ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' : สุภัทร คำมุงคุณ '''ผู้ทรงคุณวุฒิ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:
----
----


พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นบุคคลสำคัญที่มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณความดีต่อประเทศชาติ เข้ารับราชการและดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศในคณะรัฐบาลชุดแรกของการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง  องคมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ปลัดบัญชาการ สำนักนายกรัฐมนตรี  และมีคุณูปการทางด้านการศึกษา โดยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภามหาวิทยาลัยต่างๆ  อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตลอดช่วงระยะเวลาที่รับราชการ ท่านได้อุทิศเวลาในการปฏิบัติราชการให้ลุล่วงเป็นไปด้วยความเรียบร้อยเป็นผลดีต่อทางราชการ
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นบุคคลสำคัญที่มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณความดีต่อประเทศชาติ เข้ารับราชการและดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศใน[[คณะรัฐบาลชุดแรกของการปกครองระบอบประชาธิปไตย]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]] [[องคมนตรี]] [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[สมาชิกวุฒิสภา]] [[ปลัดบัญชาการ]] [[สำนักนายกรัฐมนตรี]] และมีคุณูปการทางด้านการศึกษา โดยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภามหาวิทยาลัยต่างๆ  อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตลอดช่วงระยะเวลาที่รับราชการ ท่านได้อุทิศเวลาในการปฏิบัติราชการให้ลุล่วงเป็นไปด้วยความเรียบร้อยเป็นผลดีต่อทางราชการ


==ประวัติ==
==ประวัติ==
   
   
ครอบครัว  
''' ครอบครัว'''<ref>เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (1). </ref>
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) เป็นบุตรคนที่ 7 ของนายอุ่นตุ้ย และ นางทองคำ ฮุนตระกูล เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจริญวัยขึ้นในบ้านของคุณตาคุณยาย คือ นายปิน และนางหุ่น จันตระกูล ผู้เป็นเจ้าของตลาดน้อย ต่อมาได้กลับไปอยู่กับบิดามารดา ณ ตึกซุยโห เชิงสะพาน
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) เป็นบุตรคนที่ 7 ของนายอุ่นตุ้ย และ นางทองคำ ฮุนตระกูล เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจริญวัยขึ้นในบ้านของคุณตาคุณยาย คือ นายปิน และนางหุ่น จันตระกูล ผู้เป็นเจ้าของตลาดน้อย ต่อมาได้กลับไปอยู่กับบิดามารดา ณ ตึกซุยโห เชิงสะพาน
พิทยเสถียร เมื่ออายุได้ 7 ปี บิดาก็ถึงแก่กรรมลง มารดาและพี่ชายใหญ่ 2 คนจึงได้รับหน้าที่ปกครองและดูแลเป็นอย่างดี  
พิทยเสถียร เมื่ออายุได้ 7 ปี บิดาก็ถึงแก่กรรมลง มารดาและพี่ชายใหญ่ 2 คนจึงได้รับหน้าที่ปกครองและดูแลเป็นอย่างดี  
การศึกษา  
'''การศึกษา'''1 <ref>เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา
ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (2)-(3). </ref>
 
เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2447-2454 จนกระทั่งเรียนจบชั้น 6 เมื่ออายุได้ 15 ปี จึงได้ไปศึกษาต่อในประเทศอังกฤษโดยทุนส่วนตัวที่โรงเรียนอินเตอร์เนชัลแนล คอลเลช (The International College) เป็นเวลา 1 ปี หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนดัลลิช (Dulwich College)  ในปีสุดท้ายของการศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้ โรงเรียนได้จารึกชื่อ T.L. Hoon ไว้ในหอประชุม ทั้งนี้ เพื่อเป็นเกียรติในฐานะที่เป็นนักเรียนสอบได้ที่ 1 ตลอดระยะเวลาที่ทำการศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2459 ได้รับทุนของวิทยาลัยลินคอล์น (Lincoln College, Oxford University) เป็นเวลา 4 ปี และสอบได้ปริญญา B.A. ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด โดยได้เกียรตินิยมอันดับ 1 (School of Jurisprudence) เมื่อปี พ.ศ. 2462 ต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 ในการสอบเพื่อรับปริญญา B.C.L. ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด และในปลายปีนั้นเอง ท่านได้สอบผ่านภาคสุดท้ายของการสอบเนติบัณฑิต โดยได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 (English Barrister at Law, Middle Temple) ทั้งนี้ โดยมีเวลาเตรียมสอบเพียงหนึ่งเดือนเท่านั้น  ในปี พ.ศ. 2463-2464 ท่านได้ฝึกงานด้านกฎหมายกับ เซอร์ ฮิว เฟรเซอร์ (Sir Hugh Fraser) ในกรุงลอนดอน และปี พ.ศ 2466 ได้กลับไปรับปริญญา B.C.L. และรับปริญญา M.A. จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เนื่องจากตามกฎของมหาวิทยาลัย ผู้ที่สอบได้ปริญญานี้จะได้รับปริญญาก็ต่อเมื่อได้มีชื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยแล้วเป็นเวลา 7 ปี
เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2447-2454 จนกระทั่งเรียนจบชั้น 6 เมื่ออายุได้ 15 ปี จึงได้ไปศึกษาต่อในประเทศอังกฤษโดยทุนส่วนตัวที่โรงเรียนอินเตอร์เนชัลแนล คอลเลช (The International College) เป็นเวลา 1 ปี หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนดัลลิช (Dulwich College)  ในปีสุดท้ายของการศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้ โรงเรียนได้จารึกชื่อ T.L. Hoon ไว้ในหอประชุม ทั้งนี้ เพื่อเป็นเกียรติในฐานะที่เป็นนักเรียนสอบได้ที่ 1 ตลอดระยะเวลาที่ทำการศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2459 ได้รับทุนของวิทยาลัยลินคอล์น (Lincoln College, Oxford University) เป็นเวลา 4 ปี และสอบได้ปริญญา B.A. ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด โดยได้เกียรตินิยมอันดับ 1 (School of Jurisprudence) เมื่อปี พ.ศ. 2462 ต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 ในการสอบเพื่อรับปริญญา B.C.L. ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด และในปลายปีนั้นเอง ท่านได้สอบผ่านภาคสุดท้ายของการสอบเนติบัณฑิต โดยได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 (English Barrister at Law, Middle Temple) ทั้งนี้ โดยมีเวลาเตรียมสอบเพียงหนึ่งเดือนเท่านั้น  ในปี พ.ศ. 2463-2464 ท่านได้ฝึกงานด้านกฎหมายกับ เซอร์ ฮิว เฟรเซอร์ (Sir Hugh Fraser) ในกรุงลอนดอน และปี พ.ศ 2466 ได้กลับไปรับปริญญา B.C.L. และรับปริญญา M.A. จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เนื่องจากตามกฎของมหาวิทยาลัย ผู้ที่สอบได้ปริญญานี้จะได้รับปริญญาก็ต่อเมื่อได้มีชื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยแล้วเป็นเวลา 7 ปี
ชีวิตสมรส  
 
'''ชีวิตสมรส'''<ref>เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา
ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (17)-(19). </ref>
 
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ได้สมรสกับคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา (นามเดิม นางสาวมากาเรต ลิน ซาเวียร์ ) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2465 ณ ตำหนักเชิงสะพานเทเวศร์ จังหวัดพระนคร โดยคุณหญิงลิน  
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ได้สมรสกับคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา (นามเดิม นางสาวมากาเรต ลิน ซาเวียร์ ) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2465 ณ ตำหนักเชิงสะพานเทเวศร์ จังหวัดพระนคร โดยคุณหญิงลิน  
ศรีวิสารวาจา เป็นธิดาของพระยาพิพัฒนโกษา และเป็นแพทย์หญิงคนแรกที่ได้ปริญญาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยลอนดอนที่ได้มาประกอบกิจการแพทย์ในประเทศไทย  ภายหลังคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา ได้ป่วยหนักด้วยโรคสมองอักเสบ และมีไข้หวัดใหญ่เข้าแทรก และถึงแก่อนิจกรรมในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีบุตรธิดา 3 คน คือ 1) นายกิตติรัต ศรีวิสารวาจา 2) ท่านคุณหญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล  3) ท่านคุณหญิงสาวิตรี ศรีวิสารวาจา
ศรีวิสารวาจา เป็นธิดาของพระยาพิพัฒนโกษา และเป็นแพทย์หญิงคนแรกที่ได้ปริญญาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยลอนดอนที่ได้มาประกอบกิจการแพทย์ในประเทศไทย  ภายหลังคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา ได้ป่วยหนักด้วยโรคสมองอักเสบ และมีไข้หวัดใหญ่เข้าแทรก และถึงแก่อนิจกรรมในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีบุตรธิดา 3 คน คือ 1) นายกิตติรัต ศรีวิสารวาจา 2) ท่านคุณหญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล  3) ท่านคุณหญิงสาวิตรี ศรีวิสารวาจา
บรรทัดที่ 20: บรรทัดที่ 28:
==การรับราชการ==
==การรับราชการ==
   
   
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เริ่มเข้ารับราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2464  ดำรงตำแหน่งเลขานุการตรี สถานอัครราชทูตไทย กรุงปารีส และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงศรีวิสารวาจาในปี พ.ศ. 2467 เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศในปี พ.ศ. 2471 ได้รับพระราชทานเลื่อนยศและบรรดาศักดิ์จากหลวงศรีวิสารวาจาเป็นมหาอำมาตย์ตรีพระยาศรีวิสารวาจา  
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เริ่มเข้ารับราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2464  ดำรงตำแหน่งเลขานุการตรี สถานอัครราชทูตไทย กรุงปารีส และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงศรีวิสารวาจาในปี พ.ศ. 2467 เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่ง[[ปลัดทูลฉลอง]]กระทรวงการต่างประเทศในปี พ.ศ. 2471 ได้รับพระราชทานเลื่อนยศและบรรดาศักดิ์จากหลวงศรีวิสารวาจาเป็นมหาอำมาตย์ตรีพระยาศรีวิสารวาจา  
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475  ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในคณะรัฐบาลชุดแรกของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาได้ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2476 และได้มาประกอบอาชีพทนายความ   
 
ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในปี พ.ศ. 2490 ในสมัยนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี และนอกจากนั้นท่านได้รับตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (สมัยฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ สมัยฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี) และในปี พ.ศ. 2489 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี  ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ท่านภาคภูมิใจเป็นอันมาก ส่วนในด้านการศึกษาท่านดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ได้แก่ กรรมการบริหารสภาการศึกษาแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภามหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์(มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) และดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภายหลัง[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475]] ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในคณะรัฐบาลชุดแรกของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยมี[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]]เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ต่อมาได้ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2476 และได้มาประกอบอาชีพทนายความ<ref>พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา, กฎหมายว่าด้วยสัญญา (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศล ในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา), 2511. (พระนคร: โรงพิมพ์ของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย), (1)-(2). </ref>  
 
ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในปี พ.ศ. 2490 ในสมัย[[นายควง อภัยวงศ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี และนอกจากนั้นท่านได้รับตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา [[สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ]] ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี [[ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี]] (สมัยฯพณฯ [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ สมัยฯพณฯ [[ถนอม กิตติขจร|จอมพล ถนอม กิตติขจร]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี) และในปี พ.ศ. 2489 ได้มี[[พระบรมราชโองการ]]โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี  ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ท่านภาคภูมิใจเป็นอันมาก ส่วนในด้านการศึกษาท่านดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ได้แก่ กรรมการบริหารสภาการศึกษาแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภามหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] [[จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์]](มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) และดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่<ref>เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา
ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (4)-(11). </ref>
 


==บทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2474==
==บทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2474==
   
   
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในรัชกาลพระองค์ ทรงพระราชอุตสาหะให้มีการพัฒนาการเมืองอย่างมีขั้นตอน และสร้างสถาบันการเมืองขึ้น และให้เตรียมการร่างรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดในระบอบการปกครองประชาธิปไตยไปพร้อมกัน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีวิสารวาจา  ปลัดทูลฉลองกระทรวงต่างประเทศ ผู้สำเร็จเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ และ นายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ (Raymond B.Stevens) ที่ปรึกษากระทรวงต่างประเทศ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท และมีพระบรมราชโองการให้เป็นกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยได้ดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2474  โดยเป็นร่างรัฐธรรมนูญภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า “An Outline of Changes in the Form of Government”  ประกอบด้วย รูปแบบของการบริหารราชการแผ่นดิน อภิรัฐมนตรี อัครเสนาบดีและคณะเสนาบดี สภานิติบัญญัติ อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัติ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจบริหารและนิติบัญญัติ พร้อมกันนี้พระยาศรีวิสารวาจา และนาย
[[ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงมีปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบ[[ประชาธิปไตย]]ในรัชกาลพระองค์ ทรงพระราชอุตสาหะให้มีการพัฒนาการเมืองอย่างมีขั้นตอน และสร้าง[[สถาบันการเมือง]]ขึ้น และให้เตรียมการร่างรัฐธรรมนูญอันเป็น[[กฎหมายสูงสุดในระบอบการปกครองประชาธิปไตย]]ไปพร้อมกัน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีวิสารวาจา  ปลัดทูลฉลองกระทรวงต่างประเทศ ผู้สำเร็จเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ และ นายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ (Raymond B.Stevens) ที่ปรึกษากระทรวงต่างประเทศ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท และมีพระบรมราชโองการให้เป็นกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยได้ดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2474  โดยเป็นร่างรัฐธรรมนูญภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า “[[An Outline of Changes in the Form of Government]]” <ref>กรมศิลปากร, พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, พิมพ์ครั้งที่ 1, (กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524),162. </ref> ประกอบด้วย รูปแบบของ[[การบริหารราชการแผ่นดิน]] [[อภิรัฐมนตรี]] [[อัครเสนาบดี]]และ[[คณะเสนาบดี]] [[สภานิติบัญญัติ]] อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัติ ความสัมพันธ์ระหว่าง[[อำนาจบริหาร]]และนิติบัญญัติ พร้อมกันนี้พระยาศรีวิสารวาจา และนาย[[เรมอนด์ บี. สตีเวนส์]] ได้ทำบันทึกความเห็นไว้ โดยบันทึกความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจา แสดงเหตุผลว่ายังไม่ถึงเวลาสมควรที่จะมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ เนื่องจากมีเวลาจำกัด และประชาชนต้องมีการศึกษาและมีประสบการณ์ในการปกครองตนเองอย่างเพียงพอก่อน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลังของรัฐบาล รวมทั้งมีข่าวลือเกี่ยวกับการโค่นล้มรัฐบาล สมาชิกของของรัฐบาลควรมีความสามัคคีและไว้วางใจกัน จึงเห็นว่าหากภาวะประเทศเป็นเช่นนี้ จึงยังไม่ควรมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง อาจเป็นสาเหตุให้รัฐบาลยิ่งอ่อนแอลงได้ แต่หากเพื่อเป็นการรองรับ สมาชิกของสภาควรมีการเตรียมพร้อมในการทำงานเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ และศึกษาประสบการณ์จากประเทศเพื่อนบ้านที่ยังไม่มีการจัดตั้งสภา
เรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ได้ทำบันทึกความเห็นไว้ โดยบันทึกความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจา แสดงเหตุผลว่ายังไม่ถึงเวลาสมควรที่จะมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ เนื่องจากมีเวลาจำกัด และประชาชนต้องมีการศึกษาและมีประสบการณ์ในการปกครองตนเองอย่างเพียงพอก่อน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลังของรัฐบาล รวมทั้งมีข่าวลือเกี่ยวกับการโค่นล้มรัฐบาล สมาชิกของของรัฐบาลควรมีความสามัคคีและไว้วางใจกัน จึงเห็นว่าหากภาวะประเทศเป็นเช่นนี้ จึงยังไม่ควรมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง อาจเป็นสาเหตุให้รัฐบาลยิ่งอ่อนแอลงได้ แต่หากเพื่อเป็นการรองรับ สมาชิกของสภาควรมีการเตรียมพร้อมในการทำงานเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ และศึกษาประสบการณ์จากประเทศเพื่อนบ้านที่ยังไม่มีการจัดตั้งสภา
นิติบัญญัติจนกว่าประชาชนจะมีความรู้และประสบการณ์ในด้านการปกครอง<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550), 85. </ref>
นิติบัญญัติจนกว่าประชาชนจะมีความรู้และประสบการณ์ในด้านการปกครอง  
 
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ส่งสำเนาร่างรัฐธรรมนูญ ตลอดจนความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจา  และนายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ให้แก่อภิรัฐมนตรี ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2474 แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้มีการประชุมพิจารณากันอย่างไรหรือไม่ เข้าใจว่าหากมีการประชุมก็คงได้รับการคัดค้าน ฉะนั้นจึงไม่มีการพระราชทานรัฐธรรมนูญในพระราชพิธีฉลองพระนครครบ 150 ปีในเดือน เมษายน พ.ศ. 2475
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ส่งสำเนาร่างรัฐธรรมนูญ ตลอดจนความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจา  และนายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ให้แก่อภิรัฐมนตรี ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2474 แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้มีการประชุมพิจารณากันอย่างไรหรือไม่ เข้าใจว่าหากมีการประชุมก็คงได้รับการคัดค้าน ฉะนั้นจึงไม่มี[[การพระราชทานรัฐธรรมนูญ]]ใน[[พระราชพิธีฉลองพระนครครบ 150 ปี]]ในเดือน เมษายน พ.ศ. 2475
 
==บทบาทการดำเนินงานด้านต่าง ๆ<ref>เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา
ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (12)-(15). </ref>==


==บทบาทการดำเนินงานด้านต่าง ๆ==
   
   
ด้านกฎหมาย
''' ด้านกฎหมาย'''
เป็นผู้บรรยายวิชากฎหมายให้กับหน่วยงานและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ  ได้แก่ บรรยายวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลในโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยเรื่องสัญญาและตั๋วเงินในคณะพาณิชย์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญาในคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  และรับว่าความ โดยจัดตั้งสำนักงานทนายความ
 
เทพศรีหริศ ร่วมกับพระยาเทพวิทุร และพระยาหริศจันทร์สุวิท
เป็นผู้บรรยายวิชากฎหมายให้กับหน่วยงานและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ  ได้แก่ บรรยายวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลในโรงเรียนกฎหมาย[[กระทรวงยุติธรรม]] กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยเรื่องสัญญาและตั๋วเงินในคณะพาณิชย์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญาในคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  และรับว่าความ โดยจัดตั้งสำนักงานทนายความเทพศรีหริศ ร่วมกับพระยาเทพวิทุร และพระยาหริศจันทร์สุวิท
ด้านธนาคาร
 
''' ด้านธนาคาร'''
 
ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้จัดการธนาคารเกษตร จำกัด และประธานกรรมการบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้จัดการธนาคารเกษตร จำกัด และประธานกรรมการบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ด้านการพาณิชย์
 
''' ด้านการพาณิชย์'''
 
เป็นประธานกรรมการบริษัทกรุงสยามประกันชีวิต จำกัด  ประธานกรรมการบริษัท Anglo-French Drugs (Thailand) Co.,Ltd. กรรมการบริษัท The International Engineering  Co.,Ltd.
เป็นประธานกรรมการบริษัทกรุงสยามประกันชีวิต จำกัด  ประธานกรรมการบริษัท Anglo-French Drugs (Thailand) Co.,Ltd. กรรมการบริษัท The International Engineering  Co.,Ltd.
ด้านสภากาชาดและสถาบันการกุศล
 
''' ด้านสภากาชาดและสถาบันการกุศล'''
 
เป็นผู้แทนสภากาชาด ในการประชุมกาชาด ครั้งที่ 11 และครั้งที่  12 ณ กรุงเจนีวา เป็นกรรมการสภากาชาดไทย เลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นสมาชิกคณะกรรมการมูลนิธิ โรงเรียนราชินี และเลขาธิการมูลนิธิอานันทมหิดล
เป็นผู้แทนสภากาชาด ในการประชุมกาชาด ครั้งที่ 11 และครั้งที่  12 ณ กรุงเจนีวา เป็นกรรมการสภากาชาดไทย เลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นสมาชิกคณะกรรมการมูลนิธิ โรงเรียนราชินี และเลขาธิการมูลนิธิอานันทมหิดล
ด้านงานทางโรตารี่
 
''' ด้านงานทางโรตารี่'''
 
เป็นประธานสโมสรโรตารี่กรุงเทพฯ  ประธานโรตารี่สากลเขต 46 และ เขต 330 สมาชิกคณะกรรมการวางแผนแห่งโรตารี่สากล เป็นที่ปรึกษาสโมสรโรตารี่แห่งเวียดนาม และพม่า ผู้แทนประธาน
เป็นประธานสโมสรโรตารี่กรุงเทพฯ  ประธานโรตารี่สากลเขต 46 และ เขต 330 สมาชิกคณะกรรมการวางแผนแห่งโรตารี่สากล เป็นที่ปรึกษาสโมสรโรตารี่แห่งเวียดนาม และพม่า ผู้แทนประธาน
โรตารี่สากล ในการประชุมโรตารี่สากล 7 เขตที่ออสเตรเลีย เป็นผู้อำนวยการโรตารี่สากล  สมาชิกของคณะกรรมการเลือกตั้งประธานโรตารี่สากล ประจำปี 2504 - 2505 และเป็นรองประธานโรตารี่สากลคนที่ 2 และสมาชิกคณะกรรมการเลือกตั้งประธานโรตารี่สากล ประจำปี 2505 – 2506
โรตารี่สากล ในการประชุมโรตารี่สากล 7 เขตที่ออสเตรเลีย เป็นผู้อำนวยการโรตารี่สากล  สมาชิกของคณะกรรมการเลือกตั้งประธานโรตารี่สากล ประจำปี 2504 - 2505 และเป็นรองประธานโรตารี่สากลคนที่ 2 และสมาชิกคณะกรรมการเลือกตั้งประธานโรตารี่สากล ประจำปี 2505 – 2506
'''ด้านศาสนาและการอนุเคราะห์'''
ด้านศาสนาและการอนุเคราะห์
 
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นผู้ปฏิบัติตนเคร่งครัดในพระพุทธศาสนา และส่งเสริมพระพุทธศาสนาด้วยการทำบุญกุศลและอื่นๆ โดยได้ร่วมจัดการสร้างวัดศรีวิสารวาจา ที่ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม รวมทั้งได้สนับสนุนทุนการศึกษา โดยบริจาคเงินค่าเล่าเรียนให้แก่ลูกหลานที่ยากจนให้ได้เข้าเรียนในโรงเรียนชั้นเตรียมอุดม เพื่อให้มีโอกาสสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นผู้ปฏิบัติตนเคร่งครัดในพระพุทธศาสนา และส่งเสริมพระพุทธศาสนาด้วยการทำบุญกุศลและอื่นๆ โดยได้ร่วมจัดการสร้าง[[วัดศรีวิสารวาจา]] ที่ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม รวมทั้งได้สนับสนุนทุนการศึกษา โดยบริจาคเงินค่าเล่าเรียนให้แก่ลูกหลานที่ยากจนให้ได้เข้าเรียนในโรงเรียนชั้นเตรียมอุดม เพื่อให้มีโอกาสสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ ตลอดระยะเวลาที่ท่านเข้ารับราชการ ได้อุทิศเวลาและปฏิบัติราชการในตำแหน่งสำคัญๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นผลดีแก่ทางราชการ ภายหลังสุขภาพของท่านเสื่อมโทรมลงมาก และได้ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2511 สิริรวมอายุ 71 ปี 1 เดือน  
 
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ ตลอดระยะเวลาที่ท่านเข้ารับราชการ ได้อุทิศเวลาและปฏิบัติราชการในตำแหน่งสำคัญๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นผลดีแก่ทางราชการ ภายหลังสุขภาพของท่านเสื่อมโทรมลงมาก และได้ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2511 สิริรวมอายุ 71 ปี 1 เดือน<ref>เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา
ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (19). </ref>
 
==อ้างอิง==
 
<references/>


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


กรมศิลปากร. พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก  
กรมศิลปากร. พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524.
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524.
 
เทพศรีหริศทนายความ.อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511.
เทพศรีหริศทนายความ.อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511.
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา. กฎหมายว่าด้วยสัญญา. พระนคร: โรงพิมพ์ของสมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศล ในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา), 2511.
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา. กฎหมายว่าด้วยสัญญา. พระนคร: โรงพิมพ์ของสมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศล ในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา), 2511.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.


==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา. ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยา. (คณะรัฐมนตรี พิมพ์เป็น
พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา. ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยา. (คณะรัฐมนตรี พิมพ์เป็นบรรณาการในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม.ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511). ม.ป.ท., ม.ป.พ.
บรรณาการในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม.
ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511). ม.ป.ท., ม.ป.พ.


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==


สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “ประวัติคณะรัฐมนตรี”. http://www.cabinet.thaigov.go.th/
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “ประวัติคณะรัฐมนตรี”. http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2557).
bb_main11.htm (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2557).
 
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. พัฒนาการรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการผลิตสื่อและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย, 2533.
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. พัฒนาการรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการผลิตสื่อและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย, 2533.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. “เอกสารเผยแพร่ประกอบการจัดนิทรรศการ เรื่อง พระปกเกล้าฯกับรัฐธรรมนูญไทย”. http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/361379/MP0549.pdf?
 
sequence=1 (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2557).
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. “เอกสารเผยแพร่ประกอบการจัดนิทรรศการ เรื่อง พระปกเกล้าฯกับรัฐธรรมนูญไทย”. http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/361379/MP0549.pdf?sequence=1 (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2557).


[[หมวดหมู่:บุคคลสำคัญด้านอื่นๆ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลสำคัญด้านอื่นๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:40, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง : สุภัทร คำมุงคุณ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นบุคคลสำคัญที่มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณความดีต่อประเทศชาติ เข้ารับราชการและดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศในคณะรัฐบาลชุดแรกของการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง องคมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ปลัดบัญชาการ สำนักนายกรัฐมนตรี และมีคุณูปการทางด้านการศึกษา โดยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภามหาวิทยาลัยต่างๆ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตลอดช่วงระยะเวลาที่รับราชการ ท่านได้อุทิศเวลาในการปฏิบัติราชการให้ลุล่วงเป็นไปด้วยความเรียบร้อยเป็นผลดีต่อทางราชการ

ประวัติ

ครอบครัว[1]

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) เป็นบุตรคนที่ 7 ของนายอุ่นตุ้ย และ นางทองคำ ฮุนตระกูล เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 เจริญวัยขึ้นในบ้านของคุณตาคุณยาย คือ นายปิน และนางหุ่น จันตระกูล ผู้เป็นเจ้าของตลาดน้อย ต่อมาได้กลับไปอยู่กับบิดามารดา ณ ตึกซุยโห เชิงสะพาน พิทยเสถียร เมื่ออายุได้ 7 ปี บิดาก็ถึงแก่กรรมลง มารดาและพี่ชายใหญ่ 2 คนจึงได้รับหน้าที่ปกครองและดูแลเป็นอย่างดี   การศึกษา1 [2]


เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2447-2454 จนกระทั่งเรียนจบชั้น 6 เมื่ออายุได้ 15 ปี จึงได้ไปศึกษาต่อในประเทศอังกฤษโดยทุนส่วนตัวที่โรงเรียนอินเตอร์เนชัลแนล คอลเลช (The International College) เป็นเวลา 1 ปี หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนดัลลิช (Dulwich College) ในปีสุดท้ายของการศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้ โรงเรียนได้จารึกชื่อ T.L. Hoon ไว้ในหอประชุม ทั้งนี้ เพื่อเป็นเกียรติในฐานะที่เป็นนักเรียนสอบได้ที่ 1 ตลอดระยะเวลาที่ทำการศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2459 ได้รับทุนของวิทยาลัยลินคอล์น (Lincoln College, Oxford University) เป็นเวลา 4 ปี และสอบได้ปริญญา B.A. ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด โดยได้เกียรตินิยมอันดับ 1 (School of Jurisprudence) เมื่อปี พ.ศ. 2462 ต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 ในการสอบเพื่อรับปริญญา B.C.L. ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด และในปลายปีนั้นเอง ท่านได้สอบผ่านภาคสุดท้ายของการสอบเนติบัณฑิต โดยได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 (English Barrister at Law, Middle Temple) ทั้งนี้ โดยมีเวลาเตรียมสอบเพียงหนึ่งเดือนเท่านั้น ในปี พ.ศ. 2463-2464 ท่านได้ฝึกงานด้านกฎหมายกับ เซอร์ ฮิว เฟรเซอร์ (Sir Hugh Fraser) ในกรุงลอนดอน และปี พ.ศ 2466 ได้กลับไปรับปริญญา B.C.L. และรับปริญญา M.A. จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เนื่องจากตามกฎของมหาวิทยาลัย ผู้ที่สอบได้ปริญญานี้จะได้รับปริญญาก็ต่อเมื่อได้มีชื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยแล้วเป็นเวลา 7 ปี

ชีวิตสมรส[3]


พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ได้สมรสกับคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา (นามเดิม นางสาวมากาเรต ลิน ซาเวียร์ ) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2465 ณ ตำหนักเชิงสะพานเทเวศร์ จังหวัดพระนคร โดยคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา เป็นธิดาของพระยาพิพัฒนโกษา และเป็นแพทย์หญิงคนแรกที่ได้ปริญญาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยลอนดอนที่ได้มาประกอบกิจการแพทย์ในประเทศไทย ภายหลังคุณหญิงลิน ศรีวิสารวาจา ได้ป่วยหนักด้วยโรคสมองอักเสบ และมีไข้หวัดใหญ่เข้าแทรก และถึงแก่อนิจกรรมในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีบุตรธิดา 3 คน คือ 1) นายกิตติรัต ศรีวิสารวาจา 2) ท่านคุณหญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล 3) ท่านคุณหญิงสาวิตรี ศรีวิสารวาจา

การรับราชการ

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เริ่มเข้ารับราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2464 ดำรงตำแหน่งเลขานุการตรี สถานอัครราชทูตไทย กรุงปารีส และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงศรีวิสารวาจาในปี พ.ศ. 2467 เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศในปี พ.ศ. 2471 ได้รับพระราชทานเลื่อนยศและบรรดาศักดิ์จากหลวงศรีวิสารวาจาเป็นมหาอำมาตย์ตรีพระยาศรีวิสารวาจา

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในคณะรัฐบาลชุดแรกของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาได้ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2476 และได้มาประกอบอาชีพทนายความ[4]

ในปี พ.ศ. 2489 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในปี พ.ศ. 2490 ในสมัยนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี และนอกจากนั้นท่านได้รับตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (สมัยฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ สมัยฯพณฯ จอมพล ถนอม กิตติขจร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี) และในปี พ.ศ. 2489 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ท่านภาคภูมิใจเป็นอันมาก ส่วนในด้านการศึกษาท่านดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ได้แก่ กรรมการบริหารสภาการศึกษาแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภามหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์(มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) และดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่[5]


บทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2474

[[ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงมีปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในรัชกาลพระองค์ ทรงพระราชอุตสาหะให้มีการพัฒนาการเมืองอย่างมีขั้นตอน และสร้างสถาบันการเมืองขึ้น และให้เตรียมการร่างรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดในระบอบการปกครองประชาธิปไตยไปพร้อมกัน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีวิสารวาจา ปลัดทูลฉลองกระทรวงต่างประเทศ ผู้สำเร็จเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ และ นายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ (Raymond B.Stevens) ที่ปรึกษากระทรวงต่างประเทศ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท และมีพระบรมราชโองการให้เป็นกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยได้ดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2474 โดยเป็นร่างรัฐธรรมนูญภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า “An Outline of Changes in the Form of Government[6] ประกอบด้วย รูปแบบของการบริหารราชการแผ่นดิน อภิรัฐมนตรี อัครเสนาบดีและคณะเสนาบดี สภานิติบัญญัติ อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัติ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจบริหารและนิติบัญญัติ พร้อมกันนี้พระยาศรีวิสารวาจา และนายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ได้ทำบันทึกความเห็นไว้ โดยบันทึกความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจา แสดงเหตุผลว่ายังไม่ถึงเวลาสมควรที่จะมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ เนื่องจากมีเวลาจำกัด และประชาชนต้องมีการศึกษาและมีประสบการณ์ในการปกครองตนเองอย่างเพียงพอก่อน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลังของรัฐบาล รวมทั้งมีข่าวลือเกี่ยวกับการโค่นล้มรัฐบาล สมาชิกของของรัฐบาลควรมีความสามัคคีและไว้วางใจกัน จึงเห็นว่าหากภาวะประเทศเป็นเช่นนี้ จึงยังไม่ควรมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง อาจเป็นสาเหตุให้รัฐบาลยิ่งอ่อนแอลงได้ แต่หากเพื่อเป็นการรองรับ สมาชิกของสภาควรมีการเตรียมพร้อมในการทำงานเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ และศึกษาประสบการณ์จากประเทศเพื่อนบ้านที่ยังไม่มีการจัดตั้งสภา นิติบัญญัติจนกว่าประชาชนจะมีความรู้และประสบการณ์ในด้านการปกครอง[7]

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ส่งสำเนาร่างรัฐธรรมนูญ ตลอดจนความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจา และนายเรมอนด์ บี. สตีเวนส์ ให้แก่อภิรัฐมนตรี ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2474 แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้มีการประชุมพิจารณากันอย่างไรหรือไม่ เข้าใจว่าหากมีการประชุมก็คงได้รับการคัดค้าน ฉะนั้นจึงไม่มีการพระราชทานรัฐธรรมนูญในพระราชพิธีฉลองพระนครครบ 150 ปีในเดือน เมษายน พ.ศ. 2475

บทบาทการดำเนินงานด้านต่าง ๆ[8]

ด้านกฎหมาย

เป็นผู้บรรยายวิชากฎหมายให้กับหน่วยงานและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้แก่ บรรยายวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลในโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยเรื่องสัญญาและตั๋วเงินในคณะพาณิชย์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญาในคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และรับว่าความ โดยจัดตั้งสำนักงานทนายความเทพศรีหริศ ร่วมกับพระยาเทพวิทุร และพระยาหริศจันทร์สุวิท

ด้านธนาคาร

ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้จัดการธนาคารเกษตร จำกัด และประธานกรรมการบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ด้านการพาณิชย์

เป็นประธานกรรมการบริษัทกรุงสยามประกันชีวิต จำกัด ประธานกรรมการบริษัท Anglo-French Drugs (Thailand) Co.,Ltd. กรรมการบริษัท The International Engineering Co.,Ltd.

ด้านสภากาชาดและสถาบันการกุศล

เป็นผู้แทนสภากาชาด ในการประชุมกาชาด ครั้งที่ 11 และครั้งที่ 12 ณ กรุงเจนีวา เป็นกรรมการสภากาชาดไทย เลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นสมาชิกคณะกรรมการมูลนิธิ โรงเรียนราชินี และเลขาธิการมูลนิธิอานันทมหิดล

ด้านงานทางโรตารี่

เป็นประธานสโมสรโรตารี่กรุงเทพฯ ประธานโรตารี่สากลเขต 46 และ เขต 330 สมาชิกคณะกรรมการวางแผนแห่งโรตารี่สากล เป็นที่ปรึกษาสโมสรโรตารี่แห่งเวียดนาม และพม่า ผู้แทนประธาน โรตารี่สากล ในการประชุมโรตารี่สากล 7 เขตที่ออสเตรเลีย เป็นผู้อำนวยการโรตารี่สากล สมาชิกของคณะกรรมการเลือกตั้งประธานโรตารี่สากล ประจำปี 2504 - 2505 และเป็นรองประธานโรตารี่สากลคนที่ 2 และสมาชิกคณะกรรมการเลือกตั้งประธานโรตารี่สากล ประจำปี 2505 – 2506

ด้านศาสนาและการอนุเคราะห์

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นผู้ปฏิบัติตนเคร่งครัดในพระพุทธศาสนา และส่งเสริมพระพุทธศาสนาด้วยการทำบุญกุศลและอื่นๆ โดยได้ร่วมจัดการสร้างวัดศรีวิสารวาจา ที่ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม รวมทั้งได้สนับสนุนทุนการศึกษา โดยบริจาคเงินค่าเล่าเรียนให้แก่ลูกหลานที่ยากจนให้ได้เข้าเรียนในโรงเรียนชั้นเตรียมอุดม เพื่อให้มีโอกาสสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา เป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ ตลอดระยะเวลาที่ท่านเข้ารับราชการ ได้อุทิศเวลาและปฏิบัติราชการในตำแหน่งสำคัญๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นผลดีแก่ทางราชการ ภายหลังสุขภาพของท่านเสื่อมโทรมลงมาก และได้ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2511 สิริรวมอายุ 71 ปี 1 เดือน[9]


อ้างอิง

  1. เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (1).
  2. เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (2)-(3).
  3. เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (17)-(19).
  4. พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา, กฎหมายว่าด้วยสัญญา (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศล ในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา), 2511. (พระนคร: โรงพิมพ์ของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย), (1)-(2).
  5. เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (4)-(11).
  6. กรมศิลปากร, พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, พิมพ์ครั้งที่ 1, (กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524),162.
  7. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550), 85.
  8. เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (12)-(15).
  9. เทพศรีหริศทนายความ, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511), (19).

บรรณานุกรม

กรมศิลปากร. พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524.

เทพศรีหริศทนายความ.อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2511.

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา. กฎหมายว่าด้วยสัญญา. พระนคร: โรงพิมพ์ของสมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศล ในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา), 2511.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา. ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยา. (คณะรัฐมนตรี พิมพ์เป็นบรรณาการในงานพระราชทานเพลิงศพพันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม.ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 8 มิถุนายน 2511). ม.ป.ท., ม.ป.พ.

ดูเพิ่มเติม

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “ประวัติคณะรัฐมนตรี”. http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2557).

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. พัฒนาการรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการผลิตสื่อและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย, 2533.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. “เอกสารเผยแพร่ประกอบการจัดนิทรรศการ เรื่อง พระปกเกล้าฯกับรัฐธรรมนูญไทย”. http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/361379/MP0549.pdf?sequence=1 (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2557).