พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า

บทความนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยโดยผู้ืทรงคุณวุฒิ



ผู้เรียบเรียง กัญญาภัค อยู่เมือง และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์




การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ๓) โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป [รก.๒๕๓๕/๓/๘/๑๕ มกราคม ๒๕๓๕]


สาระสำคัญ

สาระสำคัญของพระราชบัญญัติฉบับนี้มีดังต่อไปนี้


- ให้ยกเลิกบทนิยาม “ผู้ว่าราชการจังหวัด” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒


- ให้ยกเลิกบทนิยาม “นายอำเภอ” และ “ที่ว่าการอำเภอ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px นายอำเภอ หมายความรวมถึง ผู้อำนวยการเขตและปลัดอำเภอ ผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px ที่ว่าการอำเภอ หมายความรวมถึง สำนักงานเขตและที่ว่าการกิ่งอำเภอ width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


- ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px มาตรา ๖ เมื่อได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแล้ว จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ถ้าการเลือกตั้งนั้นเป็นการเลือกตั้งทั่วไปให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศในราชกิจจานุเบกษาซึ่งเรื่องดังต่อไปนี้

(๑) จำนวนราษฎรโดยเฉลี่ยต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหนึ่งคน (๒) จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดพึงจะมี (๓) จำนวนเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด และจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละเขต (๔) จำนวนราษฎรของแต่ละเขตเลือกตั้ง และ (๕) จำนวนอำเภอและตำบลรวมเป็นเขตเลือกตั้งแต่ละเขต

width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


- ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px มาตรา ๑๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ บุคคลมีสิทธิเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้งตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


- ให้ยกเลิกความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px ตามปกติให้ใช้เขตหมู่บ้านหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหน่วยหนึ่ง ในกรณีที่หมู่บ้านใดมีผู้เลือกตั้งจำนวนน้อยจะให้รวมหมู่บ้านตั้งแต่สองหมู่บ้านเป็นหน่วยเลือกตั้งหน่วยหนึ่งก็ได้ สำหรับในเขตเทศบาล เขตกรุงเทพมหานคร เขตสุขาภิบาลหรือเขตชุมชนหนาแน่น ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจกำหนดให้ใช้แนวถนน ตรอก ซอย คลอง หรือแม่น้ำ แทนเขตหมู่บ้านเป็นเขตของหน่วยเลือกตั้งได้ ให้ถือเกณฑ์จำนวนผู้เลือกตั้งหน่วยละแปดร้อยคนเป็นประมาณ ในกรณีที่มีผู้เลือกตั้งเกินหนึ่งพันสองร้อยคนให้เพิ่มหน่วยเลือกตั้งขึ้นอีก ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ถ้าผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นว่าไม่เป็นการสะดวกหรือไม่ปลอดภัยในการไปลงคะแนนของผู้เลือกตั้ง จะกำหนดหน่วยเลือกตั้งเพิ่มขึ้นโดยไม่คำนึงถึงจำนวนผู้เลือกตั้งก็ได้ width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


- ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px มาตรา ๖๑ ผู้เลือกตั้งผู้ใดรับบัตรเลือกตั้งเพื่อลงคะแนนแล้ว ถ้าไม่ประสงค์จะลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครคนใดเลย ให้ทำเครื่องหมายกากบาทลงในช่อง “ไม่ลงคะแนน” ในคูหาลงคะแนน แล้วนำบัตรเลือกตั้งนั้นไปมอบแก่กรรมการตรวจคะแนนเพื่อใส่ลงในหีบบัตรเลือกตั้งต่อหน้าตน width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


- ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗๓ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px มาตรา ๗๓ ทวิ บัตรเลือกตั้งที่มีการทำเครื่องหมายลงในช่อง “ไม่ลงคะแนน” ตามมาตรา ๖๑ ไม่ให้ถือว่าเป็นบัตรเสีย เว้นแต่ถ้ามีการทำเครื่องหมายลงคะแนนให้กับผู้สมัครรับเลือกตั้งคนใดไว้ด้วย ให้ถือว่าเป็นบัตรเสีย ในการนับคะแนน หากปรากฏว่ามีบัตรที่มีการทำเครื่องหมายลงในช่อง “ไม่ลงคะแนน” และมิใช่เป็นบัตรเสียตามวรรคหนึ่ง ให้แยกบัตรดังกล่าวออกไว้เป็นส่วนหนึ่ง ต่างหากจากบัตรเสีย และห้ามมิให้นับบัตรนั้นเป็นคะแนนของผู้สมัคร และให้ประกาศจำนวนบัตรดังกล่าวไว้ที่หน่วยลงคะแนนด้วย width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


- ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน


  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px มาตรา ๗๔ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำด้วยประการใดให้บัตรเลือกตั้งชำรุดหรือเสียหายหรือให้เป็นบัตรเสีย width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}


เหตุผลในการประกาศใช้

- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกำหนดฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๕๒๒ มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งใช้บังคับเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ประกอบกับมีบทบัญญัติบางประการยังไม่เหมาะสม สมควรที่จะปรับปรุงเสียใหม่ จึงจำเป็นต้องตราพระราชกำหนดนี้


ดูเพิ่มเติม