น การอธิบายกรณีดังกล่าวจึงมุ่งอธิบายใน สองประเด็นหลัก ประการที่หนึ่ง กรณีสวรรคตนี้เป็นการปลงพระชนม์โดยบุคคลอื่น และประการที่สอง ในหลวงรัชกาลที่ 8 ทรงกระทำการอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เอง
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษาหาหลักฐานเกี่ยวกับกรณีสวรรคตมากสักเพียงใด มีการเสนอทฤษฎีและคำอธิบายต่อกรณีดังกล่าวมากสักเพียงใด ปัจจุบันก็ไม่มีทฤษฏีใดเลยที่ได้รับการยอมรับโดยไม่มีข้อโต้แย้ง และถึงแม้ว่าสังคมจะยอมรับกันว่านายปรีดีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวกับการสวรรคต แต่กรณีคดีของจำเลยทั้งสามที่ถูกประหารชีวิตไปก็ไม่เคยถูกรื้อฟื้นคดีขึ้นมาพิจารณาใหม่ ทั้งกระบวนการยุติธรรม หรือ การศึกษาหาความจริงใหม่ ทั้งที่ข้อกล่าวหาของจำเลยทั้งสามและปรีดีนั้น มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด ข้อกล่าวหาคือ ปรีดี เป็นผู้อยู่เบื้องหลังของจำเลยทั้งสาม และมีหลักฐานที่ทำให้เชื่อได้ว่า อย่างน้อยนายเฉลียวหนึ่งในสามจำเลยนั้นน่าจะเป็นผู้บริสุทธิ์
การอธิบายในแง่ของการถูกลอบปลงพระชนม์
ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับการตัดสินให้จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และ นายเฉลียว มหาดเล็ก กระทำผิดและถูกตัดสินให้ประหารชีวิต ซึ่งยังเป็นคำถามที่ค้างคาใจว่าทั้งสามเป็นผู้บริสุทธิ์หรือไม่ เนื่องจาก ทั้งสามถูกโยงเข้ากับ การกล่าวหานายปรีดี พนมยงค์ที่ถูกกล่าวหาว่า “ปรีดีฆ่าในหลวง” เนื่องจากชี้แจงสาเหตุการสวรรคตแก่ประชาชนได้ไม่ชัดเจน และคลี่คลายคดีนี้ไม่สำเร็จ และกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้นายปรีดีไม่เดินทางกลับมาประเทศไทยอีกเลยจนสิ้นชีวิต หลังจากการลี้ภัยทางการเมืองเพราะเหตุการณ์กบฏวังหลวง พ.ศ. 2492 อย่างไรก็ตาม ในขณะที่มีชีวิตอยู่ก็ได้ให้ลูกชาย (ปาล พนมยงค์) และคนรู้จักที่อยู่เมืองไทยคอยช่วยต่อสู้คดีหมิ่นประมาทจากกรณีสวรรคตอยู่ตลอด เพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ว่าตนเองไม่ได้มีส่วนก่อคดีสวรรคตนี้แต่อย่างใด ซึ่งผลปรากฏว่าชนะทุกคดี
อีกทั้ง คดีนี้ได้กลายเป็นข้ออ้างสำคัญประการหนึ่งในการทำรัฐประหาร พ.ศ. 2490 ซึ่งในขณะที่การสืบสวนโดยรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์กำลังคืบหน้านั้น พรรคประชาธิปัตย์ร่วมกับคณะทหารทำการรัฐประหาร วันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 และเมื่อพรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นรัฐบาลและมีนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี นายควงได้แต่งตั้ง พลตำรวจตรีพระพินิจชนคดี (พี่เขยของ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช และ คึกฤทธิ์ ปราโมช แห่งพรรคประชาธิปัตย์) ซึ่งออกจากราชการไปแล้ว ให้กลับเข้ารับราชการ เพื่อทำหน้าที่สืบสวนกรณีสวรรคตเสียใหม่ อันนำไปสู่การจับกุมจำเลยทั้งสามในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เพียง 12 วันหลังรัฐประหาร และหลังจากการจับกุมนั้น พระพินิจชนคดี ก็ยังไม่สามารถหาพยานหลักฐานได้ทันในระยะเวลาสอบสวนตามที่กฎหมายกำหนดคือ 90 วัน รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ที่มีจึงได้เสนอกฎหมายต่อสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2491 ขยายกำหนดเวลาขังผู้ต้องหาในกรณีสวรรคตได้เป็นพิเศษ ให้ศาลอนุญาตให้ขังผู้ต้องหาได้หลายครั้ง รวมเวลาไม่เกิน 180 วัน ก่อนการประหารชีวิต นายเฉลียว ปทุมรส 1 ใน 3 จำเลยของคดีดังกล่าว ได้ขอพบ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ และเล่ากันว่านายเฉลียวได้บอกชื่อฆาตรกรตัวจริงให้ พลตำรวจเอก เผ่า ทราบ
สำหรับการอธิบายว่า ปรีดี เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการปลงพระชนม์ นั้น ก็มีกลุ่มที่เป็นลูกศิษย์นายปรีดี เช่น นายสุพจน์ ด่านตระกูล อธิบายไว้ว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวนั้น ในวันที่ 9 มิถุนายน ได้มีการเรียกประชุมด่วนในเวลา 21.10 น. โดยมีสมาชิกพฤฒสภา เข้าร่วมประชุม 64 นาย สมาชิกสภาราษฏร 63 นาย รวมเป็น 127 และนายปรีดีได้รายงานให้ที่ประชุมทราบถึงเหตุการณ์สวรรคตที่เกิดขึ้น เมื่อรายงานจบแล้ว สมาชิกแห่งรัฐสภาๆได้ยืนไว้อาลัยแด่ในหลวง และได้มีการซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
รวมทั้งนายปรีดีได้ชี้แจงในที่ประชุมรัฐสภาในวันที่ประชุม ต่อข่าวลือที่นายปรีดีถูกใส่ร้ายป้ายสีเป็น “ผู้ปลงพระชนม์”
- “... เสียงลืออกุศลว่าคนนั้น คนนี้ออกมาแล้วไปทำอย่างนั้น อย่างนี้ นี่ก็เป็นเรื่องสืบเนื่องมาจากความอิจฉาริษยาเป็นมูลหรือมีบ่างช่างยุเป็นต้น เป็นมูลเหตุสืบเนื่องอย่างนั้น ... และอีกอย่างหนึ่ง สำหรับเรื่องพระองค์นี้ ข้าพเจ้ารู้สึกว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้ซึ่งจงรักภักดีต่อท่านมากที่สุดกว่าหลาย ๆ คน ในขณะที่ท่านประจำอยู่ในต่างประเทศหรือที่ท่านได้กลับมาแล้วก็ดี สิ่งใดอันเป็นสิ่งที่ท่านพึงปรารถนาในส่วนพระองค์ท่าน ข้าพเจ้าจัดถวายหรือบางสิ่งบางอย่างเมื่อท่านทรงรับสั่งถาม ข้อความอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ข้าพเจ้าก็ได้ชี้แจงตามระเบียบแบบแผนของแนวรัฐธรรมนูญตามนิสัยของข้าพเจ้า ซึ่งข้าพเจ้าถือว่าซื่อสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์ ข้าพเจ้าไม่อ้างพระนามหรือเอาพระนามของท่านไปอ้างในที่ชุมนุมชนใด ๆ ซึ่งบางแห่งทำกัน หรือ ในกรณีที่ท่านสวรรคตแล้ว ข้าพเจ้าก็พยายามที่สุดที่จะพยายามทำในเรื่องนี้ ให้ขาวกระจ่างเพราะเป็นพระมหากษัตริย์ เราจะทำให้เรื่องเงียบอยู่เฉย ๆ ไม่ได้ ข้าพเจ้าไม่ปรารถนาทำอย่างคนบางคนทำให้ฉวยโอกาสเอาเรื่องสวรรคตของท่านไปโพนทะนากล่าวร้าย”
- “และวันนั้นจะต้องกล่าวเสียด้วย ข่าวที่ข้าพเจ้าได้ทราบเกี่ยวกับแก่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคตนั้น ข้าพเจ้าได้ทราบราวประมาณเกือบ 10 นาฬิกา เวลานั้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยกับอธิบดีกรมตำรวจได้มาที่บ้าน เนื่องจากกรรมกรมักกะสันสไตรค์ ข้าพเจ้าจึงโทรศัพท์เชิญราชเลขาไปด้วย เมื่อไปถึงแล้วเราอยู่ข้างล่างไม่ได้ขึ้นไปข้างบน เพราะเหตุว่าเกี่ยวแก่พระมหากษัตริย์ จึงได้เชิญเจ้านายผู้ใหญ่มาพร้อมแล้วจึงขึ้นไปชั้นบน ส่วนในทางชั้นบนของท่านเป็นเรื่องที่ท่านปฐมพยาบาลในชั้นบน ข้าพเจ้าและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยเจ้านาย อันมีกรมขุนชัยนาทฯเป็นผู้นำขึ้นไป ได้ขึ้นไปเป็นเวลาเที่ยงเศษ ๆ แล้วขึ้นไปดูพระบรมศพ และความจริงในการตรวจเราจะไปถือกรณีพระมหากษัตริย์เหมือนเอกชนไม่ได้ ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนกฎหมาย ข้าพเจ้ารู้เรื่องวิธีพิจารณาความอาณาว่าเป็นอย่างไร และจะต้องทำอย่างไร ก็ได้บอกกับอธิบบดีกรมตำรวจว่าเราจะต้องทำให้แน่ชัด เช่น เหมือนอย่างว่า บอกให้หมอเอาโพล็กไปใส่พระกะโหลก ข้าพเจ้าก็ไม่รู้ราชาศัพท์ดี ได้ปรึกษาเจ้านาย บอกท่าน ท่านสั่นพระเศียร ข้าพเจ้าโดนทั้งขึ้นทั้งล่อง ถ้าจะต้องผ่ากะโหลกก็เป็นเรื่องพระศพของพระมหากษัตริย์ จะทำให้เสียพระราชประเพณี และวิธีพิจารณาทางอื่นก็มี เมื่อเป็นเช่นนี้จึงได้ตัดสินว่า เราจะต้องสอบถามผุ้ที่อยู่ใกล้ชิดและแพทย์ประจำพระองค์ คือ คุณหลวงนิตย์ เป็นผู้ปฐมพยาบาล. . .”
แม้ว่านายปรีดีจะชี้แจงอย่างไร และ กลุ่มนายปรีดี ซึ่งหมายถึงกลุ่มของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ที่นายปรีดีไว้วางใจให้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อจากเขา ได้เคยระบุอย่างชัดเจนว่า หลักฐานที่ได้จากการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ ในสมัยที่เขาเป็นรัฐบาลบ่งบอกว่าใครคือ ผู้ต้องสงสัยแท้จริงในกรณีสวรรคต แต่ท่ามกลางข่าวลือสะพัดว่านายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้กลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงครามทำการรัฐบาลและทำให้นายปรีดี ต้องลี้ภัยไปอยู่ที่จีน และในเวลาต่อมานายปรีดีได้ไปพำนักที่ฝรั่งเศส
กรณีของนายปรีดีและในหลวงอานันท์นั้น สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลตั้งข้อสังเกตไว้ว่า จากบทสัมภาษณ์ของลูกศิษย์คนหนึ่งของนายปรีดีที่ว่า นายปรีดีไม่ยอมพูดถึงกรณีสวรรคตโดยเด็ดขาด ไม่ว่ากับใคร และ ได้รับการบอกเล่าเสมอว่า “อาจารย์ปรีดีเป็นผู้ปกป้องราชบัลลังก์ และยอมเสียสละตัวเองอย่างสูง” นัยของข้อความที่มีลักษณะเชิง “รหัส” แบบนี้คือ ปรีดีรู้ความจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคตแต่ไม่ยอมเปิดเผยออกไป เพื่อปกป้องสถาบันกษัตริย์ ทั้ง ๆ ที่ตัวเองต้องได้รับผลร้ายจากการไม่พูดนี้
นอกจากนั้น สมศักดิ์ยังอ้างงานของ แดเนียล ไฟน์แมน (Danial Fineman) A Special Relationship: the United State and Military Government in Thailand , 1947-1958 ที่กล่าวว่า การสวรรคตอย่างลึกลับในเดือนมิถุนายน 2498 ของในหลวงอานันทมหิดลเพิ่มปัญหาหนักขึ้นอีกให้ปรีดีผู้โชคไม่ดีต้องแบกรับแม้ว่าสภาพแวดล้อมของการสวรรคต จากการถูกปืนยิงที่พระเศียรในพระราชวัง ไม่เคยได้รับการสรุปอย่างแน่นอนลงไป ตั้งแต่ต้นเหตุการณ์ดังกล่าวสร้างความเสียหายแก่ชื่อเสียงของปรีดี น้อยคนเชื่อแถลงการณ์ของรัฐบาลที่ว่าในหลวงทรงยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ และ ความหวาดระแวงสงสัยยิ่งเพิ่มขึ้นเมื่อคณะกรรมการที่ปรีดีตั้งขึ้นตัดอุบัติเหตุ ออกจากสาเหตุของการสวรรคต ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือใด ๆ ที่จะเชื่อมโยงปรีดีเข้ากับการสวรรคต แต่ข้อกล่าวหาเดิม ๆ ที่ว่าปรีดีมีความคิดเอียงไปทางสาธารณรัฐนิยม เพราะเขาเป็นผู้นำการยึดอำนาจ 2475 ทำให้ปรีดีตกอยู่ในฐานะถูกโจมตีได้ง่ายในเรื่องนี้ ควงกับพวกนิยมเจ้าโทษปรีดีเกือบจะทันทีที่เกิดเรื่องขึ้น พวกเขาปล่อยข่าวลือว่าปรีดีอยู่เบื้องหลังโศกนาฎกรรมนี้ หนังสือพิมพ์ฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์ชื่อ ประชาธิปไตย วิจารณ์การจัดการสืบสวนของปรีดีและกล่าวหาว่า รัฐบาลปรีดีปล่อยปละละเลยเรื่องการพิทักษ์สถาบันกษัตริย์ เสนีย์และคึกฤทธิ์ ปราโมชไปที่สถานทูตอเมริกันหลังการสวรรคตเพียงไม่กี่ชั่วโมงเพื่อไปกล่าวหาว่าปรีดีเกี่ยวข้องกับการสวรรคต
ผลที่สะเทือนใจมากกว่านั้นคือ ศาลฏีกาได้ตัดสินให้จำเลยทั้งสาม คือ นายชิต นายบุศย์ และนายเฉลียวมีความผิดจนต้องประหารชีวิต ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ซึ่งแม้ว่าในเวลาเกือบ 2 สัปดาห์ต่อมาได้มีการนำเรื่องเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อนำหนังสือถวายฎีกาทูลเกล้าให้ในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งในวันที่ 5 พฤศจิกายน จำเลยทั้งสามได้ทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ โดยยื่นผ่านกรมราชทัณฑ์ แต่กว่าเรื่องจะขึ้นมาถึงระดับคณะรัฐมนตรีก็เป็นเวลา 1 เดือนเต็ม และในวันที่ 8 ธันวาคม ฎีกาของทั้งสามถูกนำเข้าพิจารณาในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี แต่การขอพระราชทานอภัยโทษนั้น คณะรัฐมนตรีมีความเห็นว่า “ไม่ควรจะพระราชทานอภัยโทษให้... เพราะเรื่องนี้ยังเป็นการประทุษร้ายแก่บุคคลสำคัญของประเทศ ตามหลักการของกระทรวงมหาดไทยซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบด้วยแล้วนั้น จะไม่ขอพระราชทานอภัยโทษให้ ควรยกฏีกาเสีย และผลสุดท้ายคือ ในหลวงยกฎีกา ตามความเห็นที่คณะรัฐมนตรีเสนอ
เมื่อผลการถวายฎีกาออกมา หนังสือพิมพ์ลงข่าว “ในหลวงยกฎีกา” ส่งผลต่อญาติของผู้ต้องโทษทั้งสามอยู่ในอาการเสียใจสุดขีด ตามรายงานข่าวของ สยามนิกร ฉบับวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ภายใต้พาดหัวใหญ่ “ภรรยาเฉลียวร่ำไห้... ในหลวงยกฎีกาจำเลยสวรรคต เฉลียว-ชิต-บุศย์รอวันตายไม่มีหวังรอดแล้ว” และทั้งสามจึงถูกประหารชีวิตในเย็นวันที่ 16 กุมภาพันธ์
ตำนานนักโทษเล่า “ความลับ” กรณีสวรรคตให้เผ่าฟังในนาทีสุดท้าย การปรากฏตัวของเผ่าที่การประหารชีวิตคดีสวรรคต ไม่ใช่เป็นไปตามหน้าที่ (จึงไม่มีชื่อเขาอยู่ในแถลงการณ์กระทรวงมหาดไทย) แต่นอกจากจะมาสังเกตการณ์แล้วที่จะกลายเป็นปัญหาสำคัญต่อมา คือ เขาได้ทำอะไรที่นั่นอีกบ้างหรือไม่ พิมพ์ไทย รายงานว่า หลังพระเทศน์แล้ว เผ่าได้เข้าไปพบปะพูดคุยกับนักโทษทั้ง 3 คนที่ห้องขัง ประมาณ 10 นาที เพื่อปลอบใจ ขณะที่ เช้า ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับเดียวที่นำข่าวในหลวงทรงยกฎีกาของจำเลยมาเปิดเผยได้ก่อน ได้รายงานการพูดคุยระหว่างเผ่า กับ นักโทษคนหนึ่ง (เฉลียว) ในลักษณะชวนตื่นเต้นอย่างมาก ภายใต้การพาดหัวว่า “เฉลียวขอพบเผ่าแฉความลับทั้งหมดก่อนประหาร” และจากการพบ พล.ต.อ. เผ่า ก่อนถึงวาระสุดท้ายของนายเฉลียวครั้งนี้ ปรากฏว่าได้ใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 10 นาที นายเฉลียวได้กล่าวคำลา ส่วนถ้อยคำที่นายเฉลียวได้บอกแก่พล.ต.อ. เผ่า ก่อนที่นายเฉลียจะอำลาโลกนี้ไปนั้นเป็นความลับ รู้สึกว่า พล.ต.อ. เผ่ามีความสนใจเป็นอย่างมาก
กล่าวได้ว่า นี่คือจุดเริ่มต้น หรือ ต้นตอของข่าวลือที่แพร่หลายในช่วงใกล้ถึงปี “กึ่งพุทธกาล” (2500) ในทำนองที่ว่า เผ่าได้รู้ “ความลับ” ของกรณีสวรรคต ซึ่งจำเลย (จะเป็นคนเดียวหรือทั้งสามคนก็ตาม ได้เล่าให้ฟังก่อนตาย บางครั้งก็ลือกันในทำนองว่าเผ่าได้บันทึก “ความลับ” ที่ได้รับการบอกมานี้ไว้ด้วย ข่าวลือนี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการต่อสู้เพื่อความเป็นใหญ่ระหว่างกลุ่มการเมือง 3-4 กลุ่ม ในขณะนั้นคือ พิบูล เผ่า และสฤษดิ์ และพวกนิยมเจ้า
การอธิบายในแง่ในหลวงรัชกาลที่ 8 ทรงกระทำการอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เอง
การอธิบายในลักษณะเช่นนี้ ถูกอธิบายในสองประเด็น คือ ในหลวงอานันท์ทรงอัตวินิบาตกรรมปลงพระชนม์ตัวพระองค์เองอันเนื่องมาจากปัญหาความขัดแย้งในราชสำนักซึ่ง เอกสารสำคัญที่เสนอทฤษฎีนี้ก็คือ หนังสือ The Devil’s Discus: An Enquiry into the Death of Ananda, King Siam ของเรนย์ ครูเกอร์ ซึ่งตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2507 และถูกแปลเป็นภาษาไทยในชื่อ กงจักรปีศาจ โดย สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (ส. ศิวรักษ์) ซึ่งเขาได้เคยเขียนวิจารณ์หนังสือเล่มนี้ลงใน สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ว่าหนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลผิดพลาด รวมถึงวิจารณ์ตัวนายปรีดี พนมยงค์และผู้เขียนหนังสือ (เรนย์ ครูเกอร์ ) ไปพร้อมกันด้วย เนื่องจาก สุลักษณ์เชื่อว่านายปรีดี ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปลงพระชนม์ แต่เมื่อเวลาผ่านไปในภายหลัง สุลักษณ์ได้เขียนเล่าในปาจารยสาร ฉบับ กันยายน-ตุลาคม พ.ศ. 2550 ว่าการเขียนวิจารณ์ในครั้งนั้น เป็นเพราะเขาหลงเชื่อคำโฆษณาชวนเชื่อ และต่อมาเขาจึงไถ่บาปด้วยการเขียนหนังสือเกี่ยวกับปรีดี และต่อมามีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ ในชื่อ Power that be: Pridi Banomyong through the rise and fall of Thai Democracy
ส่วนเอกสารสำคัญอีกชั้นหนึ่งคือ หลักฐานจากท่านชิ้น ซึ่งสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลนำมาอภิปรายในแง่ที่ว่า อาจจะมีความเป็นไปได้ที่ในหลวงอานันท์ยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ ซึ่งหลักฐานของท่านชิ้น หรือ หม่อมเจ้าศุภวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน์ ผู้เป็นพี่ชายต่างมารดาของพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระราชินีในรัชกาลที่ 7 หรือถือเป็นคนรุ่นเดียวกับนายปรีดี เพราะเกิดปีเดียวกัน ในหนังสือ “ลูก-หลาน-เหลน” ของท่านพิมพ์ให้เนื่องในโอกาส 1 ศตวรรษของวันเกิด โดยรวบรวมเอางานเขียนของ “ท่านชิ้น” ในโอกาสต่าง ๆ ไว้ที่น่าสนใจที่สุด คือ งานเขียนที่เรียกว่า “จดหมายร้อยหน้า” คือ บันทึกที่ “ท่านชิ้น” เขียนส่งถึงในหลวงองค์ปัจจุบัน (รัชกาลที่ 9 ) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2490 คือ เพียง 12 เดือนภายหลังกรณีสวรรคต (วันที่ตามจดหมายปะหน้า แต่ “ท่านชิ้น” กล่าวว่าบันทึกใช้เวลาเขียน “นานมาก”) ต้นฉบับซึ่งเป็นภาษาอังกฤษมีความยาวกว่า 100 หน้า ทายาท “ท่านชิ้น” นำมาตีพิมพ์โดยไม่แปล มีความยาวกว่า 60 หน้า ในหนังสือ
ในบันทึก “ท่านชิ้น” ได้เล่าและวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมืองของสยามขณะนั้นในทัศนะของท่านให้ในหลวงฟัง พูดถึงกลุ่มต่าง ๆ เช่น ปรีดี ซึ่ง “ท่านชิ้น” มองว่า เป็นความหวังของเสรีนิยมประชาธิปไตยที่สำคัญที่สุดในขณะนั้น จึงควรได้รับการสนับสนุน ซึ่งเป็นลักษณะที่วิจารณ์ค่อนข้างตรงไปตรงมา ส่วนในสำหรับในกรณีสวรรคต “ท่านชิ้น” เสนอว่า ในหลวงอานันท์สิ้นพระชนม์ ตามทฤษฎี “ในหลวงอานันท์ยิงพระองค์เองโดยอุบัติเหตุ”
ซึ่งสมศักดิ์กล่าวถึงประเด็นสำคัญที่เป็น “ปมปริศนา” ไว้ 4 ข้อ ต่อเนื่องกันดังนี้
1. ขณะเกิดเหตุ มีทางเข้าห้องบรรทมได้เพียงทางเดียวเท่านั้น (คือด้านเฉลียงหลัง) ซึ่งมีมหาดเล็ก 2 คนนายบุศย์ ปัทมศริน และ นายชิต สิงหเสนี นั่งเฝ้าอยู่
2. ดังนั้น ถ้ามีผู้อื่น (นอกเหนือจากในหลวงอานันท์) เข้าไปในห้องบรรทม จะต้องผ่านมหาดเล็ก 2 คนนี้
3. ลักษณะทางกายภาพเกี่ยวกับการสวรรคต (ตำแหน่งบาดแผล, วิถีกระสุน ตามที่ทรงถนัดขวา และลักษณะพระวรกายของพระบรมศพ) บ่งชี้อย่างหนักแน่น จนแทบไม่อาจคิดเป็นอย่างอื่นว่า เป็นการยิงของผู้อื่น ไม่ใช่พระองค์เอง
4. แต่มหาดเล็กทั้ง 2 คนยืนกรานอย่างไม่เคยลดละว่า ไม่มีผู้อื่น – ไม่ว่าใครทั้งสิ้น – ผ่านเข้าไปในห้องบรรทมในเช้าวันนั้นเลย
สมศักดิ์มีข้อสังเกตที่สำคัญ คือ ความขัดกันอย่างเด็ดขาดระหว่างข้อ 3 กับ 4 เนื่องจากถ้านายชิต – นายบุศย์ พูดความจริง (คือ ไม่มีใครเข้าไปในห้อง) ก็ต้องพยายามอธิบายให้ได้ว่า ทำไมลักษณะทางกายภาพ (บาดแผล ฯลฯ) จึงออกมาในรูปนั้น (การกระทำของผู้อื่น) นี่คือสิ่งที่ “ท่านชิ้น” พยายามทำในจดหมาย คือ ทรงพยายามอธิบายว่า แท้จริงแล้ว ลักษณะทางกายภาพต่าง ๆ ดังกล่าว สามารถ “ไปด้วยกันได้” หรือสนับสนุนทฤษฎียิงพระองค์เองเช่นกัน ถ้า “ท่านชิ้น” สามารถทำสำเร็จ ข้ออื่น ๆ ที่เหลือก็สามารถลงตัวได้ แต่ในทางกลับกัน บรรดาผู้นิยมเจ้า เน้นข้อ 3 ข้างต้น และใส่ความปรีดี และในที่สุด ก็จับชิต-บุศย์ ขึ้นศาล นั่นคือ ปฏิเสธข้อ 4 คือกล่าวหาว่า สองคนนี้โกหก ปล่อยให้มือสังหารเข้าไป ฯลฯ ควรกล่าวด้วยว่า แม้แต่ผู้สังเกตการณ์ที่ “เป็นกลาง” เช่น พวกหมอที่ถูกเชิญมาชันสูตรพระบรมศพก็อธิบายข้อ 3 ไม่ได้ และส่วนใหญ่ พากันลงความเห็นว่า เป็นการกระทำโดยผู้อื่นเช่นเดียวกัน
นอกจากนั้น “ท่านชิ้น” ยังได้วาดฉากขึ้นว่า เหตุการณ์ว่าเกิดอะไรขึ้น เพื่อสนับสนุนทฤษฎีทีว่า มีความเป็นไปได้ที่ตำแหน่งบาดแผล ฯลฯ จะเกิดจากการยิงพระองค์เอง ตามลำดับเป็นข้อ ๆ ดังนี้
1. ในหลวงอานันท์ทรงเสวยยาถ่าย (น้ำมันละหุ่ง) และระหว่างที่รอให้ยาออกฤทธิ์ ทรงรู้สึกเบื่อ ๆ จึงนำปืนมาใส่กระสุนและขึ้นนกไว้ เตรียมจะทรงยิงนกยิงต้นไม้ทางหน้าต่างห้องบรรทม อย่างที่เคยทำมาก่อน
2. แต่ยังไม่ทันที่จะทรงได้ยิง ยาถ่ายก็ออกฤทธิ์ ทรงรีบเข้าห้องน้ำ โดยไม่มีโอกาสได้ปลดนกและถอดกระสุนปืนทรงวางปืนไว้บนโต๊ะข้างหัวเตียงด้านซ้าย (ทรงคิดว่าอย่างไรเสียก็คงไม่มีใครอื่นเข้ามาในห้องบรรทม)
3. เมื่อออกจากห้องน้ำทรงเวียนหัว และอ่อนเพลีย (ผลของยาถ่าย) จึงทรงตรงไปที่เตียงเลย
4. ทรงล้มตัวลงนอน ถอดแว่นตาออก ทรงหลับตา เพื่อให้หายเวียนหัว โดยทรงลืมสนิทเรื่องปืน
5. หลังจากที่ทรงเคลิ้ม ๆ หลับไปประมาณ 10 หรือ 15 หรือ 20 ทรงนึกขึ้นได้เรื่องปืน ทรงทราบว่าควรต้องปลดนก และเอากระสุนออก ด้วยความชำนาญในปืนสามารที่จะทรงทำได้แม้ปิดตา และด้วยความที่ทรงสบายอยู่กับการนอน จึงไม่อยากลุกขึ้นมานั่งทำ ซึ่งเป็นนิสัยธรรมดาของคนหนุ่ม จึงทรงยื่นมือซ้ายออกไปหยิบปืนทั้ง ๆ ที่ทรงนอนอยู่ ตำแหน่งของปืนที่วางอยู่บนโต๊ะข้างเตียงอยู่ต่ำกว่าหัวไหล่ซ้ายของพระองค์เล็กน้อย ทรงเลื่อนมือซ้ายของพระองค์ลอดเข้าไปใต้ด้ามปืน ทรงช้อนปืนขึ้นด้ามปืนอยู่ในอุ้งมือ นิ้วโป้งซ้ายของพระองค์วางแตะอยู่ที่ด้านนอกของที่ครอบไกปืน ปากกระบอกปืนหันไปทางเดียวกับนิ้วโป้ง ทรงหยิบปืนขึ้นในท่านี้ แล้วเหวี่ยงแขนกลับมา เพื่อยื่นปืนจากมือซ้ายไปมือขวา เพื่อจะทรงใช้มือขวาจับปืนเวลาถอดกระสุน ตามความถนัด จังหวะที่ทรงเหวี่ยงแขนซ้ายมาทางแขนขวานี้ ปืนที่ถืออยู่ในมือซ้าย ก็จะลอยอยู่เหนือพระองค์บริเวณใบหน้า ด้วยความบังเอิญ ปืนคงจะลื่น ทำท่าว่าจะหลุดจากมือหล่นมายังใบหน้า โดยสัญชาตญาณ มือซ้ายจึงรีบคว้าปืนที่กำลังจะหล่นให้แน่นเข้า จังหวะนี้เอง นิ้วโป้งซ้ายคงจะหลุดเข้าในในไกปืน และกดไกปืน ลั่นกระสุนออกมา แรงเหวี่ยงของการยิงทำใหแขนซ้ายถูกเหวี่ยงกลับไปข้างตัว และปืนก็หล่นอยู่ด้านข้างตัวทางซ้ายมือพร้อมปลอกกระสุน (นั่นคือ ไปอยู่ในสภาพที่มีผู้มาพบ)
สำหรับ “ฉาก” ของ “ท่านชิ้น” นั้น สมศักดิ์มีความคิดเห็นว่า คำอธิบายของ “ท่านชิ้น” ดูเข้าท่ากว่าของคนอื่น ๆ โดยเฉพาะประเด็นที่ว่าปืนจะถูกยิงด้วยพระองค์เองอย่างไร จึงทำให้เกิดตำแหน่งบาดแผล วิถีกระสุน ฯลฯ เช่นนั้น ซึ่ง มองว่ามีความน่าเชื่อถือมากกว่า “ฉาก” ของ Rayne Kruger ที่พยายามอธิบายใน กงจักรปีศาจว่า ทรงยิงพระองค์เองอย่างไร (ในแง่ของการตั้งใจฆ่าตัวตาย) ให้มีบาดแผล ฯลฯ ออกมาเช่นนั้น
อย่างไรก็ดี สมศักดิ์ชี้ให้เห็นจุดบกพร่องในงานของท่านชิ้นที่ว่า “แต่ความเป็นไปได้ที่ปืนจะลั่นในลักษณะนั้น (หลุดมือขณะทรงหยิบด้วยมือข้างหนึ่งส่งให้อีกข้างหนึ่งระหว่างยังนอนอยู่) ขึ้นอยู่กับอนุกรมของเหตุการณ์หรือขั้นตอนต่าง ๆ ก่อนหน้านั้น ที่ต้องบังเอิญมาก ๆ ว่ามาเกิดทั้งชุด (ตามข้อ 1 ถึงข้อ 4 ตามข้อสันนิษฐานของ “ท่านชิ้น” ซึ่ง “ท่านชิ้น” เองเป็นคนแรกที่ยอมรับเลยว่า ทฤษฎีของท่านและ”ฉาก” ของเหตุการณ์ที่ท่านวาดนี้ อาจจะผิดทั้งหมดก็ได้ แต่ท่านมีแรงจูงใจอื่นประกอบด้วยที่เสนอ “ฉาก” และ ทฤษฎีเช่นนี้ )