ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเงินของพรรคการเมือง"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง''' รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว
'''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์. ดร. นิยม รัฐอมฤต  
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต  


 
= <span style="font-size:x-large;">'''บทนำ'''</span> =


'''การเงินของพรรคการเมือง (Party Finance)'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''การเงินของพรรคการเมือง (party finance)''' หมายถึงกระแสเงินที่ไหลเข้าและออกจากพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคซึ่งถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง เช่น การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งการบริหารจัดการองค์กรพรรค การดำเนินกิจการของพรรค รวมถึงการวิจัยและพัฒนาของพรรคการเมืองในการเมืองอเมริกัน คำว่า '''“การเงินในการรณรงค์เลือกตั้ง''''''”''''''(campaign finance or campaign funding)''' ถูกใช้ในความหมายใกล้เคียงกับการเงินของพรรคการเมือง เนื่องจากผู้สมัครรับเลือกตั้งมีบทบาทโดดเด่นมากกว่าพรรคการเมือง ดังนั้น เงินส่วนใหญ่จึงกระจุกตัวอยู่ที่การสนับสนุนผู้สมัครเป็นรายบุคคลมากกว่าองค์กรพรรคการเมือง ซึ่งแตกต่างจากระบบพรรคการเมืองในยุโรปตะวันตกที่มีความเป็นสถาบันสูงจึงนิยมเรียกกระแสเงินในกิจกรรมทางการเมืองของพรรคว่า '''“การเงินของพรรคการเมือง”''' อย่างไรก็ตาม คำที่ครอบคลุมความหมายทั้งสองด้านก็คือ '''''“'''''<b>การเงินทางการเมือง” (political finance</b>''''')''''' ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในบริบทการเมืองอเมริกันและการเมืองยุโรป ทั้งนี้การเงินของพรรคการเมืองเป็นประเด็นสำคัญของการปฏิรูปพรรคการเมืองช่วงปลายทศวรรษ 1990 ถึงต้นทศวรรษ 2000 เนื่องจากต้องการที่จะจัดการเส้นทางรายได้ของพรรคและการใช้จ่ายของพรรคการเมืองเพื่อให้เกิดความโปร่งใส ขจัดปัญหาการคอร์รัปชั่น และสร้างความเป็นธรรมในสนามเลือกตั้งด้วย


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''การเงินของพรรคการเมือง (party finance)''' หมายถึงกระแสเงินที่ไหลเข้าและออกจากพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคซึ่งถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง เช่น การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งการบริหารจัดการองค์กรพรรค การดำเนินกิจการของพรรค รวมถึงการวิจัยและพัฒนาของพรรคการเมืองในการเมืองอเมริกัน คำว่า '''“การเงินในการรณรงค์เลือกตั้ง” (campaign finance or campaign funding)''' ถูกใช้ในความหมายใกล้เคียงกับการเงินของพรรคการเมือง เนื่องจากผู้สมัครรับเลือกตั้งมีบทบาทโดดเด่นมากกว่าพรรคการเมือง ดังนั้น เงินส่วนใหญ่จึงกระจุกตัวอยู่ที่การสนับสนุนผู้สมัครเป็นรายบุคคลมากกว่าองค์กรพรรคการเมือง ซึ่งแตกต่างจากระบบพรรคการเมืองในยุโรปตะวันตกที่มีความเป็นสถาบันสูงจึงนิยมเรียกกระแสเงินในกิจกรรมทางการเมืองของพรรคว่า '''“การเงินของพรรคการเมือง”''' อย่างไรก็ตาม คำที่ครอบคลุมความหมายทั้งสองด้านก็คือ '''''“'''''<b>การเงินทางการเมือง” (political finance</b>''''')''''' ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในบริบทการเมืองอเมริกันและการเมืองยุโรป ทั้งนี้การเงินของพรรคการเมืองเป็นประเด็นสำคัญของการปฏิรูปพรรคการเมืองช่วงปลายทศวรรษ 1990 ถึงต้นทศวรรษ 2000 เนื่องจากต้องการที่จะจัดการเส้นทางรายได้ของพรรคและการใช้จ่ายของพรรคการเมืองเพื่อให้เกิดความโปร่งใส ขจัดปัญหาการคอร์รัปชั่น และสร้างความเป็นธรรมในสนามเลือกตั้งด้วย
= <span style="font-size:x-large;">'''กรอบแนวคิด "การเงินของพรรคการเมือง"'''</span> =


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;แม้เงินการเมือง (political money) จะเป็นทรัพยากรสำคัญของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ทว่าการเงินของพรรคการเมืองถือว่าเป็นพัฒนาการที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้[[#_ftn1|[1]]] สาเหตุสำคัญก็คือ พรรคการเมืองและผู้สมัครของพรรคมักแสวงหาหนทางหลบเลี่ยงที่จะถูกตรวจสอบแหล่งที่มาของรายได้และวิธีการใช้จ่ายเงินเหล่านั้น จึงทำให้การจัดการให้การเงินของพรรคอยู่ในระบบนั้นประสบกับความยากลำบาก อย่างไรก็ตามเพื่อที่จะให้เกิดความชัดเจนในการศึกษาและจัดวางแนวทางให้กับเงินของพรรคการเมือง&nbsp; International IDEA ได้ให้ความหมายไว้ว่า '''“การเงินของพรรคการเมือง”''' คือ ''“การเงิน (ทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย) ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของพรรคการเมืองที่ดำเนินอยู่และการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง (โดยเฉพาะการรณรงค์หาเสียงโดยผู้สมัครและพรรคการเมือง รวมถึงโดยกลุ่มบุคคลที่สามด้วย)”''[[#_ftn2|[2]]] ทั้งนี้ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก ต่างก็ยึดถือและบังคับใช้กฎข้อบังคับเกี่ยวกับการเงินพรรคการเมืองมากน้อยต่างกัน จากฐานข้อมูลการสำรวจ 180 ประเทศ พบว่าประเทศส่วนใหญ่ในแถบยุโรปตะวันออก / ยุโรปกลาง / ยุโรปใต้ (ร้อยละ 72) มีการบังคับใช้กฎกติกาเกี่ยวกับการเงินของพรรคที่เข้มงวดที่สุด ขณะที่ประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย (ร้อยละ 55) มักมีข้อบังคับการเงินของพรรคที่ค่อนข้างเบาบาง ขณะที่ประเทศในแถบแอฟริกา (ร้อยละ 55) มีการจัดการการการเงินของพรรคด้วยนโยบายสายกลาง[[#_ftn3|[3]]]


'''กรอบแนวคิด "การเงินของพรรคการเมือง"'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; โดยทั่วไปแล้ว การจัดระบบให้กับการเงินของพรรคการเมืองนั้นรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า '''“ระบอบการเงินทางการเมือง” (political finance regime)''' ซึ่งเป็นกรอบโครงทางกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายต่าง ๆ ที่กำหนดบทบาทของเงินในการเมือง อาจเป็นทั้งกฎกติกาที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ[[#_ftn4|[4]]] โดยประกอบไปด้วย 4 มาตรการหลัก เรียงจากความเข้มข้นน้อยไปหาความเข้มข้นมาก ได้แก่


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;แม้'''เงินการเมือง (political money)''' จะเป็นทรัพยากรสำคัญของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ทว่าการเงินของพรรคการเมืองถือว่าเป็นพัฒนาการที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้[[#_ftn1|[1]]] สาเหตุสำคัญก็คือ พรรคการเมืองและผู้สมัครของพรรคมักแสวงหาหนทางหลบเลี่ยงที่จะถูกตรวจสอบแหล่งที่มาของรายได้และวิธีการใช้จ่ายเงินเหล่านั้น จึงทำให้การจัดการให้การเงินของพรรคอยู่ในระบบนั้นประสบกับความยากลำบาก อย่างไรก็ตามเพื่อที่จะให้เกิดความชัดเจนในการศึกษาและจัดวางแนวทางให้กับเงินของพรรคการเมือง International IDEA ได้ให้ความหมายไว้ว่า '''''“'''''<b>การเงินของพรรคการเมือง” คือ “การเงิน (ทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย) ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของพรรคการเมืองที่ดำเนินอยู่และการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง (โดยเฉพาะการรณรงค์หาเสียงโดยผู้สมัครและพรรคการเมือง รวมถึงโดยกลุ่มบุคคลที่สามด้วย)”</b>[[#_ftn2|[2]]] ทั้งนี้ ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก ต่างก็ยึดถือและบังคับใช้กฎข้อบังคับเกี่ยวกับการเงินพรรคการเมืองมากน้อยต่างกัน จากฐานข้อมูลการสำรวจ 180 ประเทศ พบว่าประเทศส่วนใหญ่ในแถบยุโรปตะวันออก/ยุโรปกลาง/ยุโรปใต้ (ร้อยละ 72) มีการบังคับใช้กฎกติกาเกี่ยวกับการเงินของพรรคที่เข้มงวดที่สุด ขณะที่ประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย (ร้อยละ 55) มักมีข้อบังคับการเงินของพรรคที่ค่อนข้างเบาบาง ขณะที่ประเทศในแถบแอฟริกา (ร้อยละ 55) มีการจัดการการการเงินของพรรคด้วยนโยบายสายกลาง[[#_ftn3|[3]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1) การเปิดเผยบัญชีการเงินของพรรค


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; โดยทั่วไปแล้ว การจัดระบบให้กับการเงินของพรรคการเมืองนั้นรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า '''“ระบอบการเงินทางการเมือง” (political finance regime)''' ซึ่งเป็นกรอบโครงทางกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายต่าง ๆ ที่กำหนดบทบาทของเงินในการเมือง อาจเป็นทั้งกฎกติกาที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ[[#_ftn4|[4]]] โดยประกอบไปด้วย 4 มาตรการหลัก เรียงจากความเข้มข้นน้อยไปหาความเข้มข้นมาก ได้แก่ 1) การเปิดเผยบัญชีการเงินของพรรค 2) การจำกัดเพดานเงินบริจาค 3) การจำกัดเพดานค่าใช้จ่ายและ 4) การสนับสนุนภาครัฐ[[#_ftn5|[5]]] นอกจากสี่มาตรการข้างต้นแล้ว องค์กรอิสระยังต้องมีบทบาทสำคัญในการบังคับใช้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้เกิดสัมฤทธิ์ผล และการจัดการการเงินของพรรคการเมืองจะเกิดผลได้อย่างแท้จริงหรือไม่นั้นก็ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบติดตามอย่างใกล้ชิดรวมถึงมีอำนาจในการให้รางวัลและการลงโทษตัวแสดงทางการเมืองที่ละเมิดกฎระเบียบอีกด้วย[[#_ftn6|[6]]] (30)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) การจำกัดเพดานเงินบริจาค


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ทั้งนี้ ความเข้มข้นของระบอบการเงินพรรคการเมืองจะขึ้นอยู่กับว่าระบบการเมืองนั้นๆ อาศัยมาตรการใด หากระบบการเมืองใดมีแต่เพียงการเปิดเผยบัญชีการเงินของพรรคเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสก็จะถือว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคแนวเสรีนิยม และหากระบบการเมืองใดเพิ่มการจำกัดเพดานเงินบริจาคและการใช้จ่ายไปด้วย ก็จะถือว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคสายกลาง แต่หากระบบการเมืองมีครบทั้งสี่มาตรการ คือ การเปิดเผยบัญชีของของพรรค การจำกัดเพดานเงินบริจาคและเพดานรายจ่ายและมาตรการสนับสนุนภาครัฐ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารัฐเข้าไปแทรกแซงกิจการของพรรคการเมืองแทบทุกมิติ จึงถือได้ว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคที่เน้นความเสมอภาค[[#_ftn7|[7]]] อย่างไรก็ตาม แม้แนวคิดเรื่องระบอบการเงินของพรรคจะถูกพัฒนาขึ้น แต่ในทางปฏิบัตินั้นกลับไม่ได้มีสูตรสำเร็จตายตัวเพื่อที่จะจัดการกับปัญหาการเงินของพรรคการเมือง ซึ่งเป็นต้นทางของปัญหาการทุจริตเลือกตั้ง อิทธิพลของกลุ่มทุนต่อพรรคการเมืองและความไม่เป็นธรรมในการแข่งขันเลือกตั้ง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3) การจำกัดเพดานค่าใช้จ่ายและ


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 4) การสนับสนุนภาครัฐ[[#_ftn5|[5]]]


'''ความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเงินของพรรคกับระบบพรรคการเมือง'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากสี่มาตรการข้างต้นแล้ว องค์กรอิสระยังต้องมีบทบาทสำคัญในการบังคับใช้กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ให้เกิดสัมฤทธิ์ผลและการจัดการการเงินของพรรคการเมืองจะเกิดผลได้อย่างแท้จริงหรือไม่นั้นก็ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบติดตามอย่างใกล้ชิดรวมถึงมีอำนาจในการให้รางวัลและการลงโทษตัวแสดงทางการเมืองที่ละเมิดกฎระเบียบอีกด้วย[[#_ftn6|[6]]] (30)


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศประชาธิปไตยที่อาศัยวิธีการเลือกตั้งเป็นกลไกลในการคัดสรรผู้นำทางการเมืองและการเปลี่ยนถ่ายอำนาจ มักเผชิญกับปัญหาที่พรรครัฐบาลชนะเลือกตั้งอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นระบบ&nbsp;'''พรรคการเมืองแบบครอบงำ (dominant party system)''' หนึ่งในสาเหตุที่พรรครัฐบาลเหล่านั้นได้เปรียบเหนือพรรคการเมืองอื่นๆ ก็เนื่องมาจากความได้เปรียบในเชิงทรัพยากรทางการเงิน หนึ่งในวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว ก็คือการปฏิรูปการเงินของพรรคการเมือง ซึ่งนอกจากจะมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความโปร่งใส ลดการทุจริตการเลือกตั้ง และลดอิทธิพลของกลุ่มทุนทางการเมืองแล้ว ยังต้องการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้กับพรรคการเมืองขนาดเล็กและพรรคการเมืองหน้าใหม่ให้เข้าไปแข่งขันในสนามเลือกตั้งได้อย่างเป็นธรรมมากขึ้น[[#_ftn8|[8]]] โดยมาตรการที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวางในหมู่นักปฏิรูป ก็คือ '''การสนับสนุนพรรคการเมืองจากรัฐ (state subvention)''' ทั้งในรูปแบบการให้เงินสนับสนุนโดยตรง หรือ ในการดำเนินกิจการของพรรคการเมือง การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง และในรูปแบบการสนับสนุนทางอ้อมอย่างการเพิ่มช่องทางเข้าถึงการสื่อสารของรัฐ การงดเว้นภาษี และค่าดำเนินการต่างๆ เป็นต้น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ทั้งนี้ ความเข้มข้นของระบอบการเงินพรรคการเมืองจะขึ้นอยู่กับว่าระบบการเมืองนั้น ๆ อาศัยมาตรการใด หากระบบการเมืองใดมีแต่เพียงการเปิดเผยบัญชีการเงินของพรรคเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสก็จะถือว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคแนวเสรีนิยม และหากระบบการเมืองใดเพิ่มการจำกัดเพดานเงินบริจาคและการใช้จ่ายไปด้วยก็จะถือว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคสายกลาง แต่หากระบบการเมืองมีครบทั้งสี่มาตรการ คือ การเปิดเผยบัญชีของของพรรค การจำกัดเพดานเงินบริจาคและเพดานรายจ่ายและมาตรการสนับสนุนภาครัฐ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารัฐเข้าไปแทรกแซงกิจการของพรรคการเมืองแทบทุกมิติ จึงถือได้ว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคที่เน้นความเสมอภาค[[#_ftn7|[7]]] อย่างไรก็ตามแม้แนวคิดเรื่องระบอบการเงินของพรรคจะถูกพัฒนาขึ้น แต่ในทางปฏิบัตินั้นกลับไม่ได้มีสูตรสำเร็จตายตัวเพื่อที่จะจัดการกับปัญหาการเงินของพรรคการเมือง ซึ่งเป็นต้นทางของปัญหาการทุจริตเลือกตั้ง อิทธิพลของกลุ่มทุนต่อพรรคการเมืองและความไม่เป็นธรรมในการแข่งขันเลือกตั้ง


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ยังคงอ่อนแอนั้น การให้เงินสนับสนุนจากรัฐจะช่วยเพิ่มโอกาสให้พรรคการเมืองเกิดใหม่และพรรคขนาดเล็กสามารถพัฒนาได้ และแข่งขันกับพรรคขนาดกลางและขนาดใหญ่ในระบบได้อย่างเป็นธรรมมากขึ้น เนื่องจากเงินสนับสนุนภาครัฐจะช่วยลดช่องว่างระหว่างพรรคขนาดใหญ่ที่ร่ำรวยและพรรคขนาดเล็กที่ประสบความยากลำบากในการแสวงหาเงินบริจาค ทั้งยังให้ผลทางอ้อมในการปรับระนาบของสนามเลือกตั้ง (leveling playing field) ให้เกิดความเป็นธรรมในการแข่งขันมากขึ้น ในหลายประเทศนั้น การนำเสนอมาตรการเหล่านี้ได้นำไปสู่การเปลี่ยนผ่านจากระบบพรรคการเมืองแบบครอบงำไปสู่ระบบหลายพรรคการเมือง (multi-party system) ได้[[#_ftn9|[9]]]
= <span style="font-size:x-large;">'''ความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเงินของพรรคกับระบบพรรคการเมือง'''</span> =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเงินของพรรคการเมืองที่เข้มข้นกับระบบพรรคการเมืองกลับให้ผลไม่ชัดเจนนักเมื่อพิจารณาในบริบทของประเทศประชาธิปไตยตั้งมั่น (consolidated democracies) กล่าวคือ มีเพียงบางประเทศเท่านั้นที่เมื่อใช้ระบบการเงินของพรรคการเมืองที่เน้นความเป็นธรรมแล้วจะนำไปสู่ระบบการเมืองแบบที่มีการแข่งขันมากขึ้น (เช่น เดนมาร์กและเนเธอร์แลนด์) ขณะที่อีกหลายประเทศ กฎหมายการเงินของพรรคการเมืองกลับไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงระบบพรรคการเมืองแต่อย่างใด[[#_ftn10|[10]]] ยิ่งไปกว่านั้น การบังคับใช้ระบอบการเงินของพรรคการเมืองที่เข้มงวดและกำหนดอัตราโทษสูงกลับยิ่งเพิ่มความสลับซับซ้อนให้กับปัญหาการทุจริตทางการเมือง เช่น ในอินเดียที่ผู้นำทางการเมืองหันไปใช้เงินนอกระบบ (black money) มาดำเนินการทางการเมือง ซึ่งนอกจากจะยากแก่การตรวจสอบและลงโทษแล้ว ยังเปิดโอกาสให้ผู้นำที่ผูกขาดแหล่งเงินทุนสามารถครอบงำการเมืองได้[[#_ftn11|[11]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศประชาธิปไตยที่อาศัยวิธีการเลือกตั้งเป็นกลไกลในการคัดสรรผู้นำทางการเมืองและการเปลี่ยนถ่ายอำนาจ มักเผชิญกับปัญหาที่พรรครัฐบาลชนะเลือกตั้งอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นระบบ&nbsp;พรรคการเมืองแบบครอบงำ (dominant party system) หนึ่งในสาเหตุที่พรรครัฐบาลเหล่านั้นได้เปรียบเหนือพรรคการเมืองอื่น ๆ ก็เนื่องมาจากความได้เปรียบในเชิงทรัพยากรทางการเงิน หนึ่งในวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว ก็คือการปฏิรูปการเงินของพรรคการเมือง ซึ่งนอกจากจะมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความโปร่งใส ลดการทุจริตการเลือกตั้ง และลดอิทธิพลของกลุ่มทุนทางการเมืองแล้ว ยังต้องการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้กับพรรคการเมืองขนาดเล็กและพรรคการเมืองหน้าใหม่ให้เข้าไปแข่งขันในสนามเลือกตั้งได้อย่างเป็นธรรมมากขึ้น[[#_ftn8|[8]]] โดยมาตรการที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวางในหมู่นักปฏิรูปก็คือ การสนับสนุนพรรคการเมืองจากรัฐ (state subvention) ทั้งในรูปแบบการให้เงินสนับสนุนโดยตรง หรือในการดำเนินกิจการของพรรคการเมือง การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง และในรูปแบบการสนับสนุนทางอ้อมอย่างการเพิ่มช่องทางเข้าถึงการสื่อสารของรัฐ การงดเว้นภาษี และค่าดำเนินการต่าง ๆ เป็นต้น


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ยังคงอ่อนแอนั้น การให้เงินสนับสนุนจากรัฐจะช่วยเพิ่มโอกาสให้พรรคการเมืองเกิดใหม่และพรรคขนาดเล็กสามารถพัฒนาได้ และแข่งขันกับพรรคขนาดกลางและขนาดใหญ่ในระบบได้อย่างเป็นธรรมมากขึ้น เนื่องจากเงินสนับสนุนภาครัฐจะช่วยลดช่องว่างระหว่างพรรคขนาดใหญ่ที่ร่ำรวยและพรรคขนาดเล็กที่ประสบความยากลำบากในการแสวงหาเงินบริจาค ทั้งยังให้ผลทางอ้อมในการปรับระนาบของสนามเลือกตั้ง (leveling playing field) ให้เกิดความเป็นธรรมในการแข่งขันมากขึ้น ในหลายประเทศนั้นการนำเสนอมาตรการเหล่านี้ได้นำไปสู่การเปลี่ยนผ่านจากระบบพรรคการเมืองแบบครอบงำไปสู่[[ระบบหลายพรรคการเมือง|ระบบหลายพรรคการเมือง (multi-party system)]] ได้[[#_ftn9|[9]]]


'''การเงินของพรรคการเมืองในประเทศไทย'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเงินของพรรคการเมืองที่เข้มข้นกับระบบพรรคการเมืองกลับให้ผลไม่ชัดเจนนักเมื่อพิจารณาในบริบทของประเทศประชาธิปไตยตั้งมั่น (consolidated democracies) กล่าวคือ มีเพียงบางประเทศเท่านั้นที่เมื่อใช้ระบบการเงินของพรรคการเมืองที่เน้นความเป็นธรรมแล้วจะนำไปสู่ระบบการเมืองแบบที่มีการแข่งขันมากขึ้น (เช่น เดนมาร์กและเนเธอร์แลนด์) ขณะที่อีกหลายประเทศ กฎหมายการเงินของพรรคการเมืองกลับไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงระบบพรรคการเมืองแต่อย่างใด[[#_ftn10|[10]]] ยิ่งไปกว่านั้น การบังคับใช้ระบอบการเงินของพรรคการเมืองที่เข้มงวดและกำหนดอัตราโทษสูงกลับยิ่งเพิ่มความสลับซับซ้อนให้กับปัญหาการทุจริตทางการเมือง เช่น ในอินเดียที่ผู้นำทางการเมืองหันไปใช้เงินนอกระบบ (black money) มาดำเนินการทางการเมือง ซึ่งนอกจากจะยากแก่การตรวจสอบและลงโทษแล้ว ยังเปิดโอกาสให้ผู้นำที่ผูกขาดแหล่งเงินทุนสามารถครอบงำการเมืองได้[[#_ftn11|[11]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ก่อนการปฏิรูปการเมือง พ.ศ. 2540 พรรคการเมืองและนักการเมืองถูกมองด้วยทัศนะเชิงลบอันมีสาเหตุมาจากความสัมพันธ์ระหว่างเงินตราที่มีบทบาทและอิทธิพลในการเมืองแบบเลือกตั้ง หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''“ธนกิจการเมือง” (money politics)'''[[#_ftn12|[12]]] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จึงเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดขอบเขตของการจัดการการเงินของพรรคการเมืองไว้อย่างครอบคลุม โดยในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541[[#_ftn13|[13]]] ได้กำหนดทั้งมาตรการการเปิดเผยบัญชี รายรับ-รายจ่าย ของพรรคการเมือง (ม.38) การเปิดเผยบัญชีทรัพย์สินของผู้บริหารพรรค (ม.42) การกำหนดเพดานรายจ่ายในการเลือกตั้งไว้ที่ 1,000,000 บาทต่อคนในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต และหากพรรคส่งบัญชีรายชื่อครบก็จะใช้จ่ายได้ไม่เกิน 100,000,000 บาท ต่อพรรค[[#_ftn14|[14]]] และการก่อตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ม.56) โดยคำนวณการจัดสรรเงินสนับสนุนจากจำนวนเสียงเลือกตั้ง จำนวนที่นั่งในสภา จำนวนสมาชิกพรรค และจำนวนสาขาพรรค ในสัดส่วน 35&nbsp;: 30&nbsp;: 20&nbsp;: 15[[#_ftn15|[15]]] ต่อมาภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง[[#_ftn16|[16]]] ได้เพิ่มมาตรการกำหนดเพดานเงินรายรับของพรรคการเมือง ซึ่งระบุว่าผู้ใดบริจาคเงินแก่พรรคการเมืองเกิน 1,000 บาท จะต้องเปิดเผยชื่อ หากเกิน 5,000 บาทต้องกระทำอย่างเปิดเผย หากเกิน 20,000 ต้องทำเป็นตั๋วแลกเงินหรือเช็คแต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 1,000,0000 บาท (ม. 56,57,59) และปรับเปลี่ยนสัดส่วนเงินจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองเป็น 40&nbsp;: 40&nbsp;: 10&nbsp;: 10 (ม.75) เมื่อเกิดการรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 จึงส่งผลให้รัฐธรรมนูญ 2550 สิ้นสุดลง
= <span style="font-size:x-large;">'''การเงินของพรรคการเมืองในประเทศไทย'''</span> =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560[[#_ftn17|[17]]] ได้กำหนดมาตรการจัดการการเงินของพรรคการเมืองที่เคร่งครัดมากขึ้นเพื่อขจัดอิทธิพลของกลุ่มทุนการเมืองและการทุจริตในรูปแบบต่างๆ ในส่วนของเงินรายได้นั้น ได้ห้ามไม่บุคคลบริจาคเงินแก่พรรคการเมืองเกิน 10,000,000 บาท ต่อปี (ม.66) ขณะที่เพดานรายจ่ายในการเลือกตั้งถูกกำหนดไว้ที่ 1,500,000 บาท ต่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน ในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต และในส่วนของพรรคการเมืองไม่เกิน 35,000,000 บาท ต่อพรรค[[#_ftn18|[18]]] การปรับเปลี่ยนที่สำคัญเกิดขึ้นกับการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาพรรคการเมือง โดยระบุให้มีสัดส่วนการจัดสรรมาจากจำนวนเงินค่าบำรุงพรรคที่พรรคนั้นได้รับในปีก่อนหน้า (ร้อยละ 40) จำนวนคะแนนเสียง (ร้อยละ 40) และจำนวนสาขาพรรค (ร้อยละ 20) (ม.83) นอกจากนั้นยังห้ามมิให้มีการสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ต่างตอบแทนกับคะแนนเสียงเลือกตั้งระหว่างพรรคการเมืองกับประชาชน (ม.30-31) และห้ามบุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นสมาชิกพรรคครอบงำหรือชี้นำพรรคการเมือง หากฝ่าฝืนมีโทษถึงขั้นยุบพรรคและตัดสิทธิทางการเมืองผู้บริหารพรรคสูงสุดถึง 10 ปี (ม.28-29, 92-95)ซึ่งมาตรการหลังสุดนี้หลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าเพื่อป้องกันการครอบงำของกลุ่มทุนและผู้มีอิทธิพลทางการเมือง[[#_ftn19|[19]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ก่อน[[การปฏิรูปการเมือง|การปฏิรูปการเมือง]] พ.ศ. 2540 พรรคการเมืองและนักการเมืองถูกมองด้วยทัศนะเชิงลบอันมีสาเหตุมาจากความสัมพันธ์ระหว่างเงินตราที่มีบทบาทและอิทธิพลในการเมืองแบบเลือกตั้งหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''“ธนกิจการเมือง” (money politics)'''[[#_ftn12|[12]]] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จึงเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดขอบเขตของการจัดการการเงินของพรรคการเมืองไว้อย่างครอบคลุม โดยในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541[[#_ftn13|[13]]] ได้กำหนดทั้งมาตรการการเปิดเผยบัญชี รายรับ-รายจ่าย ของพรรคการเมือง (ม.38) การเปิดเผยบัญชีทรัพย์สินของผู้บริหารพรรค (ม.42) การกำหนดเพดานรายจ่ายในการเลือกตั้งไว้ที่ 1,000,000 บาทต่อคนในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต และหากพรรคส่งบัญชีรายชื่อครบก็จะใช้จ่ายได้ไม่เกิน 100,000,000 บาท ต่อพรรค[[#_ftn14|[14]]] และการก่อตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ม.56) โดยคำนวณการจัดสรรเงินสนับสนุนจากจำนวนเสียงเลือกตั้ง จำนวนที่นั่งในสภา จำนวนสมาชิกพรรค และจำนวนสาขาพรรค ในสัดส่วน 35&nbsp;: 30&nbsp;: 20&nbsp;: 15[[#_ftn15|[15]]] ต่อมาภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง[[#_ftn16|[16]]] ได้เพิ่มมาตรการกำหนดเพดานเงินรายรับของพรรคการเมือง ซึ่งระบุว่าผู้ใดบริจาคเงินแก่พรรคการเมืองเกิน 1,000 บาท จะต้องเปิดเผยชื่อ หากเกิน 5,000 บาทต้องกระทำอย่างเปิดเผย หากเกิน 20,000 ต้องทำเป็นตั๋วแลกเงินหรือเช็คแต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 1,000,0000 บาท (ม. 56,57,59) และปรับเปลี่ยนสัดส่วนเงินจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองเป็น 40&nbsp;: 40&nbsp;: 10&nbsp;: 10 (ม.75) เมื่อเกิดการรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 จึงส่งผลให้รัฐธรรมนูญ 2550 สิ้นสุดลง


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560[[#_ftn17|[17]]] ได้กำหนดมาตรการจัดการการเงินของพรรคการเมืองที่เคร่งครัดมากขึ้นเพื่อขจัดอิทธิพลของกลุ่มทุนการเมืองและการทุจริตในรูปแบบต่าง ๆ ในส่วนของเงินรายได้นั้น ได้ห้ามไม่บุคคลบริจาคเงินแก่พรรคการเมืองเกิน 10,000,000 บาท ต่อปี (ม.66) ขณะที่เพดานรายจ่ายในการเลือกตั้งถูกกำหนดไว้ที่ 1,500,000 บาท ต่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน ในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต และในส่วนของพรรคการเมืองไม่เกิน 35,000,000 บาท ต่อพรรค[[#_ftn18|[18]]] การปรับเปลี่ยนที่สำคัญเกิดขึ้นกับการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาพรรคการเมือง โดยระบุให้มีสัดส่วนการจัดสรรมาจากจำนวนเงินค่าบำรุงพรรคที่พรรคนั้นได้รับในปีก่อนหน้า (ร้อยละ 40) จำนวนคะแนนเสียง (ร้อยละ 40) และจำนวนสาขาพรรค (ร้อยละ 20) (ม.83) นอกจากนั้นยังห้ามมิให้มีการสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ต่างตอบแทนกับคะแนนเสียงเลือกตั้งระหว่างพรรคการเมืองกับประชาชน (ม.30-31) และห้ามบุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นสมาชิกพรรคครอบงำหรือชี้นำพรรคการเมือง หากฝ่าฝืนมีโทษถึงขั้นยุบพรรคและตัดสิทธิทางการเมืองผู้บริหารพรรคสูงสุดถึง 10 ปี (ม.28-29, 92-95)ซึ่งมาตรการหลังสุดนี้หลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าเพื่อป้องกันการครอบงำของกลุ่มทุนและผู้มีอิทธิพลทางการเมือง[[#_ftn19|[19]]]


'''บรรณานุกรม'''
= <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> =


Gowda, M. V. Rajeev and E. Sridharan. (2012). "Reforming India’s Party Financing and Election Expenditure Laws." '''Electoral Law Journal'''. 11(2): 226-240.
Gowda, M. V. Rajeev and E. Sridharan. (2012). "Reforming India’s Party Financing and Election Expenditure Laws." Electoral Law Journal. 11(2): 226-240.


International IDEA. (2014). '''Funding of Political Parties and Election Campaigns: A Handbook on Political Finance'''. Stockholm: International IDEA.
International IDEA. (2014). Funding of Political Parties and Election Campaigns: A Handbook on Political Finance. Stockholm: International IDEA.


Kölln, Ann-Kristin. (2016). “Does Party Finance Regulation Create a Level Playing Field?.” '''Election Law Journal: Rules, Politics, and Policy'''. 15(1): 71-82.
Kölln, Ann-Kristin. (2016). “Does Party Finance Regulation Create a Level Playing Field?.” Election Law Journal: Rules, Politics, and Policy. 15(1): 71-82.


Lee-Jones, Krista. (2019). "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems." Available <[https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf]>. Accessed 10 September 2021.
Lee-Jones, Krista. (2019). "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems." Available <[https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf]>. Accessed 10 September 2021.


McVey, Ruth (ed.). '''Money and Power in Provincial Thailand'''. Copenhagen: Nordic Institute of Asian Studies.
McVey, Ruth (ed.). Money and Power in Provincial Thailand. Copenhagen: Nordic Institute of Asian Studies.


Norris, Pippa and Andrea Abel van Es. (2016). "Introduction:&nbsp;Understanding Political Finance Reform." in Pippa Norris and Andrea Abel van Es (ed.). '''Checkbook Elections?: Political Finance in Comparative Perspective''', pp. 1-24. Oxford: Oxford University Press.
Norris, Pippa and Andrea Abel van Es. (2016). "Introduction:&nbsp;Understanding Political Finance Reform." in Pippa Norris and Andrea Abel van Es (ed.). Checkbook Elections?: Political Finance in Comparative Perspective, pp. 1-24. Oxford: Oxford University Press.


Potter, Joshua and Magitm Tavits. (2015). “The Impact of Campaign Finance Laws on Party Competition.” '''British Journal of Political Science'''. 45(1): 73-95.
Potter, Joshua and Magitm Tavits. (2015). “The Impact of Campaign Finance Laws on Party Competition.” British Journal of Political Science. 45(1): 73-95.


Rashkova, Ekaterina R. and Yen-Pin Su. (2020). “Political Finance Regimes and Party System Size: Evidence from New and Established European Democracies.” '''European Political Science Review'''. 12: 35-48.
Rashkova, Ekaterina R. and Yen-Pin Su. (2020). “Political Finance Regimes and Party System Size: Evidence from New and Established European Democracies.” European Political Science Review. 12: 35-48.


“กฎเหล็กพรรคการเมือง “คนนอก” ครอบงำ มีโทษ “ยุบพรรค”." '''PPTV '''(15 พฤศจิกายน 2561). เข้าถึงจาก <[https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223 https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223]>. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564.
“กฎเหล็กพรรคการเมือง “คนนอก” ครอบงำ มีโทษ “ยุบพรรค”." PPTV (15 พฤศจิกายน 2561). เข้าถึงจาก <[https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223 https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223]>. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564.


“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ฉบับที่ 3)." '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่ม 117. ตอนที่ 84ก. 11 กันยายน 2543.
“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ฉบับที่ 3)." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 117. ตอนที่ 84ก. 11 กันยายน 2543.


“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร." '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่ม 117. ตอนที่ 111ก. 29 พฤศจิกายน 2543.
“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 117. ตอนที่ 111ก. 29 พฤศจิกายน 2543.


“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561." '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่ม 136. ตอนที่ 6ก. 11 มกราคม 2561.
“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136. ตอนที่ 6ก. 11 มกราคม 2561.


“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541." '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่ม 115. ตอนที่ 35ก. 9 มิถุนายน 2541.
“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 115. ตอนที่ 35ก. 9 มิถุนายน 2541.


“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550." '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่ม 124. ตอนที่ 64ก. 7 ตุลาคม 2550.
“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124. ตอนที่ 64ก. 7 ตุลาคม 2550.


“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560." '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่ม 134. ตอนที่ 105ก. 7 ตุลาคม 2560.
“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134. ตอนที่ 105ก. 7 ตุลาคม 2560.
 
&nbsp;
<div><div id="ftn1">
<div><div id="ftn1">
'''อ้างอิง'''
= <span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span> =


[[#_ftnref1|[1]]] Krista Lee-Jones, "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems," Available <[https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf]>. Accessed 10 September 2021.
[[#_ftnref1|[1]]] Krista Lee-Jones, "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems," Available <[https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf]>. Accessed 10 September 2021.
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] International IDEA, '''Funding of Political Parties and Election Campaigns, A Handbook on Political Finance''' (Stockholm: International IDEA, 2014), p. 2.
[[#_ftnref2|[2]]] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, A Handbook on Political Finance (Stockholm: International IDEA, 2014), p. 2.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] International IDEA, '''Funding of Political Parties and Election Campaigns''', p. 3.
[[#_ftnref3|[3]]] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, p. 3.
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] Pippa Norris and Andrea Abel van Es, "Introduction:&nbsp;Understanding Political Finance Reform," in Pippa Norris and Andrea Abel van Es (ed.). '''Checkbook Elections?: Political Finance in Comparative Perspective''' (Oxford: Oxford University Press, 2016), p. 14.
[[#_ftnref4|[4]]] Pippa Norris and Andrea Abel van Es, "Introduction:&nbsp;Understanding Political Finance Reform," in Pippa Norris and Andrea Abel van Es (ed.). Checkbook Elections?: Political Finance in Comparative Perspective (Oxford: Oxford University Press, 2016), p. 14.
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] International IDEA, '''Funding of Political Parties and Election Campaigns''', pp. 21-29.
[[#_ftnref5|[5]]] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, pp. 21-29.
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] International IDEA, '''Funding of Political Parties and Election Campaigns''', p. 30.
[[#_ftnref6|[6]]] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, p. 30.
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] Pippa Norris and Andrea Abel van Es, "Introduction:&nbsp;Understanding Political Finance Reform,"<br/> p. 15.
[[#_ftnref7|[7]]] Pippa Norris and Andrea Abel van Es, "Introduction:&nbsp;Understanding Political Finance Reform," p. 15.
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] Krista Lee-Jones, "The role of political party finance reform in the transition from dominant<br/> to competitive party systems,"
[[#_ftnref8|[8]]] Krista Lee-Jones, "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems,"
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] Joshua Potter and Magitm Tavits, “The Impact of Campaign Finance Laws on Party Competition,” '''British Journal of Political Science''', 45(1) (2015): 73-95.; Ekaterina R. Rashkova and Yen-Pin Su, “Political Finance Regimes and Party System Size: Evidence from New and Established European Democracies,” '''European Political Science Review''', 12 (2020): 35-48.
[[#_ftnref9|[9]]] Joshua Potter and Magitm Tavits, “The Impact of Campaign Finance Laws on Party Competition,” British Journal of Political Science, 45(1) (2015): 73-95.; Ekaterina R. Rashkova and Yen-Pin Su, “Political Finance Regimes and Party System Size: Evidence from New and Established European Democracies,” European Political Science Review, 12 (2020): 35-48.
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] Ann-Kristin Kölln, “Does Party Finance Regulation Create a Level Playing Field?,” '''Election Law Journal: Rules, Politics, and Policy''', 15(1) (2016): 71-82.
[[#_ftnref10|[10]]] Ann-Kristin Kölln, “Does Party Finance Regulation Create a Level Playing Field?,” Election Law Journal: Rules, Politics, and Policy, 15(1) (2016): 71-82.
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] M. V. Rajeev Gowda and E. Sridharan, "Reforming India’s Party Financing and Election Expenditure Laws," '''Electoral Law Journal''', 11(2) (2012): 226-240.
[[#_ftnref11|[11]]] M. V. Rajeev Gowda and E. Sridharan, "Reforming India’s Party Financing and Election Expenditure Laws," Electoral Law Journal, 11(2) (2012): 226-240.
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] โปรดดูรายละเอียดใน Ruth McVey, (ed.), '''Money and Power in Provincial Thailand''' (Copenhagen: Nordic Institute of Asian Studies, 2000).
[[#_ftnref12|[12]]] โปรดดูรายละเอียดใน Ruth McVey, (ed.), Money and Power in Provincial Thailand (Copenhagen: Nordic Institute of Asian Studies, 2000).
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541," '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 115, ตอนที่ 35ก, 9 มิถุนายน 2541.
[[#_ftnref13|[13]]] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 115, ตอนที่ 35ก, 9 มิถุนายน 2541.
</div> <div id="ftn14">
</div> <div id="ftn14">
[[#_ftnref14|[14]]] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร," '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 117, ตอนที่ 111ก, 29 พฤศจิกายน 2543.
[[#_ftnref14|[14]]] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117, ตอนที่ 111ก, 29 พฤศจิกายน 2543.
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ฉบับที่ 3)," '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 117, ตอนที่ 84ก, 11 กันยายน 2543.
[[#_ftnref15|[15]]] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ฉบับที่ 3)," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117, ตอนที่ 84ก, 11 กันยายน 2543.
</div> <div id="ftn16">
</div> <div id="ftn16">
[[#_ftnref16|[16]]] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550," '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 124, ตอนที่ 64ก, 7 ตุลาคม 2550.
[[#_ftnref16|[16]]] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124, ตอนที่ 64ก, 7 ตุลาคม 2550.
</div> <div id="ftn17">
</div> <div id="ftn17">
[[#_ftnref17|[17]]] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560," '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 134, ตอนที่ 105ก, 7 ตุลาคม 2560.
[[#_ftnref17|[17]]] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134, ตอนที่ 105ก, 7 ตุลาคม 2560.
</div> <div id="ftn18">
</div> <div id="ftn18">
[[#_ftnref18|[18]]] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561," '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่ม 136, ตอนที่ 6ก, 11 มกราคม 2561.
[[#_ftnref18|[18]]] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 136, ตอนที่ 6ก, 11 มกราคม 2561.
</div> <div id="ftn19">
</div> <div id="ftn19">
[[#_ftnref19|[19]]] "กฎเหล็กพรรคการเมือง “คนนอก” ครอบงำ มีโทษ “ยุบพรรค”," '''PPTV '''(15 พฤศจิกายน 2561), เข้าถึงจาก <[https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223 https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223]>. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564.
[[#_ftnref19|[19]]] "กฎเหล็กพรรคการเมือง “คนนอก” ครอบงำ มีโทษ “ยุบพรรค”," PPTV (15 พฤศจิกายน 2561), เข้าถึงจาก <[https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223 https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223]>. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564.
</div> </div>  
</div> </div>  
&nbsp;[[Category:การเลือกตั้ง]][[Category:กองทุนเพื่อพัฒนาพรรคการเมือง]][[Category:การบริหารพรรคการเมือง]][[Category:พรรคการเมือง]]
&nbsp;
 
[[Category:การเลือกตั้ง]] [[Category:กองทุนเพื่อพัฒนาพรรคการเมือง]] [[Category:การบริหารพรรคการเมือง]] [[Category:พรรคการเมือง]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:27, 14 มีนาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต  

บทนำ

          การเงินของพรรคการเมือง (party finance) หมายถึงกระแสเงินที่ไหลเข้าและออกจากพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคซึ่งถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง เช่น การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งการบริหารจัดการองค์กรพรรค การดำเนินกิจการของพรรค รวมถึงการวิจัยและพัฒนาของพรรคการเมืองในการเมืองอเมริกัน คำว่า “การเงินในการรณรงค์เลือกตั้ง'”'(campaign finance or campaign funding) ถูกใช้ในความหมายใกล้เคียงกับการเงินของพรรคการเมือง เนื่องจากผู้สมัครรับเลือกตั้งมีบทบาทโดดเด่นมากกว่าพรรคการเมือง ดังนั้น เงินส่วนใหญ่จึงกระจุกตัวอยู่ที่การสนับสนุนผู้สมัครเป็นรายบุคคลมากกว่าองค์กรพรรคการเมือง ซึ่งแตกต่างจากระบบพรรคการเมืองในยุโรปตะวันตกที่มีความเป็นสถาบันสูงจึงนิยมเรียกกระแสเงินในกิจกรรมทางการเมืองของพรรคว่า “การเงินของพรรคการเมือง” อย่างไรก็ตาม คำที่ครอบคลุมความหมายทั้งสองด้านก็คือ การเงินทางการเมือง” (political finance) ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งในบริบทการเมืองอเมริกันและการเมืองยุโรป ทั้งนี้การเงินของพรรคการเมืองเป็นประเด็นสำคัญของการปฏิรูปพรรคการเมืองช่วงปลายทศวรรษ 1990 ถึงต้นทศวรรษ 2000 เนื่องจากต้องการที่จะจัดการเส้นทางรายได้ของพรรคและการใช้จ่ายของพรรคการเมืองเพื่อให้เกิดความโปร่งใส ขจัดปัญหาการคอร์รัปชั่น และสร้างความเป็นธรรมในสนามเลือกตั้งด้วย

กรอบแนวคิด "การเงินของพรรคการเมือง"

         แม้เงินการเมือง (political money) จะเป็นทรัพยากรสำคัญของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ทว่าการเงินของพรรคการเมืองถือว่าเป็นพัฒนาการที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้[1] สาเหตุสำคัญก็คือ พรรคการเมืองและผู้สมัครของพรรคมักแสวงหาหนทางหลบเลี่ยงที่จะถูกตรวจสอบแหล่งที่มาของรายได้และวิธีการใช้จ่ายเงินเหล่านั้น จึงทำให้การจัดการให้การเงินของพรรคอยู่ในระบบนั้นประสบกับความยากลำบาก อย่างไรก็ตามเพื่อที่จะให้เกิดความชัดเจนในการศึกษาและจัดวางแนวทางให้กับเงินของพรรคการเมือง  International IDEA ได้ให้ความหมายไว้ว่า “การเงินของพรรคการเมือง” คือ “การเงิน (ทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย) ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของพรรคการเมืองที่ดำเนินอยู่และการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง (โดยเฉพาะการรณรงค์หาเสียงโดยผู้สมัครและพรรคการเมือง รวมถึงโดยกลุ่มบุคคลที่สามด้วย)”[2] ทั้งนี้ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก ต่างก็ยึดถือและบังคับใช้กฎข้อบังคับเกี่ยวกับการเงินพรรคการเมืองมากน้อยต่างกัน จากฐานข้อมูลการสำรวจ 180 ประเทศ พบว่าประเทศส่วนใหญ่ในแถบยุโรปตะวันออก / ยุโรปกลาง / ยุโรปใต้ (ร้อยละ 72) มีการบังคับใช้กฎกติกาเกี่ยวกับการเงินของพรรคที่เข้มงวดที่สุด ขณะที่ประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย (ร้อยละ 55) มักมีข้อบังคับการเงินของพรรคที่ค่อนข้างเบาบาง ขณะที่ประเทศในแถบแอฟริกา (ร้อยละ 55) มีการจัดการการการเงินของพรรคด้วยนโยบายสายกลาง[3]

          โดยทั่วไปแล้ว การจัดระบบให้กับการเงินของพรรคการเมืองนั้นรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “ระบอบการเงินทางการเมือง” (political finance regime) ซึ่งเป็นกรอบโครงทางกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายต่าง ๆ ที่กำหนดบทบาทของเงินในการเมือง อาจเป็นทั้งกฎกติกาที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ[4] โดยประกอบไปด้วย 4 มาตรการหลัก เรียงจากความเข้มข้นน้อยไปหาความเข้มข้นมาก ได้แก่

          1) การเปิดเผยบัญชีการเงินของพรรค

          2) การจำกัดเพดานเงินบริจาค

          3) การจำกัดเพดานค่าใช้จ่ายและ

          4) การสนับสนุนภาครัฐ[5]

          นอกจากสี่มาตรการข้างต้นแล้ว องค์กรอิสระยังต้องมีบทบาทสำคัญในการบังคับใช้กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ให้เกิดสัมฤทธิ์ผลและการจัดการการเงินของพรรคการเมืองจะเกิดผลได้อย่างแท้จริงหรือไม่นั้นก็ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบติดตามอย่างใกล้ชิดรวมถึงมีอำนาจในการให้รางวัลและการลงโทษตัวแสดงทางการเมืองที่ละเมิดกฎระเบียบอีกด้วย[6] (30)

          ทั้งนี้ ความเข้มข้นของระบอบการเงินพรรคการเมืองจะขึ้นอยู่กับว่าระบบการเมืองนั้น ๆ อาศัยมาตรการใด หากระบบการเมืองใดมีแต่เพียงการเปิดเผยบัญชีการเงินของพรรคเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสก็จะถือว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคแนวเสรีนิยม และหากระบบการเมืองใดเพิ่มการจำกัดเพดานเงินบริจาคและการใช้จ่ายไปด้วยก็จะถือว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคสายกลาง แต่หากระบบการเมืองมีครบทั้งสี่มาตรการ คือ การเปิดเผยบัญชีของของพรรค การจำกัดเพดานเงินบริจาคและเพดานรายจ่ายและมาตรการสนับสนุนภาครัฐ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารัฐเข้าไปแทรกแซงกิจการของพรรคการเมืองแทบทุกมิติ จึงถือได้ว่าเป็นระบอบการเงินของพรรคที่เน้นความเสมอภาค[7] อย่างไรก็ตามแม้แนวคิดเรื่องระบอบการเงินของพรรคจะถูกพัฒนาขึ้น แต่ในทางปฏิบัตินั้นกลับไม่ได้มีสูตรสำเร็จตายตัวเพื่อที่จะจัดการกับปัญหาการเงินของพรรคการเมือง ซึ่งเป็นต้นทางของปัญหาการทุจริตเลือกตั้ง อิทธิพลของกลุ่มทุนต่อพรรคการเมืองและความไม่เป็นธรรมในการแข่งขันเลือกตั้ง

ความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเงินของพรรคกับระบบพรรคการเมือง

          ในประเทศประชาธิปไตยที่อาศัยวิธีการเลือกตั้งเป็นกลไกลในการคัดสรรผู้นำทางการเมืองและการเปลี่ยนถ่ายอำนาจ มักเผชิญกับปัญหาที่พรรครัฐบาลชนะเลือกตั้งอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นระบบ พรรคการเมืองแบบครอบงำ (dominant party system) หนึ่งในสาเหตุที่พรรครัฐบาลเหล่านั้นได้เปรียบเหนือพรรคการเมืองอื่น ๆ ก็เนื่องมาจากความได้เปรียบในเชิงทรัพยากรทางการเงิน หนึ่งในวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว ก็คือการปฏิรูปการเงินของพรรคการเมือง ซึ่งนอกจากจะมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความโปร่งใส ลดการทุจริตการเลือกตั้ง และลดอิทธิพลของกลุ่มทุนทางการเมืองแล้ว ยังต้องการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้กับพรรคการเมืองขนาดเล็กและพรรคการเมืองหน้าใหม่ให้เข้าไปแข่งขันในสนามเลือกตั้งได้อย่างเป็นธรรมมากขึ้น[8] โดยมาตรการที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวางในหมู่นักปฏิรูปก็คือ การสนับสนุนพรรคการเมืองจากรัฐ (state subvention) ทั้งในรูปแบบการให้เงินสนับสนุนโดยตรง หรือในการดำเนินกิจการของพรรคการเมือง การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง และในรูปแบบการสนับสนุนทางอ้อมอย่างการเพิ่มช่องทางเข้าถึงการสื่อสารของรัฐ การงดเว้นภาษี และค่าดำเนินการต่าง ๆ เป็นต้น

          ในประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ยังคงอ่อนแอนั้น การให้เงินสนับสนุนจากรัฐจะช่วยเพิ่มโอกาสให้พรรคการเมืองเกิดใหม่และพรรคขนาดเล็กสามารถพัฒนาได้ และแข่งขันกับพรรคขนาดกลางและขนาดใหญ่ในระบบได้อย่างเป็นธรรมมากขึ้น เนื่องจากเงินสนับสนุนภาครัฐจะช่วยลดช่องว่างระหว่างพรรคขนาดใหญ่ที่ร่ำรวยและพรรคขนาดเล็กที่ประสบความยากลำบากในการแสวงหาเงินบริจาค ทั้งยังให้ผลทางอ้อมในการปรับระนาบของสนามเลือกตั้ง (leveling playing field) ให้เกิดความเป็นธรรมในการแข่งขันมากขึ้น ในหลายประเทศนั้นการนำเสนอมาตรการเหล่านี้ได้นำไปสู่การเปลี่ยนผ่านจากระบบพรรคการเมืองแบบครอบงำไปสู่ระบบหลายพรรคการเมือง (multi-party system) ได้[9]

          อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการเงินของพรรคการเมืองที่เข้มข้นกับระบบพรรคการเมืองกลับให้ผลไม่ชัดเจนนักเมื่อพิจารณาในบริบทของประเทศประชาธิปไตยตั้งมั่น (consolidated democracies) กล่าวคือ มีเพียงบางประเทศเท่านั้นที่เมื่อใช้ระบบการเงินของพรรคการเมืองที่เน้นความเป็นธรรมแล้วจะนำไปสู่ระบบการเมืองแบบที่มีการแข่งขันมากขึ้น (เช่น เดนมาร์กและเนเธอร์แลนด์) ขณะที่อีกหลายประเทศ กฎหมายการเงินของพรรคการเมืองกลับไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงระบบพรรคการเมืองแต่อย่างใด[10] ยิ่งไปกว่านั้น การบังคับใช้ระบอบการเงินของพรรคการเมืองที่เข้มงวดและกำหนดอัตราโทษสูงกลับยิ่งเพิ่มความสลับซับซ้อนให้กับปัญหาการทุจริตทางการเมือง เช่น ในอินเดียที่ผู้นำทางการเมืองหันไปใช้เงินนอกระบบ (black money) มาดำเนินการทางการเมือง ซึ่งนอกจากจะยากแก่การตรวจสอบและลงโทษแล้ว ยังเปิดโอกาสให้ผู้นำที่ผูกขาดแหล่งเงินทุนสามารถครอบงำการเมืองได้[11]

การเงินของพรรคการเมืองในประเทศไทย

          ก่อนการปฏิรูปการเมือง พ.ศ. 2540 พรรคการเมืองและนักการเมืองถูกมองด้วยทัศนะเชิงลบอันมีสาเหตุมาจากความสัมพันธ์ระหว่างเงินตราที่มีบทบาทและอิทธิพลในการเมืองแบบเลือกตั้งหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ธนกิจการเมือง” (money politics)[12] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จึงเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดขอบเขตของการจัดการการเงินของพรรคการเมืองไว้อย่างครอบคลุม โดยในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541[13] ได้กำหนดทั้งมาตรการการเปิดเผยบัญชี รายรับ-รายจ่าย ของพรรคการเมือง (ม.38) การเปิดเผยบัญชีทรัพย์สินของผู้บริหารพรรค (ม.42) การกำหนดเพดานรายจ่ายในการเลือกตั้งไว้ที่ 1,000,000 บาทต่อคนในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต และหากพรรคส่งบัญชีรายชื่อครบก็จะใช้จ่ายได้ไม่เกิน 100,000,000 บาท ต่อพรรค[14] และการก่อตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ม.56) โดยคำนวณการจัดสรรเงินสนับสนุนจากจำนวนเสียงเลือกตั้ง จำนวนที่นั่งในสภา จำนวนสมาชิกพรรค และจำนวนสาขาพรรค ในสัดส่วน 35 : 30 : 20 : 15[15] ต่อมาภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง[16] ได้เพิ่มมาตรการกำหนดเพดานเงินรายรับของพรรคการเมือง ซึ่งระบุว่าผู้ใดบริจาคเงินแก่พรรคการเมืองเกิน 1,000 บาท จะต้องเปิดเผยชื่อ หากเกิน 5,000 บาทต้องกระทำอย่างเปิดเผย หากเกิน 20,000 ต้องทำเป็นตั๋วแลกเงินหรือเช็คแต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 1,000,0000 บาท (ม. 56,57,59) และปรับเปลี่ยนสัดส่วนเงินจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองเป็น 40 : 40 : 10 : 10 (ม.75) เมื่อเกิดการรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 จึงส่งผลให้รัฐธรรมนูญ 2550 สิ้นสุดลง

          ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560[17] ได้กำหนดมาตรการจัดการการเงินของพรรคการเมืองที่เคร่งครัดมากขึ้นเพื่อขจัดอิทธิพลของกลุ่มทุนการเมืองและการทุจริตในรูปแบบต่าง ๆ ในส่วนของเงินรายได้นั้น ได้ห้ามไม่บุคคลบริจาคเงินแก่พรรคการเมืองเกิน 10,000,000 บาท ต่อปี (ม.66) ขณะที่เพดานรายจ่ายในการเลือกตั้งถูกกำหนดไว้ที่ 1,500,000 บาท ต่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน ในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต และในส่วนของพรรคการเมืองไม่เกิน 35,000,000 บาท ต่อพรรค[18] การปรับเปลี่ยนที่สำคัญเกิดขึ้นกับการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาพรรคการเมือง โดยระบุให้มีสัดส่วนการจัดสรรมาจากจำนวนเงินค่าบำรุงพรรคที่พรรคนั้นได้รับในปีก่อนหน้า (ร้อยละ 40) จำนวนคะแนนเสียง (ร้อยละ 40) และจำนวนสาขาพรรค (ร้อยละ 20) (ม.83) นอกจากนั้นยังห้ามมิให้มีการสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ต่างตอบแทนกับคะแนนเสียงเลือกตั้งระหว่างพรรคการเมืองกับประชาชน (ม.30-31) และห้ามบุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นสมาชิกพรรคครอบงำหรือชี้นำพรรคการเมือง หากฝ่าฝืนมีโทษถึงขั้นยุบพรรคและตัดสิทธิทางการเมืองผู้บริหารพรรคสูงสุดถึง 10 ปี (ม.28-29, 92-95)ซึ่งมาตรการหลังสุดนี้หลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่าเพื่อป้องกันการครอบงำของกลุ่มทุนและผู้มีอิทธิพลทางการเมือง[19]

บรรณานุกรม

Gowda, M. V. Rajeev and E. Sridharan. (2012). "Reforming India’s Party Financing and Election Expenditure Laws." Electoral Law Journal. 11(2): 226-240.

International IDEA. (2014). Funding of Political Parties and Election Campaigns: A Handbook on Political Finance. Stockholm: International IDEA.

Kölln, Ann-Kristin. (2016). “Does Party Finance Regulation Create a Level Playing Field?.” Election Law Journal: Rules, Politics, and Policy. 15(1): 71-82.

Lee-Jones, Krista. (2019). "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems." Available <https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf>. Accessed 10 September 2021.

McVey, Ruth (ed.). Money and Power in Provincial Thailand. Copenhagen: Nordic Institute of Asian Studies.

Norris, Pippa and Andrea Abel van Es. (2016). "Introduction: Understanding Political Finance Reform." in Pippa Norris and Andrea Abel van Es (ed.). Checkbook Elections?: Political Finance in Comparative Perspective, pp. 1-24. Oxford: Oxford University Press.

Potter, Joshua and Magitm Tavits. (2015). “The Impact of Campaign Finance Laws on Party Competition.” British Journal of Political Science. 45(1): 73-95.

Rashkova, Ekaterina R. and Yen-Pin Su. (2020). “Political Finance Regimes and Party System Size: Evidence from New and Established European Democracies.” European Political Science Review. 12: 35-48.

“กฎเหล็กพรรคการเมือง “คนนอก” ครอบงำ มีโทษ “ยุบพรรค”." PPTV (15 พฤศจิกายน 2561). เข้าถึงจาก <https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223>. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564.

“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ฉบับที่ 3)." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 117. ตอนที่ 84ก. 11 กันยายน 2543.

“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 117. ตอนที่ 111ก. 29 พฤศจิกายน 2543.

“ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136. ตอนที่ 6ก. 11 มกราคม 2561.

“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 115. ตอนที่ 35ก. 9 มิถุนายน 2541.

“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124. ตอนที่ 64ก. 7 ตุลาคม 2550.

“พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560." ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134. ตอนที่ 105ก. 7 ตุลาคม 2560.

อ้างอิง

[1] Krista Lee-Jones, "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems," Available <https://www.u4.no/publications/the-role-of-political-party-finance-reform-in-the-transition-from-dominant-to-competitive-party-systems.pdf>. Accessed 10 September 2021.

[2] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, A Handbook on Political Finance (Stockholm: International IDEA, 2014), p. 2.

[3] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, p. 3.

[4] Pippa Norris and Andrea Abel van Es, "Introduction: Understanding Political Finance Reform," in Pippa Norris and Andrea Abel van Es (ed.). Checkbook Elections?: Political Finance in Comparative Perspective (Oxford: Oxford University Press, 2016), p. 14.

[5] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, pp. 21-29.

[6] International IDEA, Funding of Political Parties and Election Campaigns, p. 30.

[7] Pippa Norris and Andrea Abel van Es, "Introduction: Understanding Political Finance Reform," p. 15.

[8] Krista Lee-Jones, "The role of political party finance reform in the transition from dominant to competitive party systems,"

[9] Joshua Potter and Magitm Tavits, “The Impact of Campaign Finance Laws on Party Competition,” British Journal of Political Science, 45(1) (2015): 73-95.; Ekaterina R. Rashkova and Yen-Pin Su, “Political Finance Regimes and Party System Size: Evidence from New and Established European Democracies,” European Political Science Review, 12 (2020): 35-48.

[10] Ann-Kristin Kölln, “Does Party Finance Regulation Create a Level Playing Field?,” Election Law Journal: Rules, Politics, and Policy, 15(1) (2016): 71-82.

[11] M. V. Rajeev Gowda and E. Sridharan, "Reforming India’s Party Financing and Election Expenditure Laws," Electoral Law Journal, 11(2) (2012): 226-240.

[12] โปรดดูรายละเอียดใน Ruth McVey, (ed.), Money and Power in Provincial Thailand (Copenhagen: Nordic Institute of Asian Studies, 2000).

[13] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 115, ตอนที่ 35ก, 9 มิถุนายน 2541.

[14] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117, ตอนที่ 111ก, 29 พฤศจิกายน 2543.

[15] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง (ฉบับที่ 3)," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117, ตอนที่ 84ก, 11 กันยายน 2543.

[16] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124, ตอนที่ 64ก, 7 ตุลาคม 2550.

[17] "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134, ตอนที่ 105ก, 7 ตุลาคม 2560.

[18] "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดจำนวนเงินค่าใช้จ่ายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 136, ตอนที่ 6ก, 11 มกราคม 2561.

[19] "กฎเหล็กพรรคการเมือง “คนนอก” ครอบงำ มีโทษ “ยุบพรรค”," PPTV (15 พฤศจิกายน 2561), เข้าถึงจาก <https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/93223>. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564.