ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัคร สุนทรเวช"
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' พุทธชาติ ทองเอม '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทค... |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' พุทธชาติ ทองเอม | '''ผู้เรียบเรียง''' พุทธชาติ ทองเอม | ||
---- | |||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง | ||
บรรทัดที่ 7: | บรรทัดที่ 9: | ||
[[ภาพ:สมัคร_สุนทรเวช.JPG]] | [[ภาพ:สมัคร_สุนทรเวช.JPG]] | ||
นายสมัคร สุนทรเวช | นายสมัคร สุนทรเวช [[นายกรัฐมนตรี]]ของประเทศไทย คนที่ 25 และ[[รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตหัวหน้า[[พรรคพลังประชาชน]] อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ก่อตั้ง[[พรรคประชากรไทย]] เป็น[[นักการเมือง]]ที่คร่ำหวอดทางการเมือง มีเสียงพูด และลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เป็นผู้มีทักษะด้านการพูดเป็นอย่างดี สามารถอธิบายเรื่องเข้าใจยากให้เป็นเรื่องที่เข้าใจง่าย มีลีลาการพูดที่เร้าใจ โต้ตอบอย่างมีไหวพริบปฏิภาณ เป็นนักการเมืองที่ปากกับใจตรงกัน กล้าที่จะพูดความจริงและต่อสู้กับสิ่งที่ไม่ถูกต้องทุกรูปแบบ เป็นนักการเมืองฝีปากกล้า ฉายาแมวเก้าชีวิต <ref>ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัวดิ์. '''สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25.''' กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์. 2551, หน้า 80.</ref>, <ref>'''ประวัตินายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.vcharkarn.com/varticle/39939 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
==ประวัติ | ==ประวัติ<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref>== | ||
นายสมัคร สุนทรเวช เกิดวันที่ 13 มิถุนายน 2478 ที่บ้านหน้าวังบางขุนพรม ถนนสามเสนกรุงเทพมหานคร | นายสมัคร สุนทรเวช เกิดวันที่ 13 มิถุนายน 2478 ที่บ้านหน้าวังบางขุนพรม ถนนสามเสนกรุงเทพมหานคร<ref>'''ชีวประวัติบุคคลสำคัญ นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก)http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_03535.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
นายสมัคร สุนทรเวช เป็นบุตรของเสวกเอก พระยาบำรุงราชบริพาร (เสมียน สุนทรเวช) กับ คุณหญิงบำรุงราชบริพาร (อำพัน จิตรกร) เป็นหลานลุงของ มหาเสวกตรี พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) นายแพทย์ประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานนามสกุล “สุนทรเวช” | นายสมัคร สุนทรเวช เป็นบุตรของเสวกเอก พระยาบำรุงราชบริพาร (เสมียน สุนทรเวช) กับ คุณหญิงบำรุงราชบริพาร (อำพัน จิตรกร) เป็นหลานลุงของ มหาเสวกตรี พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) นายแพทย์ประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานนามสกุล “สุนทรเวช” และได้นำมาใช้เป็นนามสกุลร่วมกับบรรดาน้อง ๆ ของท่าน ) และเป็นหลานตาของ มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) จิตรกรประจำสำนัก | ||
นายสมัคร สุนทรเวช เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนพี่น้อง 6 คน ดังนี้ | นายสมัคร สุนทรเวช เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนพี่น้อง 6 คน ดังนี้ | ||
บรรทัดที่ 20: | บรรทัดที่ 22: | ||
1. พ.อ. (พิเศษ) พ.ญ.มยุรี พลางกูร - อดีตรองผู้อำนวยการ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า | 1. พ.อ. (พิเศษ) พ.ญ.มยุรี พลางกูร - อดีตรองผู้อำนวยการ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า | ||
2. นางเยาวมาลย์ ราชวังเมือง - ประกอบธุรกิจส่วนตัว | |||
3. พล.อ.อ.สมมต สุนทรเวช - อดีตที่ปรึกษา ทอ. (ถึงแก่กรรมแล้ว) | 3. พล.อ.อ.สมมต สุนทรเวช - อดีตที่ปรึกษา ทอ. (ถึงแก่กรรมแล้ว) | ||
บรรทัดที่ 30: | บรรทัดที่ 32: | ||
6. นายสุมิตร สุนทรเวช - นักการเมือง หัวหน้าพรรคประชากรไทย | 6. นายสุมิตร สุนทรเวช - นักการเมือง หัวหน้าพรรคประชากรไทย | ||
'''การศึกษา''' | '''การศึกษา'''<ref>'''ประวัตินายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.vcharkarn.com/varticle/39939 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
ก่อนประถม โรงเรียนสตรีบางขุนพรหม | |||
ระดับประถม โรงเรียนเทเวศน์ศึกษา | |||
ระดับมัธยม โรงเรียนเซนต์คาเบรียล | |||
ระดับอาชีวะ โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชย์ | |||
ระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |||
'''ศึกษาเพิ่มเติม'''<ref>ศูนย์ข้อมูลการเมือง. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | |||
- ประกาศนียบัตรวิชามัคคุเทศก์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) | |||
- Dip. in Accounting and Business Administration จาก Bryanmt&Stration Institute ชิคาโก สหรัฐอเมริกา | |||
'''สถานภาพ''' [ | '''สถานภาพ'''<ref>กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. วันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 '''อดีตนายกฯ “สมัคร สุนทรเวชถึงแก่อนิจกรรม”.'''[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/politics/20091124/87929/%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%AF%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.html http://www.bangkokbiznews.com] สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> สมรสกับคุณหญิงสุรัตน์ สุนทรเวช (สกุลเดิม “นาคน้อย”) เมื่อปี 2511 มีบุตรี ฝาแฝด 2 คน คือ กานดาภาและกาญจนากร | ||
'''ถึงแก่อสัญกรรม''' เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 รวมอายุได้ 74 ปี<ref>ศูนย์ข้อมูลการเมือง. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | |||
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์'''<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | |||
พ.ศ. 2517 ตริตาภรณ์มงกุฏไทย | พ.ศ. 2517 ตริตาภรณ์มงกุฏไทย | ||
พ.ศ. 2518 ตริตาภรณ์ช้างเผือก | |||
พ.ศ. 2519 ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย | |||
พ.ศ. 2520 รัตนาภรณ์ (ชั้นที่ 2 ) | |||
พ.ศ. 2522 ประถมาภรณ์มงกุฏไทย | |||
พ.ศ. 2524 ประถมาภรณ์ช้างเผือก | |||
พ.ศ. 2526 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก | |||
พ.ศ. 2527 ทุติยจุลจอมเกล้า | |||
พ.ศ. 2527 มหาวชิรมงกุฏ | |||
พ.ศ. 2539 ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ | |||
พ.ศ. 2545 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ | |||
==การดำรงตำแหน่งทางการเมือง == | ==การดำรงตำแหน่งทางการเมือง == | ||
นายสมัคร สุนทรเวช เริ่มต้นชีวิตการเมืองโดยสมัครเข้าเป็นสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์]] เมื่อปี 2511 เริ่มลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลกรุงเทพมหานคร ในปี 2514 และลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี 2518 ในชีวิตการเมือง ท่านเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองในตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง รองนายกรัฐมนตรี ก่อนที่จะก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง มหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) รองนายกรัฐมนตรี (3 สมัย) และได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีทั้งในรัฐบาล[[เสนีย์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] นาย[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] [[เปรม ติณสูลานนท์|พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์]] [[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ]] [[สุจินดา คราประยูร|พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] นาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]] และ[[ชวลิต ยงใจยุทธ |พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ]] | |||
'''สรุปประวัติการดำรงตำแหน่งทางการเมือง''' | '''สรุปประวัติการดำรงตำแหน่งทางการเมือง'''<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref>, <ref>ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์. '''สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25.''' กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์. 2551, หน้า 87-88.</ref>, <ref>ศูนย์ข้อมูลการเมือง. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
1. สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2511 – 2519) | |||
2. กรรมการผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มหนุ่มพรรคประชาธิปัตย์ | 2. กรรมการผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มหนุ่มพรรคประชาธิปัตย์ | ||
3. สมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร (ได้รับเลือกตั้งเมื่อ 15 สิงหาคม 2514) | |||
4. สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ (ได้รับแต่งตั้งเมื่อ 10 ธันวาคม 2516) และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ได้รับแต่งตั้งเมื่อ 23 ธันวาคม 2516) | |||
5. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร (ได้รับเลือกตั้งเมื่อ 26 มกราคม 2518, 4 เมษายน 2519, 22 เมษายน 2522, 18 เมษายน 2526, 27 กรกฎาคม 2529 และ 24 กรกฎาคม 2531, 22 มีนาคม 2535, 13 กันยายน 2535, 2 กรกฎาคม 2538, 17 พฤศจิกายน 2539) | |||
6. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. 2518) | 6. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. 2518) | ||
บรรทัดที่ 98: | บรรทัดที่ 100: | ||
8. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2519) | 8. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2519) | ||
9. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2519 - 2520) | |||
10. ก่อตั้งพรรคประชากรไทย และดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค (พ.ศ. 2522) | 10. ก่อตั้งพรรคประชากรไทย และดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค (พ.ศ. 2522) | ||
บรรทัดที่ 122: | บรรทัดที่ 124: | ||
20. สมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2549) | 20. สมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2549) | ||
20. รับตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน 2551) | |||
21. นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (29 มกราคม 2551 – 9 กันยายน 2551) | |||
==การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี | ==การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref>== | ||
เส้นทางสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช เริ่มจากที่ท่านก้าวเข้ามารับตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชาชน ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 พรรคพลังประชาชนมีจำนวนผู้ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นอันดับหนึ่ง และจัดตั้งรัฐบาลผสม 6 พรรค นายสมัคร สุนทรเวช ได้รับการโหวตคะแนนเสียงให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง 310 ต่อ 163 เสียง โดยเสียงของพรรคร่วมรัฐบาล 6 พรรค โหวตให้อย่างท่วมท้น<ref>ศูนย์ข้อมูลการเมือง. '''นายสมัคร สุนทรเวช.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> หลังจากนั้นในวันที่ 28 มกราคม 2551 [[สภาผู้แทนราษฎร]]ได้ลงมติเห็นชอบในการแต่งตั้งนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร<ref>ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนพิเศษ 23 ง เล่ม 125, วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551. หน้า 1.</ref> | |||
นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 25 ของประเทศไทย | นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 25 ของประเทศไทย ตามประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 โดยมีนาย[[ยงยุทธ ติยะไพรัช]] [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]เป็น[[ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ]] และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง[[คณะรัฐมนตรี]] โดยมีนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. '''คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> นอกจากนี้นายสมัคร สุนทรเวช ยังได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อีก 1 ตำแหน่ง ซึ่งเป็นพลเรือนคนที่ 3 ที่ดำรงตำแหน่งนี้ อนึ่ง คณะรัฐมนตรี คณะนี้นับเป็นคณะรัฐมนตรี คณะที่ 57 ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. '''ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2551 | คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2551 เนื่องจาก[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]ตัดสินว่า นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กระทำการที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 267 และมาตรา 182 วรรค 1(7) เนื่องจากการที่นายสมัคร สุนทรเวช ได้รับเป็นพิธีกรกิตติมศักดิ์ รายการโทรทัศน์ ชิมไปบ่นไป และ ยกโขยง 6 โมงเช้า ซึ่งคณะตุลาการฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เห็นว่านายสมัครกระทำต้องห้ามขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 267 เรื่องคุณสมบัติของนายกรัฐมนตรีทำให้นายสมัคร สุนทรเวช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และเป็นผลให้คณะรัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่งด้วยตามมาตรา 180 วรรค 1 (1) แต่ในระหว่างนี้คณะรัฐมนตรีทั้งหมดจะรักษาการในตำแหน่งไปก่อน จนกว่าจะได้นายกรัฐมนตรีคนใหม่ตามมาตรา 181<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. '''คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
สำหรับนโยบายและผลงานในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นมีมากมาย เช่น เร่งฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจให้มีความเข้มแข็ง แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและส่งเสริมผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนกระตุ้นการลงทุนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศให้มากขึ้น ด้วยมาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ | สำหรับนโยบายและผลงานในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นมีมากมาย เช่น เร่งฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจให้มีความเข้มแข็ง แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและส่งเสริมผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนกระตุ้นการลงทุนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศให้มากขึ้น ด้วยมาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ<ref>'''มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.mof.go.th/News2008/014.pdf สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> และมาตรการ 6 มาตรการ 6 เดือน ช่วยคนจน โดยการนำเงินภาษีมาเพื่อช่วยเหลือประชาชน จนได้ขยายเวลาเพิ่มในเวลาต่อมา อีกทั้งได้ยกเลิกมาตรการกันสำรองร้อยละ 30 ของเงินทุนนำเข้าระยะสั้นของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม 2551 ซึ่งการยกเลิกมาตรการกันสำรองร้อยละ 30 ถือว่าเป็นการกำจัดอุปสรรคของการลงทุนสำหรับนักลงทุนต่างชาติ ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการไหลเข้าของเงินทุนจากต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น และเป็นผลดีต่อตลาดทุนไทยโดยเฉพาะตลาดตราสารหนี้ รวมทั้งเป็นผลดีต่อการลงทุนต่างๆ ของภาคเอกชน เป็นต้น<ref>'''การยกเลิกมาตรการกันสำรองร้อยละ 30 ดีต่อภาวะการลงทุน.''' ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.positioningmag.com/prnews/prnews.aspx?id=67638 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.</ref> | ||
จากการเสียชีวิตของอดีตนายกรัฐมนตรีฝีปากกล้าที่ชื่อ นายสมัคร สุนทรเวช เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 นับว่าเป็นการสูญเสียผู้คร่ำหวอดทางการเมืองครั้งใหญ่ของประเทศไทย เนื่องจาก นายสมัคร สุนทรเวช ได้ทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติหลายประการ ซึ่งจากประวัติการดำรง ตำแหน่งทางการเมืองและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะเห็นได้ว่าท่านได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละ อดทน ขยันหมั่นเพียร รักษาระบอบประชาธิปไตย และจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสูงสุดยิ่ง ท่านจึงเป็นผู้หนึ่งที่ควรได้รับการยกย่องเชิดชู และนำเกียรติประวัติจารึกไว้ให้ปรากฏ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีที่ควรยึดถือปฏิบัติสืบไป | จากการเสียชีวิตของอดีตนายกรัฐมนตรีฝีปากกล้าที่ชื่อ นายสมัคร สุนทรเวช เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 นับว่าเป็นการสูญเสียผู้คร่ำหวอดทางการเมืองครั้งใหญ่ของประเทศไทย เนื่องจาก นายสมัคร สุนทรเวช ได้ทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติหลายประการ ซึ่งจากประวัติการดำรง ตำแหน่งทางการเมืองและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะเห็นได้ว่าท่านได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละ อดทน ขยันหมั่นเพียร รักษาระบอบประชาธิปไตย และจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสูงสุดยิ่ง ท่านจึงเป็นผู้หนึ่งที่ควรได้รับการยกย่องเชิดชู และนำเกียรติประวัติจารึกไว้ให้ปรากฏ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีที่ควรยึดถือปฏิบัติสืบไป | ||
บรรทัดที่ 177: | บรรทัดที่ 179: | ||
[[category:นายกรัฐมนตรี]] | [[category:นายกรัฐมนตรี]] | ||
[[หมวดหมู่:พุทธชาติ ทองเอม]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:19, 7 ตุลาคม 2554
ผู้เรียบเรียง พุทธชาติ ทองเอม
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง
นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เป็นนักการเมืองที่คร่ำหวอดทางการเมือง มีเสียงพูด และลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เป็นผู้มีทักษะด้านการพูดเป็นอย่างดี สามารถอธิบายเรื่องเข้าใจยากให้เป็นเรื่องที่เข้าใจง่าย มีลีลาการพูดที่เร้าใจ โต้ตอบอย่างมีไหวพริบปฏิภาณ เป็นนักการเมืองที่ปากกับใจตรงกัน กล้าที่จะพูดความจริงและต่อสู้กับสิ่งที่ไม่ถูกต้องทุกรูปแบบ เป็นนักการเมืองฝีปากกล้า ฉายาแมวเก้าชีวิต [1], [2]
ประวัติ[3]
นายสมัคร สุนทรเวช เกิดวันที่ 13 มิถุนายน 2478 ที่บ้านหน้าวังบางขุนพรม ถนนสามเสนกรุงเทพมหานคร[4]
นายสมัคร สุนทรเวช เป็นบุตรของเสวกเอก พระยาบำรุงราชบริพาร (เสมียน สุนทรเวช) กับ คุณหญิงบำรุงราชบริพาร (อำพัน จิตรกร) เป็นหลานลุงของ มหาเสวกตรี พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) นายแพทย์ประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานนามสกุล “สุนทรเวช” และได้นำมาใช้เป็นนามสกุลร่วมกับบรรดาน้อง ๆ ของท่าน ) และเป็นหลานตาของ มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) จิตรกรประจำสำนัก
นายสมัคร สุนทรเวช เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนพี่น้อง 6 คน ดังนี้
1. พ.อ. (พิเศษ) พ.ญ.มยุรี พลางกูร - อดีตรองผู้อำนวยการ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
2. นางเยาวมาลย์ ราชวังเมือง - ประกอบธุรกิจส่วนตัว
3. พล.อ.อ.สมมต สุนทรเวช - อดีตที่ปรึกษา ทอ. (ถึงแก่กรรมแล้ว)
4. นายสมัคร สุนทรเวช
5. นายมโนมัย สุนทรเวช - พนักงานรัฐวิสาหกิจ
6. นายสุมิตร สุนทรเวช - นักการเมือง หัวหน้าพรรคประชากรไทย
การศึกษา[5]
ก่อนประถม โรงเรียนสตรีบางขุนพรหม
ระดับประถม โรงเรียนเทเวศน์ศึกษา
ระดับมัธยม โรงเรียนเซนต์คาเบรียล
ระดับอาชีวะ โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชย์
ระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศึกษาเพิ่มเติม[6]
- ประกาศนียบัตรวิชามัคคุเทศก์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
- Dip. in Accounting and Business Administration จาก Bryanmt&Stration Institute ชิคาโก สหรัฐอเมริกา
สถานภาพ[7] สมรสกับคุณหญิงสุรัตน์ สุนทรเวช (สกุลเดิม “นาคน้อย”) เมื่อปี 2511 มีบุตรี ฝาแฝด 2 คน คือ กานดาภาและกาญจนากร
ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 รวมอายุได้ 74 ปี[8]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[9]
พ.ศ. 2517 ตริตาภรณ์มงกุฏไทย
พ.ศ. 2518 ตริตาภรณ์ช้างเผือก
พ.ศ. 2519 ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย
พ.ศ. 2520 รัตนาภรณ์ (ชั้นที่ 2 )
พ.ศ. 2522 ประถมาภรณ์มงกุฏไทย
พ.ศ. 2524 ประถมาภรณ์ช้างเผือก
พ.ศ. 2526 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
พ.ศ. 2527 ทุติยจุลจอมเกล้า
พ.ศ. 2527 มหาวชิรมงกุฏ
พ.ศ. 2539 ปฐมดิเรกคุณาภรณ์
พ.ศ. 2545 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
การดำรงตำแหน่งทางการเมือง
นายสมัคร สุนทรเวช เริ่มต้นชีวิตการเมืองโดยสมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อปี 2511 เริ่มลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลกรุงเทพมหานคร ในปี 2514 และลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี 2518 ในชีวิตการเมือง ท่านเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองในตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง รองนายกรัฐมนตรี ก่อนที่จะก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง มหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) รองนายกรัฐมนตรี (3 สมัย) และได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีทั้งในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายธานินทร์ กรัยวิเชียร พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ พล.อ.สุจินดา คราประยูร นายบรรหาร ศิลปอาชา และพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
สรุปประวัติการดำรงตำแหน่งทางการเมือง[10], [11], [12]
1. สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2511 – 2519)
2. กรรมการผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มหนุ่มพรรคประชาธิปัตย์
3. สมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร (ได้รับเลือกตั้งเมื่อ 15 สิงหาคม 2514)
4. สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ (ได้รับแต่งตั้งเมื่อ 10 ธันวาคม 2516) และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ได้รับแต่งตั้งเมื่อ 23 ธันวาคม 2516)
5. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร (ได้รับเลือกตั้งเมื่อ 26 มกราคม 2518, 4 เมษายน 2519, 22 เมษายน 2522, 18 เมษายน 2526, 27 กรกฎาคม 2529 และ 24 กรกฎาคม 2531, 22 มีนาคม 2535, 13 กันยายน 2535, 2 กรกฎาคม 2538, 17 พฤศจิกายน 2539)
6. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. 2518)
7. กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2518-2528
8. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2519)
9. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2519 - 2520)
10. ก่อตั้งพรรคประชากรไทย และดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค (พ.ศ. 2522)
11. ประธานคณะกรรมาธิการการคลัง และสถาบันการเงิน (พ.ศ. 2523 - 2526)
12. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (พ.ศ. 2526 - 2529)
13. ประธานคณะกรรมาธิการการปกครอง (พ.ศ. 2529 - 2531)
14. ประธานคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2531 - 2533)
15. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (พ.ศ. 2533 - 2534)
16. รองนายกรัฐมนตรี (7 เมษายน 2535- 24 พฤษภาคม 2535)
17. ประธานคณะกรรมาธิการการคมนาคม (พ.ศ. 2535 - 2538)
18. รองนายกรัฐมนตรี (13 กรกฎาคม 2538- 24 พฤศจิกายน 2539, 25 พฤศจิกายน 2539- 8 พฤศจิกายน 2540)
19. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2543 - 2547)
20. สมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2549)
20. รับตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน 2551)
21. นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (29 มกราคม 2551 – 9 กันยายน 2551)
การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[13]
เส้นทางสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช เริ่มจากที่ท่านก้าวเข้ามารับตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชาชน ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 พรรคพลังประชาชนมีจำนวนผู้ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นอันดับหนึ่ง และจัดตั้งรัฐบาลผสม 6 พรรค นายสมัคร สุนทรเวช ได้รับการโหวตคะแนนเสียงให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง 310 ต่อ 163 เสียง โดยเสียงของพรรคร่วมรัฐบาล 6 พรรค โหวตให้อย่างท่วมท้น[14] หลังจากนั้นในวันที่ 28 มกราคม 2551 สภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเห็นชอบในการแต่งตั้งนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร[15]
นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 25 ของประเทศไทย ตามประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมีนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ[16] นอกจากนี้นายสมัคร สุนทรเวช ยังได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อีก 1 ตำแหน่ง ซึ่งเป็นพลเรือนคนที่ 3 ที่ดำรงตำแหน่งนี้ อนึ่ง คณะรัฐมนตรี คณะนี้นับเป็นคณะรัฐมนตรี คณะที่ 57 ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551[17]
คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2551 เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญตัดสินว่า นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กระทำการที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 267 และมาตรา 182 วรรค 1(7) เนื่องจากการที่นายสมัคร สุนทรเวช ได้รับเป็นพิธีกรกิตติมศักดิ์ รายการโทรทัศน์ ชิมไปบ่นไป และ ยกโขยง 6 โมงเช้า ซึ่งคณะตุลาการฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เห็นว่านายสมัครกระทำต้องห้ามขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 267 เรื่องคุณสมบัติของนายกรัฐมนตรีทำให้นายสมัคร สุนทรเวช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และเป็นผลให้คณะรัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่งด้วยตามมาตรา 180 วรรค 1 (1) แต่ในระหว่างนี้คณะรัฐมนตรีทั้งหมดจะรักษาการในตำแหน่งไปก่อน จนกว่าจะได้นายกรัฐมนตรีคนใหม่ตามมาตรา 181[18]
สำหรับนโยบายและผลงานในขณะที่ท่านดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นมีมากมาย เช่น เร่งฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจให้มีความเข้มแข็ง แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและส่งเสริมผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนกระตุ้นการลงทุนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศให้มากขึ้น ด้วยมาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ[19] และมาตรการ 6 มาตรการ 6 เดือน ช่วยคนจน โดยการนำเงินภาษีมาเพื่อช่วยเหลือประชาชน จนได้ขยายเวลาเพิ่มในเวลาต่อมา อีกทั้งได้ยกเลิกมาตรการกันสำรองร้อยละ 30 ของเงินทุนนำเข้าระยะสั้นของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม 2551 ซึ่งการยกเลิกมาตรการกันสำรองร้อยละ 30 ถือว่าเป็นการกำจัดอุปสรรคของการลงทุนสำหรับนักลงทุนต่างชาติ ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการไหลเข้าของเงินทุนจากต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น และเป็นผลดีต่อตลาดทุนไทยโดยเฉพาะตลาดตราสารหนี้ รวมทั้งเป็นผลดีต่อการลงทุนต่างๆ ของภาคเอกชน เป็นต้น[20]
จากการเสียชีวิตของอดีตนายกรัฐมนตรีฝีปากกล้าที่ชื่อ นายสมัคร สุนทรเวช เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 นับว่าเป็นการสูญเสียผู้คร่ำหวอดทางการเมืองครั้งใหญ่ของประเทศไทย เนื่องจาก นายสมัคร สุนทรเวช ได้ทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติหลายประการ ซึ่งจากประวัติการดำรง ตำแหน่งทางการเมืองและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะเห็นได้ว่าท่านได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละ อดทน ขยันหมั่นเพียร รักษาระบอบประชาธิปไตย และจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสูงสุดยิ่ง ท่านจึงเป็นผู้หนึ่งที่ควรได้รับการยกย่องเชิดชู และนำเกียรติประวัติจารึกไว้ให้ปรากฏ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีที่ควรยึดถือปฏิบัติสืบไป
อ้างอิง
- ↑ ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัวดิ์. สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25. กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์. 2551, หน้า 80.
- ↑ ประวัตินายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.vcharkarn.com/varticle/39939 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ชีวประวัติบุคคลสำคัญ นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก)http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_03535.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ประวัตินายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.vcharkarn.com/varticle/39939 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ศูนย์ข้อมูลการเมือง. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. วันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 อดีตนายกฯ “สมัคร สุนทรเวชถึงแก่อนิจกรรม”.http://www.bangkokbiznews.com สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ศูนย์ข้อมูลการเมือง. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์. สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25. กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์. 2551, หน้า 87-88.
- ↑ ศูนย์ข้อมูลการเมือง. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ศูนย์ข้อมูลการเมือง. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. ราชกิจจานุเบกษา ตอนพิเศษ 23 ง เล่ม 125, วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551. หน้า 1.
- ↑ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.mof.go.th/News2008/014.pdf สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
- ↑ การยกเลิกมาตรการกันสำรองร้อยละ 30 ดีต่อภาวะการลงทุน. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.positioningmag.com/prnews/prnews.aspx?id=67638 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ
ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัวดิ์. สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25. กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์. 2551.
สมัคร 60. กรุงเทพฯ : พิมพ์ที่ ซี.พี.การพิมพ์, 2538.
ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. ราชกิจจานุเบกษา ตอนพิเศษ 23 ง เล่ม 125, วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551
บรรณานุกรม
กระแสหุ้น. "สมัคร สุนทรเวช" ถึงแก่อสัญกรรมแล้ว. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.stockwave.in.th/hot-news/3606-news-241109.html สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
ชีวประวัติบุคคลสำคัญ นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก)http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_03535.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี. ราชกิจจานุเบกษา ตอนพิเศษ 23 ง เล่ม 125, วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551
ประวัตินายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี www.cabinet.thaigov.go.th/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
ประวัตินายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.vcharkarn.com/varticle/39939 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
รายงานการประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ 6 (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) เป็นพิเศษ วันอังคารที่ 16 เดือนกันยายน 2551.
รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 1 (สมัยสามัญทั่วไป) วันที่ 31 มกราคม 2551.
ศูนย์ข้อมูลการเมือง. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://politicalbase.in.th/index.php สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
สมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://hilight.kapook.com/view/19925 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
สมัคร สุนทรเวช ถึงแก่อนิจกรรม. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://www.thaihealth.or.th/node/12396 สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. นายสมัคร สุนทรเวช. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. คณะรัฐมนตรีคณะที่ 57. ออนไลน์(เข้าถึงได้จาก) http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2552.