ผลต่างระหว่างรุ่นของ "29 มิถุนายน พ.ศ. 2494"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
----
----


วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นวันเริ่มปฏิบัติการจะยึดอำนาจล้มรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม โดยทหารเรือกลุ่มหนึ่งจำนวนไม่มาก แต่กระทำการไม่สำเร็จ จึงถูกเรียกว่า “กบฏ” และมีชื่อว่า “กบฏแมนแฮตตัน” จึงเป็นกบฏชื่อเป็นฝรั่งของไทย
วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นวันเริ่มปฏิบัติการจะยึดอำนาจล้มรัฐบาล[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] โดยทหารเรือกลุ่มหนึ่งจำนวนไม่มาก แต่กระทำการไม่สำเร็จ จึงถูกเรียกว่า “[[กบฏ]]” และมีชื่อว่า “[[กบฏแมนแฮตตัน]]” จึงเป็นกบฏชื่อเป็นฝรั่งของไทย


เหตุการณ์คราวนี้เกิดขึ้นตอนบ่ายแก่ ๆ ของวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เวลาบ่ายสามโมงที่ท่าราชวรดิษฐ์ ซึ่งอยู่ถัดจากบริเวณท่าช้างวังหลวงไม่มาก วันเวลาดังที่กล่าวนี้ นายกรัฐมนตรีจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ไปเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดแมนแฮตตันที่ทางรัฐบาลอเมริกันมอบให้ไทย โดยมีอุปทูตผู้รักษาการณ์ของอเมริกัน คือ นายวิลเลียม เทอร์เนอร์ เป็นผู้แทนรัฐบาลอเมริกันเป็นผู้มอบ พอรับมอบเรือกันแล้ว แต่งานยังไม่ทันเลิก กำลังเดินชมเรือกันอยู่ก็มีผู้ที่ไม่ได้รับเชิญโผล่เข้ามาร่วมงาน ดังที่ ประเสริฐ  ปัทะสุคนธ์ บันทึกเล่าเอาไว้
เหตุการณ์คราวนี้เกิดขึ้นตอนบ่ายแก่ ๆ ของวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เวลาบ่ายสามโมงที่ท่าราชวรดิษฐ์ ซึ่งอยู่ถัดจากบริเวณท่าช้างวังหลวงไม่มาก วันเวลาดังที่กล่าวนี้ [[นายกรัฐมนตรี]]จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ไปเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดแมนแฮตตันที่ทางรัฐบาลอเมริกันมอบให้ไทย โดยมีอุปทูตผู้รักษาการณ์ของอเมริกัน คือ นายวิลเลียม เทอร์เนอร์ เป็นผู้แทนรัฐบาลอเมริกันเป็นผู้มอบ พอรับมอบเรือกันแล้ว แต่งานยังไม่ทันเลิก กำลังเดินชมเรือกันอยู่ก็มีผู้ที่ไม่ได้รับเชิญโผล่เข้ามาร่วมงาน ดังที่ ประเสริฐ  ปัทะสุคนธ์ บันทึกเล่าเอาไว้


“ทันใดนั้น ประมาณ 17.00 น. นาวาตรี มนัส  จารุภา ผู้บังคับการเรือรัตนโกสินทร์ พร้อมด้วยอาวุธปืนยิงเร็ว ได้เดินตรงไปที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม ขณะที่กำลังลงเรือขุด “แมนแฮตตัน” ต่อหน้าทูตานุทูต...”
“ทันใดนั้น ประมาณ 17.00 น. นาวาตรี มนัส  จารุภา ผู้บังคับการเรือรัตนโกสินทร์ พร้อมด้วยอาวุธปืนยิงเร็ว ได้เดินตรงไปที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม ขณะที่กำลังลงเรือขุด “แมนแฮตตัน” ต่อหน้าทูตานุทูต...”


น.ต.มนัส จารุภา ได้ใช้ปืนจี้เอาตัวนายกรัฐมนตรีลงจากเรือขุดไปขึ้นเรือเปิดหัวที่รออยู่ นำจอมพล ป.พิบูลสงครามไปขึ้นเรือรบหลวงศรีอยุธยาและคุมตัวไว้ และให้รัฐบาลลาออก แต่ทางฝ่ายรัฐบาลแม้จะไม่มีตัวจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ยอมและประกาศใช้กำลังเข้าปราบ จนการต่อสู้ข้ามมาถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ทางกองทัพอากาศได้ส่งเครื่องบินทิ้งระเบิดที่เรือรบหลวงศรีอยุธยา จนเรือเสียหายจมลง แต่จอมพลป.พิบูลสงคราม หนีรอดว่ายน้ำไปขึ้นฝั่งได้ ทางรัฐบาลเป็นฝ่ายชนะ
[[น.ต.มนัส จารุภา]] ได้ใช้ปืนจี้เอาตัวนายกรัฐมนตรีลงจากเรือขุดไปขึ้นเรือเปิดหัวที่รออยู่ นำจอมพล ป.พิบูลสงครามไปขึ้นเรือรบหลวงศรีอยุธยาและคุมตัวไว้ และให้[[รัฐบาล]]ลาออก แต่ทางฝ่ายรัฐบาลแม้จะไม่มีตัวจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ยอมและประกาศใช้กำลังเข้าปราบ จนการต่อสู้ข้ามมาถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ทางกองทัพอากาศได้ส่งเครื่องบินทิ้งระเบิดที่เรือรบหลวงศรีอยุธยา จนเรือเสียหายจมลง แต่จอมพลป.พิบูลสงคราม หนีรอดว่ายน้ำไปขึ้นฝั่งได้ ทางรัฐบาลเป็นฝ่ายชนะ
คณะผู้ก่อการกบฏ ซึ่งเป็นทหารเรือเสียเป็นส่วนใหญ่จึงต้องหลบหนี หลังการปราบกบฏคราวนี้ ทางรัฐบาลได้ดำเนินคดีกับนายทหารเรือระดับสูงเกือบจะทั้งหมด และปลดผู้บัญชาการทหารเรือออกจากราชการ กองกำลังของทหารเรือถูกลดทอนลงมาก จากเดิมเป็นกองทัพที่เข้มแข็งและมีบทบาทสำคัญในทางการเมืองก็พลอยลดหายไปเกือบหมดสิ้น
คณะผู้ก่อการกบฏ ซึ่งเป็นทหารเรือเสียเป็นส่วนใหญ่จึงต้องหลบหนี หลังการปราบกบฏคราวนี้ ทางรัฐบาลได้ดำเนินคดีกับนายทหารเรือระดับสูงเกือบจะทั้งหมด และปลดผู้บัญชาการทหารเรือออกจากราชการ กองกำลังของทหารเรือถูกลดทอนลงมาก จากเดิมเป็นกองทัพที่เข้มแข็งและมีบทบาทสำคัญในทางการเมืองก็พลอยลดหายไปเกือบหมดสิ้น


[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:26, 16 กันยายน 2556

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นวันเริ่มปฏิบัติการจะยึดอำนาจล้มรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม โดยทหารเรือกลุ่มหนึ่งจำนวนไม่มาก แต่กระทำการไม่สำเร็จ จึงถูกเรียกว่า “กบฏ” และมีชื่อว่า “กบฏแมนแฮตตัน” จึงเป็นกบฏชื่อเป็นฝรั่งของไทย

เหตุการณ์คราวนี้เกิดขึ้นตอนบ่ายแก่ ๆ ของวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เวลาบ่ายสามโมงที่ท่าราชวรดิษฐ์ ซึ่งอยู่ถัดจากบริเวณท่าช้างวังหลวงไม่มาก วันเวลาดังที่กล่าวนี้ นายกรัฐมนตรีจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ไปเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดแมนแฮตตันที่ทางรัฐบาลอเมริกันมอบให้ไทย โดยมีอุปทูตผู้รักษาการณ์ของอเมริกัน คือ นายวิลเลียม เทอร์เนอร์ เป็นผู้แทนรัฐบาลอเมริกันเป็นผู้มอบ พอรับมอบเรือกันแล้ว แต่งานยังไม่ทันเลิก กำลังเดินชมเรือกันอยู่ก็มีผู้ที่ไม่ได้รับเชิญโผล่เข้ามาร่วมงาน ดังที่ ประเสริฐ ปัทะสุคนธ์ บันทึกเล่าเอาไว้

“ทันใดนั้น ประมาณ 17.00 น. นาวาตรี มนัส จารุภา ผู้บังคับการเรือรัตนโกสินทร์ พร้อมด้วยอาวุธปืนยิงเร็ว ได้เดินตรงไปที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม ขณะที่กำลังลงเรือขุด “แมนแฮตตัน” ต่อหน้าทูตานุทูต...”

น.ต.มนัส จารุภา ได้ใช้ปืนจี้เอาตัวนายกรัฐมนตรีลงจากเรือขุดไปขึ้นเรือเปิดหัวที่รออยู่ นำจอมพล ป.พิบูลสงครามไปขึ้นเรือรบหลวงศรีอยุธยาและคุมตัวไว้ และให้รัฐบาลลาออก แต่ทางฝ่ายรัฐบาลแม้จะไม่มีตัวจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ยอมและประกาศใช้กำลังเข้าปราบ จนการต่อสู้ข้ามมาถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ทางกองทัพอากาศได้ส่งเครื่องบินทิ้งระเบิดที่เรือรบหลวงศรีอยุธยา จนเรือเสียหายจมลง แต่จอมพลป.พิบูลสงคราม หนีรอดว่ายน้ำไปขึ้นฝั่งได้ ทางรัฐบาลเป็นฝ่ายชนะ

คณะผู้ก่อการกบฏ ซึ่งเป็นทหารเรือเสียเป็นส่วนใหญ่จึงต้องหลบหนี หลังการปราบกบฏคราวนี้ ทางรัฐบาลได้ดำเนินคดีกับนายทหารเรือระดับสูงเกือบจะทั้งหมด และปลดผู้บัญชาการทหารเรือออกจากราชการ กองกำลังของทหารเรือถูกลดทอนลงมาก จากเดิมเป็นกองทัพที่เข้มแข็งและมีบทบาทสำคัญในทางการเมืองก็พลอยลดหายไปเกือบหมดสิ้น