ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:
----
----


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ'''  รศ.ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ'''  รองศาสตราจารย์ ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์  


----
----
==ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร==
==ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร==


กรุงเทพมหานครมี “ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร” เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ซึ่งราษฎรเป็นผู้ลงคะแนนเลือกตั้งโดยตรงและลับ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี ตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 ซึ่งกรุงเทพมหานครมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครโดยตรงจนถึง ปัจจุบัน 7 ครั้ง  
[[กรุงเทพมหานคร]]มี “ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร” เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ซึ่งราษฎรเป็นผู้ลงคะแนน[[เลือกตั้งโดยตรง]]และลับ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี ตั้งแต่มีการประกาศใช้[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518]] ซึ่งกรุงเทพมหานครมี[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]โดยตรงจนถึง ปัจจุบัน 7 ครั้ง  


'''ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร '''
'''ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร '''
บรรทัดที่ 19: บรรทัดที่ 19:
|-
|-
|10 สิงหาคม พ.ศ. 2518
|10 สิงหาคม พ.ศ. 2518
|align="center" |นายธรรมนูญ เทียนเงิน
|align="center" |[[ธรรมนูญ เทียนเงิน|นายธรรมนูญ เทียนเงิน]]
|align="center" |ประชาธิปัตย์
|align="center" |[[ประชาธิปัตย์]]
|align="center" |99,247  
|align="center" |99,247  
|-
|-
|14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528
|14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528
|align="center" |พลตรี จำลอง ศรีเมือง
|align="center" |[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]
|align="center" |พลังธรรม
|align="center" |[[พลังธรรม (พ.ศ. 2531)|พลังธรรม]]
|align="center" |480,233
|align="center" |480,233
|-
|-
|7 มกราคม พ.ศ. 2533
|7 มกราคม พ.ศ. 2533
|align="center" |พลตรี จำลอง ศรีเมือง
|align="center" |[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]
|align="center" |พลังธรรม  
|align="center" |[[พลังธรรม (พ.ศ. 2531)|พลังธรรม]]
|align="center" |703,671
|align="center" |703,671
|-
|-
|19 เมษายน พ.ศ. 2535
|19 เมษายน พ.ศ. 2535
|align="center" |ร.อ.กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา
|align="center" |[[ร.อ.กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา]]
|align="center" |อิสระ
|align="center" |อิสระ
|align="center" |363,668
|align="center" |363,668
|-
|-
|2 มิถุนายน พ.ศ. 2539
|2 มิถุนายน พ.ศ. 2539
|align="center" |นายพิจิตต รัตนกุล
|align="center" |[[พิจิตต รัตนกุล|นายพิจิตต รัตนกุล]]
|align="center" |กลุ่มมดงาน
|align="center" |[[กลุ่มมดงาน]]
|align="center" |768,944
|align="center" |768,944
|-
|-
|23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543
|23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543
|align="center" |นายสมัคร สุนทรเวช  
|align="center" |[[สมัคร สุนทรเวช|นายสมัคร สุนทรเวช]]
|align="center" |ประชากรไทย
|align="center" |[[ประชากรไทย]]
|align="center" |1,016,096
|align="center" |1,016,096
|-
|-
|29 สิงหาคม พ.ศ. 2547
|29 สิงหาคม พ.ศ. 2547
|align="center" |นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน
|align="center" |[[อภิรักษ์ โกษะโยธิน|นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน]]
|align="center" |ประชาธิปัตย์
|align="center" |ประชาธิปัตย์
|align="center" |911,411
|align="center" |911,411
|-
|-
|11 มกราคม พ.ศ. 2552
|11 มกราคม พ.ศ. 2552
|align="center" |ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร
|align="center" |[[ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร]]
|align="center" |ประชาธิปัตย์
|align="center" |ประชาธิปัตย์
|align="center" |934,602
|align="center" |934,602
บรรทัดที่ 68: บรรทัดที่ 68:
• สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร  
• สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร  


แต่งตั้งและถอดถอนรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งและถอดถอนผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ  
แต่งตั้งและ[[ถอดถอน]]รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งและถอดถอนผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ  


บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย
บริหารราชการตามที่[[คณะรัฐมนตรี]] [[นายกรัฐมนตรี]] หรือรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]มอบหมาย


• วางระเบียบเพื่อปรับปรุงงานของกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย  
• วางระเบียบเพื่อปรับปรุงงานของกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย  
บรรทัดที่ 78: บรรทัดที่ 78:
• อำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฎหมายอื่น ๆ
• อำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฎหมายอื่น ๆ
   
   
• เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร และมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายอื่นได้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่า ราชการจังหวัด นายกเทศมนตรีหรือคณะเทศมนตรี แล้วแต่กรณีโดยอนุโลม ทั้งนี้ เว้นแต่พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครจะได้บัญญัติไว้เป็น อย่างอื่น  
• เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร และมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายอื่นได้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด [[นายกเทศมนตรี]]หรือ[[คณะเทศมนตรี]] แล้วแต่กรณีโดยอนุโลม ทั้งนี้ เว้นแต่พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครจะได้บัญญัติไว้เป็น อย่างอื่น  


==นอกจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครยังมีความสัมพันธ์กันในเรื่องการปฏิบัติราชการอื่น ๆ อีก คือ ==
==นอกจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครยังมีความสัมพันธ์กันในเรื่องการปฏิบัติราชการอื่น ๆ อีก คือ ==


มีสิทธิเสนอร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้เหมือนกัน ยกเว้นร่างข้อบัญญัติงบประมาณ ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต้องเป็นผู้เสนอ และร่างข้อบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเป็นผู้เสนอจะ ต้องได้คำรับรองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
มีสิทธิเสนอ[[ร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร]]ได้เหมือนกัน ยกเว้น[[ร่างข้อบัญญัติงบประมาณ]] ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต้องเป็นผู้เสนอ และร่างข้อบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่[[สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร]]เป็นผู้เสนอจะต้องได้คำรับรองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร


สมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีสิทธิตั้งกระทู้ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหา นคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก็มีสิทธิที่จะไม่ตอบกระทู้ของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร เมื่อเห็นว่าเรื่องนั้นๆ ยังไม่สมควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สำคัญของกรุงเทพมหานคร  
สมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีสิทธิ[[ตั้งกระทู้]]ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก็มีสิทธิที่จะไม่ตอบกระทู้ของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร เมื่อเห็นว่าเรื่องนั้นๆ ยังไม่สมควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สำคัญของกรุงเทพมหานคร  


• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อเสนอเปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริงในปัญหาการบริหารราชการ ภายใน 15 วัน โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่มีสิทธิยับยั้งการอภิปราย  
• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อเสนอ[[เปิดอภิปรายทั่วไป]] เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริงในปัญหาการบริหารราชการ ภายใน 15 วัน โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่มีสิทธิยับยั้งการอภิปราย  


• สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพ มหานคร ให้เลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งคณะกรรมการวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร โดยเลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือผู้มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร  
• สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพ มหานคร ให้เลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และแต่งตั้ง[[คณะกรรมการวิสามัญ]]ของสภากรุงเทพมหานคร โดยเลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือผู้มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร  


• ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ตามจำนวนที่สภากำหนด  
• ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ตามจำนวนที่สภากำหนด  


สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจให้ความเห็นชอบในการดำเนินการของกรุงเทพมหานครในเรื่องต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด  
[[สภากรุงเทพมหานคร]]มีอำนาจให้ความเห็นชอบในการดำเนินการของกรุงเทพมหานครในเรื่องต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด  


== ที่มา ==
== ที่มา ==
บรรทัดที่ 127: บรรทัดที่ 127:


[[หมวดหมู่:โครงสร้างการบริหารงานกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:โครงสร้างการบริหารงานกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรทัย ก๊กผล]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:28, 27 กรกฎาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผล


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานครมี “ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร” เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ซึ่งราษฎรเป็นผู้ลงคะแนนเลือกตั้งโดยตรงและลับ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี ตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 ซึ่งกรุงเทพมหานครมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครโดยตรงจนถึง ปัจจุบัน 7 ครั้ง

ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

วันที่มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจากการเลือกตั้ง พรรค คะแนนที่ได้รับ
10 สิงหาคม พ.ศ. 2518 นายธรรมนูญ เทียนเงิน ประชาธิปัตย์ 99,247
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 พลตรี จำลอง ศรีเมือง พลังธรรม 480,233
7 มกราคม พ.ศ. 2533 พลตรี จำลอง ศรีเมือง พลังธรรม 703,671
19 เมษายน พ.ศ. 2535 ร.อ.กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา อิสระ 363,668
2 มิถุนายน พ.ศ. 2539 นายพิจิตต รัตนกุล กลุ่มมดงาน 768,944
23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 นายสมัคร สุนทรเวช ประชากรไทย 1,016,096
29 สิงหาคม พ.ศ. 2547 นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ประชาธิปัตย์ 911,411
11 มกราคม พ.ศ. 2552 ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร ประชาธิปัตย์ 934,602

อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ทั่วไปตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ดังนี้

• กำหนดนโยบาย และบริหารราชการเขตกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามกฎหมาย

• สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร

• แต่งตั้งและถอดถอนรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งและถอดถอนผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือเป็นคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ

• บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย

• วางระเบียบเพื่อปรับปรุงงานของกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

• รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานคร

• อำนาจหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฎหมายอื่น ๆ

• เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร และมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายอื่นได้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรีหรือคณะเทศมนตรี แล้วแต่กรณีโดยอนุโลม ทั้งนี้ เว้นแต่พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครจะได้บัญญัติไว้เป็น อย่างอื่น

นอกจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครยังมีความสัมพันธ์กันในเรื่องการปฏิบัติราชการอื่น ๆ อีก คือ

• มีสิทธิเสนอร่างข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้เหมือนกัน ยกเว้นร่างข้อบัญญัติงบประมาณ ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครต้องเป็นผู้เสนอ และร่างข้อบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเป็นผู้เสนอจะต้องได้คำรับรองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีสิทธิตั้งกระทู้ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก็มีสิทธิที่จะไม่ตอบกระทู้ของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร เมื่อเห็นว่าเรื่องนั้นๆ ยังไม่สมควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สำคัญของกรุงเทพมหานคร

• สมาชิกสภากรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมดมีสิทธิเข้าชื่อเสนอเปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริงในปัญหาการบริหารราชการ ภายใน 15 วัน โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่มีสิทธิยับยั้งการอภิปราย

• สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพ มหานคร ให้เลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และแต่งตั้งคณะกรรมการวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร โดยเลือกจากสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือผู้มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร

• ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ตามจำนวนที่สภากำหนด

สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจให้ความเห็นชอบในการดำเนินการของกรุงเทพมหานครในเรื่องต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด

ที่มา

สถาบันพระปกเกล้า. สารานุกรมการปกครองท้องถิ่น หมวดที่ 3 พัฒนาการและรูปแบบการปกครองท้องถิ่นไทย ลำดับที่ 5 เรื่อง กรุงเทพมหานคร. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.

โกวิทย์ พวงงาม. การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2543.

ชูวิทย์ ฉายะบุตร. การปกครองท้องถิ่นไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.

สมคิด เลิศไพฑูรย์. การกระจายอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. การบริหารเมืองหลวงและการบริหารท้องถิ่น เปรียบเทรียบ :อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่นและไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2541.

สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร ปีที่ 27, 2542.

พัชรี สิโรรส และอรทัย ก๊กผล บรรณาธิการ. การบริหารเมือง : กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.

สำนักนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร. จากเทศบาลสู่กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร, 2542.

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2539

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2542

พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545

กรุงเทพมหานคร <www.bma.go.th>