ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: ---- '''ผู้เขียน รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์''' ---- ==ความหมาย== คำนี...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ดร.กมลชัย  รัตนสกาววงศ์
----
----


'''ผู้เขียน รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์'''
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์


----
----


==ความหมาย==
คำนี้ใช้เรียกรวม ๆ หมายถึงองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] ทั้งที่ใน[[รัฐธรรมนูญ]]หรือในกฎหมายอื่นก็ไม่ได้บัญญัติคำว่า '''“องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ”''' ไว้ว่ามีความหมายรวมทุกองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่อิสระตามที่รัฐธรรมนูญ บัญญัติไว้หรือไม่อย่างไร
คำนี้ใช้เรียกรวม ๆ หมายถึงองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] ทั้งที่ใน[[รัฐธรรมนูญ]]หรือในกฎหมายอื่นก็ไม่ได้บัญญัติคำว่า '''“องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ”''' ไว้ว่ามีความหมายรวมทุกองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่อิสระตามที่รัฐธรรมนูญ บัญญัติไว้หรือไม่อย่างไร


แต่โดยทั่วไปแล้ว ไม่ได้หมายถึงองค์กร[[รัฐสภา]] [[คณะรัฐมนตรี]] และ[[ศาลยุติธรรม]] รวมทั้ง[[ศาลทหาร]] คงเพราะเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจรัฐทั้งสาม คือ [[:category:สถาบันนิติบัญญัติ|นิติบัญญัติ]] [[:category:สถาบันบริหาร|บริหาร]] และ[[:category:สถาบันตุลาการ|ตุลาการ]] เป็นองค์กรที่มีอยู่ก่อนแล้วตามรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ “องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” คงหมายถึง [[ศาลรัฐธรรมนูญ]] [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) [[คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] (ป.ป.ช.) [[คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] [[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]] [[ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา]] [[ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง]] และ[[ศาลปกครอง]] เพราะเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
แต่โดยทั่วไปแล้ว ไม่ได้หมายถึงองค์กร[[รัฐสภา]] [[คณะรัฐมนตรี]] และ[[ศาลยุติธรรม]] รวมทั้ง[[ศาลทหาร]] คงเพราะเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจรัฐทั้งสาม คือ [[:category:สถาบันนิติบัญญัติ|นิติบัญญัติ]] [[:category:สถาบันบริหาร|บริหาร]] และ[[:category:สถาบันตุลาการ|ตุลาการ]] เป็นองค์กรที่มีอยู่ก่อนแล้วตามรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ “องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” คงหมายถึง [[ศาลรัฐธรรมนูญ]] [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) [[คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] (ป.ป.ช.) [[คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]] [[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]] [[ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา]] [[ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง]] และ[[ศาลปกครอง]] เพราะเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540


แต่ถ้าจะใช้เกณฑ์การจัดตั้งและกระบวนการสรรหาผู้มาดำรงตำแหน่งว่า ต้องมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ศาลปกครองอาจไม่ถือว่าเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพราะศาลปกครองจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ.2542เช่นเดียวกับศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ก็เป็นแผนกหนึ่งของศาลฎีกาที่ประกอบไปด้วยผู้พิพากษาศาลฎีกา 9 คนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรง ตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.2542 โดยมิได้บัญญัติกระบวนการสรรหาผู้พิพากษาศาลฎีกามาปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ไว้ในรัฐธรรมนูญโดยตรงเช่นเดียวกัน
แต่ถ้าจะใช้เกณฑ์การจัดตั้งและกระบวนการสรรหาผู้มาดำรงตำแหน่งว่า ต้องมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ศาลปกครองอาจไม่ถือว่าเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพราะศาลปกครองจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ.2542เช่นเดียวกับศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ก็เป็นแผนกหนึ่งของศาลฎีกาที่ประกอบไปด้วยผู้พิพากษาศาลฎีกา 9 คนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรง ตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.2542 โดยมิได้บัญญัติกระบวนการสรรหาผู้พิพากษาศาลฎีกามาปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ไว้ในรัฐธรรมนูญโดยตรงเช่นเดียวกัน


องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ยอมรับกันโดยไม่มีข้อโต้แย้ง ได้แก่ ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ยอมรับกันโดยไม่มีข้อโต้แย้ง ได้แก่ ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 19:
*[[:category:องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ|องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ]]
*[[:category:องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ|องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ]]


*[[:category:สถาบันทางการเมืองที่ไม่ได้จัดตั้งตามกฎหมาย|สถาบันทางการเมืองที่ไม่ได้จัดตั้งตามกฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:สารานุกรมการเมืองไทย]]
 
[[หมวดหมู่:องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ]]
 
 
[[category:องค์กรตามรัฐธรรมนูญ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:46, 28 พฤษภาคม 2555

ผู้เรียบเรียง รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์


คำนี้ใช้เรียกรวม ๆ หมายถึงองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ทั้งที่ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่นก็ไม่ได้บัญญัติคำว่า “องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” ไว้ว่ามีความหมายรวมทุกองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่อิสระตามที่รัฐธรรมนูญ บัญญัติไว้หรือไม่อย่างไร

แต่โดยทั่วไปแล้ว ไม่ได้หมายถึงองค์กรรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลยุติธรรม รวมทั้งศาลทหาร คงเพราะเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจรัฐทั้งสาม คือ นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ เป็นองค์กรที่มีอยู่ก่อนแล้วตามรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ “องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ” คงหมายถึง ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และศาลปกครอง เพราะเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

แต่ถ้าจะใช้เกณฑ์การจัดตั้งและกระบวนการสรรหาผู้มาดำรงตำแหน่งว่า ต้องมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ศาลปกครองอาจไม่ถือว่าเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพราะศาลปกครองจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ.2542เช่นเดียวกับศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ก็เป็นแผนกหนึ่งของศาลฎีกาที่ประกอบไปด้วยผู้พิพากษาศาลฎีกา 9 คนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรง ตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.2542 โดยมิได้บัญญัติกระบวนการสรรหาผู้พิพากษาศาลฎีกามาปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ไว้ในรัฐธรรมนูญโดยตรงเช่นเดียวกัน

องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ยอมรับกันโดยไม่มีข้อโต้แย้ง ได้แก่ ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

ดูเพิ่มเติม